ไฮโดรเจนคือเชื้อเพลิงแห่งอนาคต?? เห็นโตโยต้าดันจัง ถ้าดีจริงทำไมยังไม่เกิด!? ข้อดี-ข้อเสียคืออะไร?

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 25 авг 2024
  • #รถไฟฟ้า #รถยนต์ไฟฟ้า #โตโยต้า #Mirai #ไฮโดรเจน
    ไฮโดรเจนคือพลังงานแห่งอนาคตจริงหรือ สะอาดจริงไหม ถ้าดีจริงทำไมไม่เกิดเสียที ติดที่อะไร ทำไม Toyota ถึงผลักดันพลังงานไฮโดรเจน ข้อดีข้อเสียอยู่ตรงไหน
    มาติดตามดูกัน
    🚘⚡สำหรับใครที่สนใจอยากเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดัน รถยนต์ไฟฟ้าและพลังงานทางเลือกให้เกิดขึ้นในประเทศไทย💥💥
    สามารถดูข้อมูลที่ใน เว็ปไซป์ได้แล้ว : evguarantee.net
    เข้ามาเป็นส่วนนึงในการผลักดัน สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อเข้าถึงสิทธิพิเศษต่างๆ👇👇
    / @welldoneguarantee
    FB: @welldone guarantee
    Tik Tok: bit.ly/3goOcUU
    IG: welldone_guarantee
    ติดต่องานได้ที่
    welldone.guarantee@gmail.com
  • Авто/МотоАвто/Мото

Комментарии • 333

  • @user-hp6pr6cf4h
    @user-hp6pr6cf4h Год назад +23

    เชื้อเพลิงไฮโดรเจน ก็เป็นทางเลือกที่เหมาะสมครับ👍 สำหรับ
    เครื่องจักรขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน เรือ รถไฟ.... ยิ่ง เครื่องบินพานิชย์ เหมาะสมที่สุด ☺
    ส่วนเครื่องจักรขนาดเล็ก เช่นรถยนต์ มอเตอร์ไซค์ ใช้พลังงานไฟฟ้านั้นดีแล้ว เมื่อถึงยุคแบตเตอรี่โซลิดสเตท เรื่องชาร์จช้า เก็บประจุน้อย จะหมดไป

    • @yutkijsamnong3202
      @yutkijsamnong3202 Год назад

      เข้าใจอะไรผิดหรือเปล่า เขาใช่ไฮโรเจนผ่านเซลล์เพื่อผลิตไฟฟ้าไปขับมอเตอร์นะไม่ใช่เครื่องสันดาปภายใน เป็นรถไฟฟ้าเหมือนกัน เติมไฮโดรเจนเติมเร็วกว่าชาร์ทแบตนะ

    • @the-river-
      @the-river- Год назад

      แพงคับ ฝรั่งเทียบต้นทุนราคาขายเรียบร้อยแล้ว แพงกว่าน้ำมันอีก

  • @MrCancelly
    @MrCancelly Год назад +67

    ไฮโดนเจ้นไม่ได้หาได้บนหลังคาบ้านครับ ไฟฟ้าหาได้ง่ายกว่าแค่คนถีบจักรยานหมุนไดนาโมก็ได้แล้ว แสงอาทิตย์ พลังงานลม แต่ไฮโดรเจนนี่คนที่มีอำนาจและมีเงินเท่านั้นที่จะกำหนดราคาหรือให้คุณขับรถได้ต่อไปไหม ต่อให้ไฟ้า หน่วยละ 1000 แต่ก็สามารถหาได้เอง แต่กับไฮโดรเจ้นไม่ใช่เลย

    • @am.tao-chatchai1778
      @am.tao-chatchai1778 Год назад +15

      ทำความเข้าใจก่อนครับ ไฟฟ้าหาได้ก็เอามาผลิตไฮโดรเจนไงครับ.. การแปลรูปพลังงาน เป็นทางเลือกในการใช้งานกับ เครื่องยนต์ไงครับ.. เพราะมอเตอร์ไม่สามารถตอบโจทย์ได้ทุกอย่างครับ. คุณจะเอาไฟฟ้าที่ผลิตได้ไปเก็บไว้ไหน...ละ..

    • @user-li6yg2vv7x
      @user-li6yg2vv7x Год назад +27

      ขอแย้งนิดนึงครับ
      - ไม่ใช่ว่าทุกวันจะมีแสงแดดเพียงพอ ในเมืองก็ไม่ใช่ว่าจะมีลม ขนาดโซล่าเซลล์ยังต้องใช่ on-grid ร่วมกับไฟฟ้าสายส่งอยู่ดี
      - สถานีชาร์จ ไม่สามารถพึ่งพาพลังงานแสงอาทิตย์กับพลังงานลมได้ จะต้องการเดินสายส่งแรงสูง ยิ่งระยะทางไกลยิ่งจากแหล่งเมือง ยิ่งลงทุนสายส่งสูง
      แต่สถานีเติมไฮโดรเจน สามารถตั้งโรงกลั่น Stand alone ได้ งบประมาณก่อสร้างประมาณ 30 ล้าน (อ้างอิงจากปั๊มไฮโดรเจนในจีน) เทียบเท่ากับการสร้างปั๊มน้ำมันใหญ่ๆในไทย
      หรือใช้วิธีเดียวกับโรงกลั่นน้ำมันได้ คือ ตั้งโรงกลั่นไฮโดรเจนแล้วให้รถบรรทุกขนส่งไปยังสถานีได้
      - ตันทุนแบตราคาสูงเฉลี่ย 3-4 แสนต่อคัน
      ส่วนรถยนต์ไฮโดรเจนใช้แค่ถังขนาดถังน้ำมันเดิม
      - ระยะเวลาในการชาร์จ EV จาก 0-100% เร็วสุดคือ 30 นาที
      แต่รถยนต์ไฮโดรเจนใช้เวลาเติมเท่ากับเติมน้ำมันปกติ
      - รถ EV รักษ์โลกจริงหรอ ?? ออสเตรเลียผลิต ลิเทียม 55% ของโลก ใช้น้ำ 2 ล้านลิตรในการผลิตลิเทียมแค่ 1 ตัน (ข้อมูลจาก the standard) น้ำที่ผ่านการผลิตกลายเป็นน้ำเสียปนเปื้อน ต้องผ่านการบำบัดก่อนปล่อยอีก
      - อุตสาหกรรมรถยนต์ไทย มีพื้นฐานเทคโนโลยีเครื่องยนต์สันดาบ ถ้าย้ายไปรถยนต์ EV อุตสาหกรรมชิ้นส่วนของไทยที่ป้อนโรงงานอยู่ก็คงต้องกระทบถึงขั้นปิดตัว
      แต่รถยนต์ไฮโดรเจนใช้เทคโนโลยีใกล้เคียงรถยนต์น้ำมันสันดาบแบบเดิม ไม่กระทบกับผู้ประกอบการเดิม

    • @satit7kdoungjai896
      @satit7kdoungjai896 Год назад +6

      @@user-li6yg2vv7x ลองค้นหารีวิวรถยนต์ nio es8 ดูครับ เอาช่องคนไทยก็ช่องคุณตาม teslabjornthai คนไทยในนอร์เวย์ nio es8 ใช้ระบบสถานีสลับแบตอัตโนมัติ สามารถสลับเปลี่ยนแบตรถยนต์ไฟฟ้าได้ใน 6-7นาทีเร็วใกล้เคียงกับจอดเติมน้ำมัน แค่เรานั่งในรถเฉยๆไม่ต้องทำอะไร สถานีสลับแบตอัตโนมัติลงทุนถูกกว่าสถานีไฮโดรเจนสิบเท่า ตอนนี้เปิดบริการในจีน กับ ยุโรปบางประเทศคิดว่าไม่นานคงเข้ามาทำตลาดในไทยเราะเห็นมีมอร์ไซด์แบบสลับแบตของnio เข้ามาขายในไทยแล้วนี่

    • @user-od1zr3oq2y
      @user-od1zr3oq2y Год назад +8

      ค่าใช้จ่ายระบบที่คุณว่ามา มีกี่คนพร้อมจ่าย คิดได้พูดได้ แต่คนส่วนใหญ่เขาทำจริงไม่ได้ ถามหน่อยว่าคนที่ผ่อนรถอยู่เขาจะเอาเงินจากไหนมาติดตั้ง โซล่าเซล กังหันลม เอาเวลาไหนมาปั่นไฟเองมิทราบ ในเมื่อคนส่วนใหญ่ไม่มีทุนก็ต้องพึ่งพากัน ไม่ใช่ไปมองว่าเขาจะมาควบคุมบ้าบอคอแตกอะไร น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า
      อีกอย่างรถพลังงานไฮโดรเจนเขาก็จะทำมาเป็นอีกหนึ่งทางเลือก ไม่ใช่จะมาแทนที่รถยนต์ไฟฟ้า พอใจแบบไหนใช้แบบนั้น

    • @ap8161
      @ap8161 Год назад +3

      @@satit7kdoungjai896 เคยดูแล้วก็สงสัยเหมือนกันว่า สถานีสลับแบต ราคาแบตNioแต่ละลูกเท่าที่ดูราคา 4-6แสน เฉลี่ย5แสน ถ้าต้องมี10ลูกก็5ล้าน ไม่รู้ว่าต้องสต็อคกี่ลูกถึงจะพอสำหรับช่วงพีคที่เข้ามาเปลี่ยนแบตต่อชั่วโมง ถ้าสลับแล้วสถานีต้องรีบเอามาชาร์จต่อให้เต็มลูกในครึ่งชม.เพราะแบตnioมีขนาดใหญ่ และจะมีรถกี่คันมาเปลี่ยนแบตถึงจะคุ้ม ถ้าแบตแต่ละก้อนตีว่าวิ่งได้maxสุดพันโลสำหรับnio ยังไม่นับค่าหัวขาร์จแบบเร็วราคา2-4แสนบาทต่อหัวที่ต้องลงทุนเอามาให้เพียงพอต่อช่วงพีคที่ต้องสมดุลย์กับจำนวนแบตที่การันตีว่าทำให้ได้6-7นาทีต่อคันโดยไม่ต้องรอ และถ้าเข้ามาพร้อมๆกัน2-3คัน หรือชั่วโมงละ20-30คัน จะรับไหวไหม แล้วราคาค่าพลังงานที่บอกว่าวิ่งได้กิโลละ0.5-1บาท ถ้าให้1บาทต่อกิโล หักลบกับพลังงานที่เหลือในแบตที่เอามาเปลี่ยน การเปลี่ยนแบตแต่ละครั้งก็จะไม่ถึง1พันบาท จุดคุ้มทุนจะอยู่ไหน คิดแพงคนก็ชาร์จที่บ้าน และยังมีสภาพแบตเสื่อมที่จะไวกว่าปกติอีก ดูรวมๆก็ตกสถานีละไม่น่าจะต่ำกว่า10ล้านอยู่นะครับ เหมือนคุ้นๆว่านีโอจะเปลี่ยนแพคเกจเป็นคิดราคาเหมาต่อเดือนด้วยมั้ง ยิ่งทำให้ความคุ้มค่าต้องขับออกมาเปลี่ยนมากกว่าชาร์จที่บ้านบ่อยๆ สถานีจะต้องสต็อคไว้กี่ลูก
      แล้วสถานีเปลี่ยนแบตถ้าต้องมีของแต่ละแบรนด์ที่ต้องสต็อคแบตแต่ละยี่ห้อไว้ทุกหัวเมืองอีก ดูๆแล้วสถานีเปลี่ยนแบตก็ลงทุนไม่ได้น้อยนะ เทียบกับสถานีชาร์จไฟแบบปกตินะครับ อันนี้พูดถึงถ้าจะเอาเร็ว6-7นาทีไม่เอาแบบชาร์จครึ่งชม.
      เทียบสถานีไฮโดรเจนกรีนแบบstand alone ราคาต่อสถานี20-30ล้าน ลงทุนครั้งเดียวไม่ต้องพึ่งพาบริษัทแม่ หรือจะลงทุนสร้างถังรอรถหัวจ่ายราวๆหลัก7-8ล้าน ก็ไม่รู้อันไหนคุ้มกว่า แต่เห็นจีนทำอยู่เมืองนึง ที่เมืองนาโกย่าในญี่ปุ่นก็ใช้กันเยอะมาก แต่ผมตระเวณดูยังไม่เจอซักสถานี ยังสงสัยว่าเค้าไปเติมกันที่ไหน

  • @user-poppaduppubpab
    @user-poppaduppubpab Год назад +31

    ปัญหาไฮโดรเจน จากประเทศที่ใช้มาแล้ว คือ แทบไม่มีใครสนใจลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเลย ทั้งปั้ม ทั้งขนส่ง ทั้งภาคการผลิต และการจัดจำหน่าย มันไม่ใช่แค่ผลพลอยได้จากการผลิตก๊าซเฉยๆ มันก็มีกระบวนการเพิ่มอีก
    ไฮโดรเจนจะเกิดก็ต่อเมื่อ เติมน้ำเฉยๆ ไปที่ไหนก็แค่เติมน้ำเปล่า เครื่องยนต์สามารถแยกก๊าซและเอาไฮโดรเจนไปใช้เองได้ง่ายๆ ปล่อยอ๊อกซิเจนออกมาเป็นของเหลือ หรือหมุนกลับไปใช้เผาไหม้ มันถึงจะน่าสนใจจริงๆ

    • @iamcat8087
      @iamcat8087 Год назад +2

      จีนกับอเมริกาตอนนี้ก็เริ่มพัฒนาแล้วครับ ยังไงผมว่ารถไฟฟ้ากับไฮโดรเจนจะไปคู่กัน

    • @user-qw1jr1ux6p
      @user-qw1jr1ux6p Год назад

      ไฮโดเจน มันระเบิดได้นะครับ ถ้าผลิตใช้กับรถยนต์ มันมีหากเกิดอุบัติเหตุรุนแรง มันจะเหมือนรถแก๊สระเบิด คิดเอาเอง ฮ่าๆ ฮ่าๆ

    • @Abc-oo7yn
      @Abc-oo7yn Год назад

      ​@@user-qw1jr1ux6p ในอดีต20-30ปีก่อน คนก็คิดกับรถไฟฟ้าแบบคุณนี้แหละครับ กลัวไฟรั่วบ้าง กลัวไฟช็อตบ้าง กลัวไฟใหม้รถบ้าง โลกเรามันวิวัฒน์ตลอดเวลา ระบบเซฟตี้และเทคโนโลยีต่างๆมันดีขึ้นทุกๆเวลานาที ยังไงๆเราก็หนีไม่พ้นไฮดรอเจน

    • @user-rl6fu5zv9y
      @user-rl6fu5zv9y Год назад

      @@user-qw1jr1ux6p อันนั้นมันสมัยโบราณแล้ว

    • @pephanuwat
      @pephanuwat Год назад

      ถ้างั้นก็คงต้องบรรทุกน้ำเป็นตัน

  • @user-zw3br2ry5q
    @user-zw3br2ry5q Год назад +49

    โตโยต้าพยามดันเพราะรู้ว่าตัวเองไม่มีแร่ที่ผลิตแบตเตอรี่เพียงพอหรือเปล่าคะ หากสู้กันด้านรถไฟฟ้าเสียเปรียบ เลยมุ่งพัฒนาไปทางพลังงานไฮโดรเจน

    • @saradee1967
      @saradee1967 Год назад +9

      มันก็เป็นส่วนหนึ่ง และอนาคตแร่ผลิตแบตเตอรีหมดแน่นอน พอหายากก็แพงขึ้น

    • @Kampol.Ton.Alter.
      @Kampol.Ton.Alter. Год назад +2

      หลายๆบริษัทที่ผลิตรถยนต์ไฟฟ้าเขาก็ไม่ได้ผลิตแบตเตอรี่เองนะครับ แม้แต่เทสล่าก็ให้บริษัทจากประเทศจีนผลิตให้

    • @thetao2022
      @thetao2022 Год назад +1

      @@saradee1967 ตอนนี้เริ่มพัฒนาแบตที่ทำจากสังกะสี และแบตที่ทำจากเกลือแล้วครับ อีกอย่าง แบตรีไซเคิลได้ 98-99%ครับ หมายความว่าอีกสิบกว่าปีที่เแบตเสื่อมมันจะถูกนำกลับมาผลิตเป็นแบตลูกใหม่

    • @peatx12
      @peatx12 Год назад +1

      กลัวจะซ้ำรอยโนเกีย มากญี่ปุ่น

    • @intelaoarm
      @intelaoarm Год назад

      @@peatx12 ไม่เกี่ยว ญี่ปุ่นวิจัยมาแล้วว่าแบต มันไม่คุ้มค่ากับผู้บริโภค ถ้าเปลี่ยนที มีร้องอ่ะ รถขายมือสองก็ไม่มีราคาเพราะแต่เสื่อม

  • @kamonmeth
    @kamonmeth Год назад +7

    คนใช้งานรถยนต์ส่วนมากจะเป็นกลุ่มคนทำงานและเดินทางไม่ไกลมากไปกลับไม่เกิน200km
    และรถไฟฟ้าถึงจะมีข้อด้อยเรื่องการชาร์จที่นาน แต่ข้อดีที่อีกหน่อยเมื่อคนเริ่มคุ้นชินจะเริ่มติดงอมแงมในเรื่องการที่สามารถผลิตไฟฟ้าใช้เองได้
    เมื่อรถไฟฟ้าใช้กันแพร่หลายมากขึ้นและผลิตไฟฟ้าเองได้ที่บ้าน ก็จะไม่อยากกลับไปสู่วังวนของการที่ต้องตกเป็นทาสการผูกขาดเชื้อเพลิงพลังงาน เว้นแต่ว่าจะมีเครื่องผลิตไฮโดรเจนขายมาติดตั้งผลิตใช้ได้เองที่บ้านเหมือนการติดแผงโซลาร์เซลล์
    แต่เอาจริงๆคนทั่วไปก็สามารถนำไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์หรือกังหันลมที่ผลิตได้เกินที่ใช้งาน แทนที่จะเก็บลงแบตเตอรี่ก็นำมาผลิตไฮโดรเจนได้ แต่ปัญหาคือจะกักเก็บมันได้อย่างไร ต้นทุนยิ่งสูงเข้าไปอีก แถมยังอัีนตรายอีกถ้าสามารถผลิตใช้เองกันได้ทุกบ้าน
    ส่วนตัวมองว่า ใช้ในภาคขนส่ง เครื่องจักรใหญ่ๆ เช่นรถบรรทุก เรือ โรงงานอุตสาหกรรมน่าจะเหมาะที่สุดแล้วเพราะเขามีทุนสูงในระยะยาวถือว่าคุ้ม และจะได้ไม่ต้องไปแบ่งสัดส่วนเอาแบตเตอรี่มาใช้งานที่เยอะเกินไปด้วย เพราะยานพาหนะใหญ่ๆถ้าใช้แบตเตอรี่มันใช้เยอะมาก อาจยิ่งส่งผลให้แร่ลิเธียมหรือแบตเตอรี่ขาดแคลนได้ในอนาคต

  • @am.tao-chatchai1778
    @am.tao-chatchai1778 Год назад +6

    ความจริงนักทดลองอิสระและกระบวนการผลิตไฮโดรเจนไม่ได้ซับซ้อนมาก แต่ ยังไม่ได้ทำเป็นอุตสาหกรรม เพราะมีความซับซ้อนนิดหน่อย สำหรับคนทั่วไป และความคุ้มค่ากับ ผลที่ได้รับ ...เพราะประเทศที่พัฒนาเข้าไม่มีแสงแดดอย่างบ้านเรา จะผลิต green hidrogen มาใช้งาน เทคโนโลยีการลงทุน ถ้าคนไทยทำได้ถือว่าได้เปรียบข้อนี้.

  • @jakkritkobkiatkawin8230
    @jakkritkobkiatkawin8230 Год назад +4

    คิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆออกมาเยอะๆครับ และพัฒนาให้ดีขึ้นเรื่อยๆ จะเป็นผลดีต่อโลก สุดท้ายก็จะรู้เองว่า พลังงานแบบไหนเหมาะกับการใช้งานแบบไหน มีประโยชน์ทั้งนั้นละครับ

  • @jan-srm6189
    @jan-srm6189 Год назад +3

    คุณเวลฯ ขอเพิ่มอีกข้อนึงครับ เรื่องค่า maintenance ของรถไฮโดรเจ้น คือ ถังมีอายุการใช้งาน....fuel cell ก็มีอายุการใช้งานจำกัด และ รถ fuel cell ยังมีชิ้นส่วนเยอะซะยิ่งกว่ารถน้ำมันซะอีก เข้าศูนย์ทีนึงผมว่าหลายตังค์แน่นอนนนนน

  • @user-lp3ov5ri4f
    @user-lp3ov5ri4f Год назад +22

    เครื่องผลิตไฮโดรเจนญี่ปุ่นเขาทำมานานแล้วครับ ผู้สร้างเครื่องแยกไฮโดรเจนในญี่ปุ่น คือ Mitsubishi Kakoki Kaisha Ltd. แต่ว่าเชื้อเพลิงตั้งต้นของไฮโดรเจนที่มิตซูบิชิฯ ทำยังเป็นเชื้อเพลิงพวกมีเทนอยู่ ไม่ได้แยกไฮโดรเจนจากน้ำ

    • @Fc-oq3ml
      @Fc-oq3ml 25 дней назад

      จริงๆแล้วคนไทยเปนคนคิดค้นคับเมื่อประมาน20ปีก่อน ยี่ปุ่นมาซื้อลิขสิทธิ์ไปจดเปนเจ้าของ เพราะรัฐบ้านเราไม่สนับสนุนงานวิจัยต่อยอดซึ่งต้องใช้สูงมาก

  • @golfzaaaa
    @golfzaaaa Год назад +9

    แยกน้ำเป็น hydrogen 1 kg ต้องใช้ไฟฟ้า 56.8 kwh Mirai ใช้ hydrogen 1kg วิ่งได้ 90 km. อย่างอื่นต้องรบกวนผู้รู้ช่วยวิภาคดีกว่าครับ

    • @ubootchannel6985
      @ubootchannel6985 Год назад +1

      อันนั้นพลัง H2 สายมะโน ของtoyota มันคือพ่อของรถไฟฟ้า ก้าวข้ามรถไฟฟ้าอีกขั้นหนึ่ง

  • @chatantan5603
    @chatantan5603 Год назад +6

    ไฮโดรเจนเป็นความกังวลหนึ่งในโลหะวิทยา เพราะไฮโดรเจนสามารถทำให้โลหะหลายชนิดเปราะได้ ซึ่งทำให้เป็นการยากขึ้นในการออกแบบสายท่อและถังเก็บ

  • @sombat99999
    @sombat99999 Год назад +15

    แก๊สไฮโดนเจน มันคือพลังงานสะดวกจริงหรอ และที่โตต้าเลือกใช้ไฮโดนเจนก็เพราะโตต้าถนัดด้านนี้มันซับช้อนไม่ต่างจากการใช้น้ำมันเลย มันไม่เรียบง่ายเหมือนรถใช้ไฟฟ้า

    • @teerachai868
      @teerachai868 Год назад +1

      แร่ลิเทียมขุดขึ้นมาใช้มากๆมันก็มีวันหมดครับ

  • @pukitphetpanaporn579
    @pukitphetpanaporn579 Год назад +1

    ต้องเริมจากไฟฟ้ามาจากใหน =มาจากถ่านหิน น้ำมัน แก๊ช แทนที่ปล่อยออกจากท่อรถก็ไปออกปล่องของโรงงานไฟฟ้าแทน และคงยากที่จะใช้เวลาเติมไฟฟ้าเร็วเท่าน้ำมัน ต้องรอเร็วสุดครึ่งชั่วโมงชึ่งก็ถือว่านานมากสำหรับคนไทย
    ไฮโดรเจน(สะอาดคือแยกจากน้ำ) ถ้าทำสำเร็จจะดีกว่าไฟฟ้าทุกด้าน
    เช่นการเติมไฮโดเจนจะใช้เวลาเท่ากับเติมน้ำมัน ไม่ปล่อยมลพิษทั้งโรงงานผลิตและรถยนต์ (คราบอนเป็น0 ทั้งขบวนการผลิต) ไฮโดรเจนใช้ได้ทั้งสองระบบคือ ผลิตไฟฟ้าในรถไฟฟ้าและใช้ในรถยนต์สันดาบภายได้ด้วย คือแทนน้ำมันนั้นเองแต่ไม่ปล่อยคราบอนออกมาแต่จะปล่อยเป็นไอน้ำออกมาแทน
    สรุปถ้าเทคโนโลยีไฮโดรเจนสำเร็จทั้งขบวนการย่อมดีกว่าไฟฟ้าทุกด้านแน่นอน

  • @cheguevara5204
    @cheguevara5204 Год назад +4

    ปั๊มไฮดรอเจน มีสถานีเติมที่ไหนบ้าง ที่รู้กว่าจะได้พลังงานไฮดรอเจน ต้องใส่พลังงานมากกว่าพลังงานที่ได้รับ ครามนี้จุดคุ้มอยู่ตรงไหน ทำได้แล้วมีคนซื้อไหม เพราะราคาต่อ กก มันสูงมากๆกว่ารถไฟฟ้ามาก

    • @Kampol.Ton.Alter.
      @Kampol.Ton.Alter. Год назад +2

      แต่1กิโลกรัมของไฮโดรเจนให้พลังงานสูงมากเลยนะครับ เพราะไฮโดรเจนเป็นธาตุที่เบาที่สุด ถ้าเทียบน้ำหนักต่อพลังงานเหนือกว่าไฟฟ้าหลายเท่าเลยครับ

  • @phongpanotrungrotnanthakun6881

    ความปลอดภัย ไฮโดรเจนมันกันเรื่องความรั่วยากที่สุดเนื่องจากเป็นธาตุที่มีขนาดเล็กที่สุด พอรั่วติดไฟได้ง่าย เคยทำงานกับไฮโรเจนอันตรายมากครับ

  • @teanchaisubpakob4990
    @teanchaisubpakob4990 Год назад +1

    น่าจะลืมเรื่องการซ่อม (ราคาอะไหล่) ก็สำคัญนะเพราะเป็นของใหม่ผลิตน้อย ถ้าชนหนักขึ้นมา ราคาแบตที่ว่าแพงอาจชิดซ้ายก็ได้

  • @prakitp6682
    @prakitp6682 Год назад +1

    ไฟฟ้าก็ไม่ได้สอาดนะ ปล่อย CO2 500-700 g/Kwhr แล้วแต่วัตถุดิบที่โรงไฟฟ้าใช้ แต่ก็นับว่าน้อย รถไฮโดรเจนไม่น่า work แบกถัง ngv ก็เสี่ยวพอแล้ว ระบบน่าจะแพงทั้งรถทั้งสถานี รถไฟฟ้า ปัญหาคือแบต ตัวแอลกอฮอล fuelcell เงียบๆไป สวนตัวคิดว่าถ้าจะให้ work ต้องจัดทำมาตราฐานแบต และรถที่จะผลิต ต้องใช้แบบเดียวกันซัก 3 size ไปออกแบบเอา ไม่เน้นควิกชาร์จ เน้นที่บ้านพอ นอกบ้านใช้แบบเปลี่ยนเอา ถ้าทำได้มันน่าจะ work ส่วนว่าถูกไหมรถไฟฟ้า ต่าไฟถูกจริง แต่อย่าลืมเอาค่าเสื่อม แบตมาบวก ยิ่งขับน้อยไม่คุ้ม รถมอไซต์มันมีหลายแบรนใช้เปลี่ยนแบต พวก Winnonie ,HSEM ถ้ารัฐเป็นโต้โผ่ให้บ ผลิตรถ +บ น้ำมันร่วมทุน ทำแบต ทำสถานีเปลี่ยน รถน้ำมันสูญพันธ์แน่นอน

  • @tharasaeheng1458
    @tharasaeheng1458 Год назад +8

    เอาความจริงนะ 80% คนส่วนใหญ่สนใจเรื่องประหยัดมากกว่าครับ เรื่องพลังงานสะอาด มาเป็นรอง เจ๋งเหมือนโกดักแน่นอนครับ Toyota

    • @Hamber218
      @Hamber218 Год назад +6

      ไม่หรอกดูจากยอกขายรถ....ยอดขายรถน้ำมัน90%

    • @kifinz8737
      @kifinz8737 Год назад +1

      รถไฟฟ้าไม่มีวันยิ่งใหญ่แบบรถนำ้มันถ้าแบตยังไม่เลิกใช้แร่ลิเทียมหรือต้องใช้ทรัพยากรโลกในการสร้างแบตอีก

    • @BP-mx8zx
      @BP-mx8zx Год назад

      สรุปง่ายๆ ทุกประเทศมีพลังงานต่างกัน จึงต้องหันไปพัฒนาพลังงานที่ตนมีอยู่

  • @kanidkantnakul847
    @kanidkantnakul847 Год назад +5

    ควรจะเพิ่มหัวข้อปรียบเทียบเรื่องค่าซ่อมบำรุงระบบรายปีด้วยนะครับ

  • @user-qs1dy5it1w
    @user-qs1dy5it1w Год назад +2

    Hมีทุกที่ใช้ไม่มีวันหมด
    แต่ลิเทียมนั้นต้องขุดใหม่เรื่อยๆ หมายความว่าอนาคตลิเทียมจะแพงขึ้นเรื่อยๆตามดีมานด์ที่เพิ่มขึ้น
    Hมีข้อเสียคือแรงดันสูงถ้าระเบิดขึ้นมานี่ทั้งรถทั้งคนเละเป็นฝุ่นแน่(ป้องกันยาก)

    • @yutkijsamnong3202
      @yutkijsamnong3202 Год назад

      NGV หรือ LPG ระเบิดรุนแรงกว่า H เป็นสิบเท่านะที่ปริมาตรเท่ากัน ติดไฟได้ง่ายพอกัน

  • @philln.asferguson6868
    @philln.asferguson6868 Год назад +2

    ค่ายรถทุกค่ายในโลก ล้วนทำรถยนต์ไฮโดรเจนกันมาแล้ว แต่ก็มาติดข้อจำกัดเรื่องโครงสร้างพื้นฐานของการผลิตและจ่ายไฮโดรเจน ราคา และความปลอดภัย ถ้าแก้ไขให้ไปได้ทุกค่ายก็คงพร้อมลงสนามแข่งในตลาดกัน //จะว่าไปแล้วไฮโดรเจนกํบแบตเตอรี่ก็เป็นความเชื่อที่บอกว่าจะช่วยลดโลกร้อน ก็ศรัทธากันไปครับตามใจปราถนา แต่ให้รู้ไว้ว่าCO2แม้แต่ตัวเราเองก็ปล่อยออกมาจากตัวเราทุกลมหายใจ ขะเอาอะไรกันนักกันหนากับCO2 ต้นไม้ก็ใช้ CO2ในการเจริญเติบโต ไปโฟกัสCOหรือก็าซพิษอื่นกันดีกว่าไหม

  • @montecarlo5755
    @montecarlo5755 Год назад +2

    ถ้ารถไฮโดรเจนชนแล้วระเบิด ต้องใช้คำว่า เก็บเศษชิ้นส่วนผู้ขับกันเลยทีเดียส

  • @paponmateevorakulkij874
    @paponmateevorakulkij874 10 месяцев назад

    ผมว่ารถยนต์พลังงานไฮโดรเจนนี่ ถ้าทุกคนช่วยกันผลักดันจริง ๆ น่าสนใจกว่าการใช้แบตเตอรีอีกนะ มันยากตอนเริ่ม แต่ระยะยาวมันเหมือนจะยั่งยืนกว่าการใช้แบตเตอรี่ เพราะแบตเตอรี ยังต้องมีการนำกลับไปรีไซเคิลกันอยู่เรื่อย ๆ ในขณะที่ไฮโดรเจน ถ้าลงทุนทำทุกอย่างไว้หมดแล้วคือสะดวกเลย ไม่ต้องทำอะไรเพิ่มกันอีกแล้ว

  • @kokocullen1939
    @kokocullen1939 Год назад

    เหมือนเคยเห็นแว็บๆ มีความพยายามพัฒนาวิธีกักเก็บ"ไฮโดรเจน"ด้วยการแปลงเป็นสารเคมีอื่นที่ปลอดภัยจัดเก็บง่ายแทน แล้วเวลาใช้งาน จะใช้ catalyst ค่อยๆแปลงสารเคมีนี้ไปเป็นไฮโดรเจน หากสำเร็จจะช่วยเร่งให้เกิดการใช้ไฮโดรเจนมากขึ้น
    ตัวตัดสินว่าจะรถอีวี หรือรถไฮโดรเจน คือ 1. ถ้าอนาคตไฟฟ้ามีเหลือเฟือ (เพราะเทคโนโลยีนิวเคลียร์ฟิวชั่นสุกงอม) แต่เทคโนโลยีแบตเตอรีตามไม่ทัน มนุษย์อาจต้องใช้ไฟฟ้าสร้างกรีนไฮโดรเจน ก็จะเห็นรถไฮโดรเจน 2. แต่ถ้าเกิด breakthrough ด้านเทคโนโลยีแบตเตอรีก่อน (เช่นเอาโซเดียมมาใช้แทนลิเธียมได้จริงและน้ำหนักเบา หรือมีการค้นพบสารใหม่ที่เก็บประจุไฟฟ้ายอดเยี่ยม) รถอีวีก็น่าจะครองตลาดได้

  • @Pachimcrung
    @Pachimcrung Год назад +3

    ถ้ารถ Ev ใช้วิ่งบนนถนนใช้แบบวิ่งไปชาร์จไปด้วย เหมือนแบตมือถือที่วางบนแท่นวางและพลังงานก็เข้ามาเติมเข้าเครื่องเองคงจะดี

  • @MrAdsajan
    @MrAdsajan Год назад +4

    อ่านเม้น ตามกลุ่ม ตามเพจ สายอวยไฮโดรเจน คือพลังแห่งอนาคต ค่าไฟแพง คนต้องหนีมาใช้ไฮโดรเจน? เอิ่ม คือ กรีนไฮโดรเจน ใช้ไฟฟ้าผลิตจ่ะ ค่าไฟแพง ไฮโดรเจนมันก็แพงตามเว้ยถถถ.

    • @thetao2022
      @thetao2022 Год назад +1

      จริงที่สุด ถูกที่สุด ไฟฟ้าเป็นต้นทุนของทุกอย่าง รวมถึงน้ำมันด้วย เห็นแต่คนบอกค่าไฟจะขึ้น ค่าไฟจะแพง ค่าน้ำมันขึ้นทุกอาทิตย์อยู่นะตอนนี้ไม่เห็นกันหรอ แล้วถ้าค่าไฟขึ้น น้ำมันก็ต้องขึ้นหนีเพราะ เราไช้ไฟสูบ และกลั่นน้ำมัน

    • @yutkijsamnong3202
      @yutkijsamnong3202 Год назад

      @@thetao2022 ต้นทุนของหลายอย่างคือ น้ำมันดิบ รถไฟฟ้าทั้งคันมีผลผลิตจากน้ำมันดิบมากมาย เช่น ล้อยาง 51% มาจากน้ำมันดิบ สารเพิ่มความแข็งโครงยางเคมีผสมยาง ไม่มีน้ำมันดิบไม่มีรถ

    • @thetao2022
      @thetao2022 Год назад

      @@yutkijsamnong3202 ชิ้นส่วนต่างๆ ที่ผลิต ไม่ว่ารถน้ำมัน รถไฮโดรเจน ที่ต้องใช้เหมือนกัน เราจะละไว้ เพราะคิดว่าทุกคนเข้าใจอยู่แล้ว ชิ้นส่วนพลาสติก ยางก็มาจากปิโตรเคมี ทุกคนก็น่าจะรู้เหมือนๆ กัน
      แล้วในเมื่อต้นทุนของหลายอย่างคือน้ำมันดิบตามที่คุณว่า ไฟฟ้าที่ใช้ผลิตน้ำมันเองก็เป็นต้นทุนของน้ำมันที่เอามาเป็นต้นทุนของการผลิตรถอีกที แล้วยังเอาน้ำมันที่ผลิตโดยมีต้นทุนส่วนหนึ่งคือไฟฟ้ามาเป็นพลังงานอีก ต้นทุนซับซ้อนมากขึ้นอีก แทนที่สร้างรถด้วยปิโตรเคมีแล้วจบ เอาไฟฟ้าไปเป็นพลังงานรถได้เลย กลับต้องเอาไฟฟ้ามาสูบน้ำมัน กลั่นน้ำมัน แยกปิโตรเคมี แล้วถึงจะเอาไปเติมรถ
      ถ้าจะบอกว่าไฟฟ้าก็ต้องใช้น้ำมันผลิต เอาของประเทศไทย ปี 64 เราใช้น้ำมันผลิตไฟฟ้า 30.40 เมกวัตต์ แต่พลังงานน้ำผลิตถึง 3972.40 เมกวัตต์ ถ่านหินจะน้อยกว่าพลังน้ำหน่อยนึง 3,687.00 เมกวัตต์
      เวลาเปรียบเทียบรถระบบต่างๆ อะไรที่เหมือนกันเราจะละไว้ คอมเม้นต์นี้พูดถึงค่าไฟแพงไฮโดรเจนก็ต้องแพงตาม ผมก็มาเสริมว่าค่าน้ำมันเองเมื่อต้นทุนสูงขึ้นน้ำมันก็ต้องแพงตาม ส่วนคุณมาบอกว่ารถไฟฟ้าทำมาจากปิโตรเคมี ผมเลยเดาว่าคุณคงหมายถึงถ้าน้ำมันแพง (คอมเม้นต์นี้พูดเรื่องค่าไฟแพงทุกอย่างก็ต้องแพงตาม) ชิ้นส่วนรถไฟฟ้าก็จะแพงตาม ซึ่งผมว่าไม่ต้องห่วงหรอกครับชิ้นส่วนจะรถสันดาป รถไฟฟ้า รถไฮโดรเจน มันก็จะแพงตามเหมือนกันหมดล่ะครับถ้าค่าไฟแพง

  • @user-me7vp4kc3m
    @user-me7vp4kc3m 2 месяца назад +1

    รอโตโยต้า ไฮบริด ขอให้1ล้าน2แสนลงมา
    ถึง.2แสน5.ไม่เล่นรถจีนอีกแน่นอน เจ็บแล้วต้องจำ.
    ❤❤❤❤❤❤

  • @user-sf2bu4sy9d
    @user-sf2bu4sy9d 5 месяцев назад

    วัยลายกันหน่อยไม่อยากให้ปล่อยผ่านไปประโยชน์ยังมีมากและที่สำคัญทิ้งไว้เป็นอนุศรย์เชิงสัญลักษณ์ตัวสุดท้ายการเปลี่ยนจากสิ่งหนึ่งอีกไปสิ่งหนึ่งจากพลังที่ใกล้เคียงความเป็นธรรมชาติ ไปสผู่ความเป็นธรรมอย่างแท้จริงเพื่อให้เราเข้าใจลึกซึ้งของที่มาที่ไปการเปลี่ยนผ่านสิ่งๆรอบตัวโดยไม่รากเง้าของตัวเอง ละเอียดสุดๆนี้แหละสายเลือดสามุไล

  • @OnePiece-vn4jy
    @OnePiece-vn4jy Год назад +1

    ไฮโดรเจน เหมาะสำหรับการขนส่ง​ รถที่ใช้แรงเยอะๆ จะให้รอจน ราคา การผลิตลดลงมา เพื่อรถใช้งานทั่วไป ตอนนั้น คงไม่มีใครอยากใช้แล้ว เพราะคนส่วนใหญ่จะเคยชิน กับพลังงานไฟฟ้า ที่บางบ้านผลิตไฟใช้เองได้ แต่อีกซัก 10-20 ปี ถ้ากดเครื่องคิดเลขแล้วตัวเลขมันลดลงมาเยอะกว่าการใช้รถไฟฟ้า ก็คงขายได้ถล่มทลาย

  • @user-jx5oy2gw6n
    @user-jx5oy2gw6n Год назад

    คิดว่าโตโยต้าทำได้แน่นอนถ้าจะทำ เพียงแต่คิดหาทางเลือกอื่นๆหลายๆทาง รถไฟฟ้าล้วนผมไม่เลือกใช้เพราะไม่มั่นใจเรื่องความปลอดภัย ไฟไหม้ขณะขับขี่แทบไม่มี%รอด ขับไปพะวงเรื่องปริมาณไฟไป เดินทางสัก2-300 กม พอไปถึงแล้วก็เที่ยวหรือไปทำธุระไม่สนุกละ ระยะทางที่ได้ก็ลดลงตามอายุเหมือนแบตโทรศัพท์ อยู่กลางป่าหรือที่ห่างไกล มืดค่ำเปิดไฟหน้า ท้าย จอดเปิดไฟเปิดแอร์ ท่องเที่ยวขึ้นดอยสูงมันกะใช้ไฟไม่ถูกครับ
    เศษซากแบตเตอรีนี่ก่อมลพิษรุนแรงกว่า เก่าแล้วขายนี่ราคาใจหายหรือขายไม่ได้ วัสดุทำแบตฯ เริ่มหายาก ราคาพุ่ง แบตทางเลือกจากวัสดุอื่นๆก็อยู่ในขั้นทดลองวิจัยอีก3-5ปีค่อยว่ากันใหม่ …ใช้รถเด่า ดูแลสภาพดีๆ วางแผนการใช้น่าจะสบายใจกว่า เก็บเงินไว้รอให้รถไฟฟ้ามันเสถียรสัก2-3ปีก็ไม่สาย…ยูทูปเปอร์ท่านหนึ่งบอกโตโยโตช้า ทั้งๆที่โตโยต้าผลิตรถขายเป็นอันดับ 1 ของโลก เขาปล่อยคนอื่นขายไม่ได้หมายความว่าเขาไม่ทำแต่ดูเพิ่มว่สคนอื่นทำมีปัญหาอะไร แล้วจึงทำขาย รถถึงทน ไม่ค่อยมีปัญหา

  • @formula9132
    @formula9132 Год назад +20

    ฟังดูยังไงผมว่าไฟฟ้าก็น่าใช้กว่าอยู่ดีถึงมันจะมีปัญหาบ้าง มันก็แก้ง่ายๆได้ด้วยการปรับตัวเข้าหามัน ฝ่ายพัฒนาก็แค่มีหน้าที่ทำให้มันสะดวกขึ้นผมว่าไม่ใช่ปัญหา แต่ที่โตต้ามาบอกว่าไฮโดรเจนสะอาดกว่าผมก็ยังมองว่ามันไม่ได้สะอาดกว่าไฟฟ้าสักเท่าไหร่

    • @dsboykung
      @dsboykung Год назад +7

      H2 ผลิตจากน้ำได้ ไม่ต้องมีแบตก้อนใหญ่ๆ (ที่รอวันเป็นขยะ) สะอาดกว่าไหมครับ

    • @mercyocean1554
      @mercyocean1554 Год назад +2

      @@dsboykung แล้วไฮโดรเจนผลิตมายังไงไปศึกษาให้เข้าใจก่อนครับ หลายคนเลยที่คิดแบบคุณแต่ความจริงมันไม่ใช่เลย

    • @dsboykung
      @dsboykung Год назад +9

      @@mercyocean1554 เยอะแหละหลาย reaction เลยครับ steam reforming, water-gas shift, Methane pyrolysis
      ว่าแต่ แล้วคุณไม่รู้หรอว่ามันมีเครื่องผลิต H2 จากการแยกน้ำ ลองเสิร์ชคำว่า leman instruments จ้า ถ้ามันขยายสเกลได้จนใช้ผลิตเพื่อใช้ในยานพาหนะได้ คือจบ

    • @LaoReuangRot
      @LaoReuangRot Год назад +6

      ขอทำความเข้าใจ โตโยต้าไม่ได้บอกว่าไฮโดรเจนจะดีกว่า แต่โตต้าสนับสนุนให้เกิดสังคมคาร์บอนเป็น0 ครับ จากที่ไปฟังข้อมูลจริง ส่วนใครจะชอบแบบไหนก็เลือกใช้ครับ แต่เพียงแค่เรื่องไฮโดรเจนกลับมาไทยเร็วกว่าที่คิดเท่านั้นเองครับ

    • @kifinz8737
      @kifinz8737 Год назад +4

      รถไฟฟ้าไม่มีวันสมบูรณ์แบบตราบใดที่ใช้แร่สร้างแบต แล้วพอแบตเสื่อมก็กลายเป็นขยะทำลายโลกเหมือนเดิม

  • @rimlight1299
    @rimlight1299 Год назад

    รถไฮโดรเจนจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อ
    1. การสร้างไฮโดรเจนมีต้นทุนทางพลังงาน ต้องพลังงานไฟฟ้ามหาศาลเพื่อใช้การแยกน้ำเป็นไฮโดรเจน เช่น โรงไฟฟ้าพลังงาน nuclear
    2. ต้นทุนโดยรวมของ ecosystem ของไฮโดรเจนต้องทุกกว่า BEV คือรวมค่าขนส่งไฮโดรเจน ตั้งปั้มและอื่น แล้วถูกกว่าใช้รถ BEV (เช่นแบตแพงมาก)
    แต่ถ้าเกิดสามารถผลิตแบตจากแร่หาไม่ยาก โดยที่เก็บไฟฟ้าได้พอรับได้ ลดราคารถเหลือเท่าราคา eco car ในตอนนี้ ขับได้ซัก 300-400 โล รถไฮโดรเจนคือจบเลยนะ

  • @arthongarthin5849
    @arthongarthin5849 Год назад

    พลังงานอนาคต โน้มเอียงอย่างมาก กับความเป็นไปได้ครับ ถ้าตั้งอานานิคมใหม่นอกโลก ดาวที่มีน้ำ ก็สกัดพลังงานได้

  • @user-ut3vq2hi1d
    @user-ut3vq2hi1d Год назад

    เห็นรถยนต์ไฮโดรเจนของญี่ปุ่น ในซีรี่ย์ญี่ปุ่นตั้งแต่ 20 กว่าปีที่แล้ว ตอนนั้นตื่นเต้นมาก เพราะคาดไม่ถึงว่าญี่ปุ่นจะทำสำเร็จได้อย่างรวดเร็ว เอามาใช้ประกอบซีรีย์อยู่เรื่องนึง เสียดายจำไม่ได้ว่าเรื่องอะไร แล้วก็เงียบหายไปเลย
    ตอนนั้นยังคิดเลยว่า ผู้ผลิตน้ำมันซวยแล้ว แขกซวยแน่นอน โดยตอนนั้นด้วยความเป็นเด็ก เลยไมไ่ด้นึกถึงน้ำมันของอเมริกา
    คนที่ขอให้ญี่ปุ่น ซ่อนเก็บพับโครงการนี้ไปก่อนอย่างยาวนาน อาจจะเป็นอเมริกาก็ได้
    ข้อมูลที่ได้รับหลังจากนั้น ส่วนใหญ่เลยจะเป็นเรื่องของความอันตราย ความเสี่ยงสูงที่จะระเบิดมากกว่า ทำให้น้ำมันยังคงปรับราคาขึ้นได้ต่อไปเรื่อยๆ ไม่มีคู่แข่ง
    ตอนนั้นด้วยความเป็นเด็ก และการหาข้อมูลก็ไม่ได้ง่ายแบบตอนนี้ ก็แอบคิดไปว่า ต่อไปทรัพยากรน้ำคงมีการกักตุน มีการโก่งราคาให้สูงขึ้นแน่ๆ เลย 555
    เห็นการทำรถยนต์โดยไม่ใช้น้ำมันครั้งแรกก็จากหนังเรื่อง BACK TO THE FUTURE ภาคแรก
    มันคงเป็นเรื่องที่นิยายวิทยาศาสตร์เขียนไว้แล้วเมื่อ 70-80 หรืออาจจะ 100กว่าปีที่แล้วแล้วก็เป็นได้ว่าวันนึงในอนาคต น้ำมันก็จะมีทางเลือกอื่นขึ้นมาเป็นคู่แข่ง

  • @masteryellow178
    @masteryellow178 Год назад +1

    จะไม่ต้องยุ่งยากเลย ถ้าบ้านเราทำราคาน้ำมันไม่แพงแบบนี้ 55😂😂😂

  • @fateboyo
    @fateboyo Год назад

    ทำให้รถมันแยกไฮโดรเจนจากนํ้าด้วยตัวเองไม่ได้เหรอ สมัยก่อนเห็นมีรถพลังนํ้าออกมาโชว์ออกบ่อย แต่สุดท้ายก็หายไปหมด

  • @user-sd8lh1cr3y
    @user-sd8lh1cr3y Год назад +2

    ตัดเรื่องรักษ์โลกออกไป แล้วมองในมุมผู้ใช้งาน รถใส่ถ่านนี่แหละคือตัวเลือกที่ดีที่สุด เรื่องของการได้มาซึ่งพลังงานเป็นจุดที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้มากกว่าวิธีการผลิต การได้มาของไฟฟ้าผู้ใช้มีทางเลือกที่จะผลิตเองหรือซื้อก็ได้ ในขณะที่ไฮโดรเจนก็จะไม่ต่างจากรถเติมก๊าซในปัจจุบันซึ่งยังคงถูกผูกขาดราคาโดยไร้ทางเลือก การใช้งานยังคงต้องแบกรับความเสี่ยง แน่นอนว่ายานพาหนะส่วนบุคคลแทบไม่มีความจำเป็นที่จะต้องใช้พลังงานเพื่อการวิ่งระยะไกล อย่างในคลิปบอกยานพาหนะขนาดใหญ่สำหรับเดินทางไกล ที่สามารถกักเก็บแก๊สได้จำนวนมากมีพื้นที่สำหรับปัจจัยที่จะทำให้แก๊สเป็นของเหลวเหมาะที่จะใช้ไฮโดรเจนมากกว่า

    • @yutkijsamnong3202
      @yutkijsamnong3202 Год назад

      เข้าใจอะไรผิดหรือเปล่า เขาใช่ไฮโรเจนผ่านเซลล์เพื่อผลิตไฟฟ้าไปขับมอเตอร์นะไม่ใช่เครื่องสันดาปภายใน เป็นรถไฟฟ้าเหมือนกัน เติมไฮโดรเจนเติมเร็วกว่าชาร์ทแบตนะ

    • @user-sd8lh1cr3y
      @user-sd8lh1cr3y Год назад

      @@yutkijsamnong3202 ที่ผมกล่าวถึงหมายถึงไฮโดรเจนต้องซื้อเท่านั้นในขณะที่ไฟฟ้ามีทางเลือกที่เราสามารถผลิตเองได้นั่นคือประเด็น

  • @santacause1999
    @santacause1999 Год назад +2

    ญี่ปุ่น พัฒนาแต่ ไฮบริด แล้ว คิดว่ายุคต่อไปเป็นไฮโดเจน ไม่ได้นึกถึง เทคโนโลยีไฟฟ้า 100% เพราะคิดว่าวิ่งไม่ถึง 5-600 กีโล และ ไม่คิดว่าจีนทำได้ แต่ตอนนี้เทคโนโลยี blade battery ของจีนทำได้ ทำให้ญี่ปุ่นตั้งตัวไม่ทัน จากนำ เป็นตาม เลยต้องรับผลักดัน ไฮโดรเตนมาสู้ แต่คิดว่า ไม่น่าสู้ได้

    • @yutkijsamnong3202
      @yutkijsamnong3202 Год назад

      เข้าใจอะไรผิดหรือเปล่า เขาใช่ไฮโรเจนผ่านเซลล์เพื่อผลิตไฟฟ้าไปขับมอเตอร์นะไม่ใช่เครื่องสันดาปภายใน เป็นรถไฟฟ้าเหมือนกัน เติมไฮโดรเจนเติมเร็วกว่าชาร์ทแบตนะ

  • @phufoilom1194
    @phufoilom1194 Год назад +1

    พลังงานไฟฟ้าจะทำให้เราไม่เป็นทาสนายทุนเพราะแปลงพลังงานแสงอาทิตย์มาเป็นไฟฟ้าได้ ต้องพัฒนาต่อไป ถ้าไม่โดนกั๊กเสียก่อน แบตเตอรรี่น่าจะพัฒนาทันสมัยไปเรื่อยๆเช่นเดียวกับแบตมือถือ

    • @teerachai868
      @teerachai868 Год назад

      แร่ลิเทียมขุดขึ้นมาใช้มากๆมันก็ต้องมีวันหมดครับและถ้าแร่ยิ่งหายากราคาก็ยิ่งแพงและบางประเทศก็ไม่ค่อยมีแสงแดดด้วย

    • @yutkijsamnong3202
      @yutkijsamnong3202 Год назад

      นายทุนคือผู้ผลิตโซลาร์เซลล์นะ แม้แต่ซาอุยังไปลงทุนไว้มากมาย

  • @jocole2520
    @jocole2520 Год назад

    ต่อไปถ้าแผงโซลาเซลพัฒนาขึ้นมากๆ อาจจะผลิตไฟให้แบตได้มากพอให้รถวิ่งได้นานขึ้นก็ได้

  • @tom-hp5xt
    @tom-hp5xt Год назад

    สวัสดีครับแอดข้อมูลดีมากครับ

  • @indy_man8075
    @indy_man8075 Год назад

    ไฮโดรเจนมีมากสุด เผาไหม้ออกมาได้ น้ำ
    ถ้าแก้ปัญหาเรื่องความปลอดภัย กับต้นทุนได้ มันคืออนาคตอย่างแท้จริง

  • @fdm7796
    @fdm7796 Год назад +1

    อาจจะมีเครื่องยนต์ green power ที่สามารถแยกคาร์บอนได้ เป็นทางเลือกอีกทางก็ได้...เชื่อว่าเครื่องยนต์แบบจุดระเบิด ยังไงก็ยังต้องมี...

    • @AgachartSukchouy
      @AgachartSukchouy 6 месяцев назад

      มีใช้รถยนต์ดีเแปลงใช้h2 นี่ครับ โตโย แต่ทำไว้ทดลองการสันดาปh2 ซึ่งไม่ปล่อยคาร์บอนฯ แล้ว แต่ถ้าความร้อนสูงอาจเป็นไนโตรเจนออกไซด์

  • @lifelaw4759
    @lifelaw4759 Год назад +4

    ถ้าใช้กับเรือกับขนส่งที่มันใหญ่หน้าจะคุ้มนะ

  • @user-jj9zq8wh5d
    @user-jj9zq8wh5d 8 месяцев назад

    ที่รู้ๆรถที่ตันแล้วคือรถไฟฟ้าเหมาะสำหรับวิ่งทางใกล้เหมือนๆรถกอล์ฟ ส่วนวิ่งทางไกลต้องรถที่ใช้ H2 เป็นเชื้อเพลิง ไปไกลแน่นอนในอนาคต

  • @user-ob4zv4dj3e
    @user-ob4zv4dj3e 4 месяца назад

    ผมชาวสวนยาง ราคาไฮโดรเจน แค่ 5เหรียญ ถือ ว่าคุ้ม กับ ปกป้องธรรมชาติ

  • @kakalvava
    @kakalvava Год назад +1

    ตราบได้ทีเรายังไม่สามารถ ผลิตไฮโดรเจนเองได้ที่บ้าน ยังไงก็สู้รถไฟฟ้าไม่ได้

  • @Creazy031
    @Creazy031 Год назад +1

    โตโยต้า ควรลงทุนเรื่องไฮโดนเจนที่ไทยนี่แหละ ประเทศไทยเป็นประเทศเล็ก คนใช้รถเยอะ อุดมสมบูรณ์ด้วยน้ำ พลังงานแสงเยอะ ถ้าผลักดันในไทยสำเร็จ มันจะเป็นตัวอย่างให้ประเทศอื่นๆเอาด้วย เพราะพลังไฮโดนเจนมันยั่งยืนกว่าแบตเตอรี่

  • @pephanuwat
    @pephanuwat Год назад

    อย่าลืมว่าการผลิตไฮโดรเจนต้องป้อนไฟฟ้าเข้าไป บางคนมักจะพูดถึงการขับเคลื่อนไปแล้วผลิตไป งั้นคงต้องบรรทุกน้ำที่มีน้ำหนักมากไปด้วย ผลิตยังไม่รู้จะไปขับเคลื่อนรถพอหรือเปล่าเลย

  • @sarawuthpongsupa5031
    @sarawuthpongsupa5031 Год назад +1

    เห็นด้วยกับอีลอนมัสก์ครับ ยังไงไฮโดรเจนก็จะเป็นการผูกขาดพลังงานเหมือนเดิม

  • @pakawatboonprasert8075
    @pakawatboonprasert8075 Год назад

    ผมคิดว่าไฮโดรเจนสามารถผลิตเองได้ง่ายๆที่บ้านพอๆกับติดโซล่าเซลล์แค่ผลิตอุปกรณ์ให้มีความปลอดภัยมาขาย ทีนี้มันจะเติมได้ง่ายๆเลยแหละ มันก็ใช้ไฟฟ้าพอๆกับชาร์ทแบตแหละ

  • @BP-mx8zx
    @BP-mx8zx Год назад

    สรุปง่ายๆ ทุกประเทศมีพลังงานต่างกัน จึงต้องหันไปพัฒนาพลังงานที่ตนมีอยู่

  • @nutnisawang4835
    @nutnisawang4835 Год назад +2

    ถ้าโตโยต้าผลิตไฮโดรเจนแบบเกรหรือบราว มันก็ได้ได้รักโลกเหมือนที่พี่โตแกแซะevนี้แถมแพงด้วย

    • @somaithongdee2374
      @somaithongdee2374 Год назад

      อะไรทำให้่เข้าใจว่า โตโยต้าผลิตไฮโดรเจน จากชื่อคลิปที่ว่า เห็นโตโยต้าดันจัง เหรอ

  • @remi5522
    @remi5522 5 месяцев назад

    อยากได้ส่งมาเลย

  • @bigbat-bigbat-xl3wg
    @bigbat-bigbat-xl3wg Год назад +1

    เทียบไฮดรอเจนที่สามารถขับเคลื่อนรถยนต์ได้กับก๊าซ LPG หน่อยครับ อะไรที่ผู้ใช้คุ้มกว่ากัน

    • @user-ld2rd7jv1o
      @user-ld2rd7jv1o Год назад

      เท่าที่กิโลกรัมเท่ากันวิ่งได้กี่กิโลเมตร

    • @AgachartSukchouy
      @AgachartSukchouy 6 месяцев назад

      ที่fuel cell หลังจากได้ไฟฟ้า วิ่งได้ 50-60 กิโลไฟเหลืออีก เอาชาร์จแบต ถ้ามีด้วย เกินร้อยโลขึ้นกับแบตที่เข้ามา
      ส่วนส่วนยัดเข้าเครื่องยนต์ไม่แน่ใจเผาไหม้ ลากรถไปได้กี่โล คิดว่าไม่คุ้มเท่าแบบไฟฟ้าครับ

  • @mykhawayouh8914
    @mykhawayouh8914 Год назад +2

    เราเคยบอกไปในโพสใหนจำไม่ได้แล้ว ว่า H2 เอามาจากน้ำจะไปได้ไกล สุด แบบอืนแยกมาจากสารประกอบไฮโครคาร์บอน ไม่นาน มันก้หมด ต้นทุนจะแพงขึ้นตามน้ำมันดิบ หลักการ เคมี ม.ปลาย ใช้ไฟฟ้าแยก h กับ O ออกจากน้ำ(H2O) ใครลงแล็บเคมี ม ปลาย ก้เคยทำกันทั้งนั้น ตอนนั้นมีคน เม้นใครด่า ว่าเก่งกว่า วิศกรโตโยต้า เม้นขยะเลยขี้เกียจเถียง

  • @user-vj4sn1hk3n
    @user-vj4sn1hk3n 3 месяца назад

    สิ่งดีกว่า หลายๆสิ่งบนโลกใบนี้ ไม่ได้เกิดหรือรอเวลาได้เกิด เหตุผลมีอยู่ศึกษาได้ไม่ยาก ไฮโดรเจนเพื่อเป็นพลังงานขับเคลื่อนกำลังรอการส่งเสริมให้ได้เกิด เพราะดีกว่าค่ะ

  • @thanoshialexander4077
    @thanoshialexander4077 Год назад +3

    TOYOTA นี่จุดยื่นชัดเจนมากเลยนะนี่

  • @Dinasuke
    @Dinasuke Год назад

    รอคอยเทคโนโยนี้ ไฮโดรเจนผลิดเองได้ การจัดเก็บประหยัดกว่า

  • @jameslee6226
    @jameslee6226 Год назад

    How much is the price of the hydrogen powered car? Why don't you say about it?

  • @Taladnatvintage
    @Taladnatvintage Год назад +1

    สนับสนุนรถไฟฟ้ามากกว่าครับ โดยรถยนต์ทุกคันดัดแปลงหลังคารถและรอบคัน เป็น โซล่าเซลทั้งหมด ก็จะวิ่งได้ระยะทางมากขึ้นเอง ประเทศไทยมีแดดทั้งปีอยู่แล้ว

    • @teerachai868
      @teerachai868 Год назад

      แร่ลิเทียมขุดขึ้นมาใช้มากๆมันก็ต้องมีวันหมดครับและถ้าแร่ยิ่งหายากราคาก็ยิ่งแพงและบางประเทศก็ไม่ค่อยมีแสงแดดด้วย

    • @yutkijsamnong3202
      @yutkijsamnong3202 Год назад

      เข้าใจอะไรผิดหรือเปล่า เขาใช่ไฮโรเจนผ่านเซลล์เพื่อผลิตไฟฟ้าไปขับมอเตอร์นะไม่ใช่เครื่องสันดาปภายใน เป็นรถไฟฟ้าเหมือนกัน เติมไฮโดรเจนเติมเร็วกว่าชาร์ทแบตนะ

  • @iskomaxmin
    @iskomaxmin Год назад +1

    จริง

  • @chansaktods5562
    @chansaktods5562 Год назад

    ตามสบาย
    พ่นสีให้ชัดๆหน่อยว่า
    เป็นรถไฮโดรเจนด้วย จะขอบคุณโตโยต้าอย่างยิ่ง

  • @kajhonsaksukdala1650
    @kajhonsaksukdala1650 Год назад

    เครื่องยนต์รถพลังงานน้ำ โครงการวิจัยสำเร็จและใช้งานได้ในยุคสมัย 70 แล้ว แต่ไม่ได้รับการต่อยอด (ไม่ใช่รถไอน้ำ)

  • @pookpunsoft
    @pookpunsoft Год назад

    ฟังจบล่ะ การแยก H2O ให้มีประสิทธิภาพ และทำอย่าไรให้ O2 ที่แยกออกมาการแปลงค่า H2O ให้ได้ H2 และ O เพื่อเพิ่มมูลค่าพลังงาน และทำให้ H2 ไฮโดรเจน นำไปใช้เป็นพลังงาน และนำ O มาผสานกันให้ได้ O2 หากทำได้ อนาคตอาจมีทำให้เราสามารถใช้ H2O แบบหมุนเวียน ได้ทั้ง อากาศที่บริสุทธิ และพลังงานที่สะอาดก็เป็นไปได้
    .
    แต่โดยส่วนตัว ทำระเบิดดีกว่า ง่ายและมีประสิทธิภาพสูง

  • @Mr_Joeth
    @Mr_Joeth Год назад +3

    ไฮโดรเจนดีครับ เอาไปทำคาร์บอมได้เลย ไฮโดรเจนมันไม่พ้นการผูกขาดเทคโลยีเครื่องยนต์สู้ไฟฟ้าไม่ได้มันเป็นรถยนต์ประกอบใครก็ทำได้ ใช้ไฮโดรเจนมันก็แบบเดียวกับรถNGVแหละครับ เติมช้ายุ่งยากน้ำหนักเยอะ

    • @yutkijsamnong3202
      @yutkijsamnong3202 Год назад

      LPG NGV ระเบิดรุนแรงกว่านะ ไปดูโครงสร้างดีๆ

    • @Mr_Joeth
      @Mr_Joeth Год назад

      @@yutkijsamnong3202 แต่มันก็ระเบิดได้เหมือนกันใช่ไม๊ครับ

  • @nyhoytaraloom
    @nyhoytaraloom Год назад

    ติดตาม​ครับ​

  • @somboonmaneerat5912
    @somboonmaneerat5912 8 месяцев назад

    แล้วมี ปั้มเติมหรือ? ผมว่าหันไปทางรถไฟฟ้าดีกว่า

  • @rungrojnamgeaw9445
    @rungrojnamgeaw9445 Год назад

    ไฮโดรเจนคือพลังงานที่ต้องปรุงแต่ง แต่ไฟฟ้ามันคือพลังงานสำเร็จรูปมาแล้ว แต่ปัญหาคือถ้าใช้มากขึ้นเรื่อยๆ บ้านเราเองจะไม่พอ เหมือนประเทศยุโรปเมกา ประเทศเราต้องสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ได้แล้ว?

  • @veedatorsathapornrungkij8738
    @veedatorsathapornrungkij8738 Год назад

    ถ้าต้องเติม ไฮโดรเจนเหลว มันมีความอันตรายมาก แต่ ไฮโดรเจนที่ใช้ในรถยนต์ คือการแยกน้ำ จาก H20 ให้ได้ H2 และ O2

  • @zs7pana
    @zs7pana Год назад +1

    ไฟฟ้าในเมืองไทยสะอาดจริงหรือ มีพลังงานสะอาดแค่ 13% ดังนั้นรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยยังปล่อย CO2 ถึง 87% ที่โรงไฟฟ้า เรื่องลดโลกร้อนจึงเป็นเรื่องมโนเอาเอง

  • @user-jv4se5ox2p
    @user-jv4se5ox2p Год назад

    ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ โดยใช้น้ำเป็นตัวกลางเปลี่ยนพลังงานจากแบตให้เป็นไอ

  • @amy-elly5814
    @amy-elly5814 Год назад

    เป็นการฝืนดิ้นรนที่เห็นชัดๆว่าหนทางนั้นมืดมนเหลือเกิน
    อันตรายกว่า รถแพงกว่า พลังงานแพงกว่า กระบวนการผลิตจำกัดกว่า
    ขนาดในประเทศญี่ปุ่นยังขายไม่ได้โดดเด่น ความพยายามนี้คืออะไรเนี่ย

  • @Arty.Thailand
    @Arty.Thailand Год назад

    อนาคตนักวิทยาศาสตร์อาจคิดค้นตัวเก็บพลังงานไฟฟ้าหรือคิดค้นสารหรือเทคโนโลยีไหม่ๆที่สามรถเก็บไฟฟ้าบรรจุพลังงานได้มากขึ้นหรือมีแบตแบบไหม่ที่ผลิตพลังงานได้เองในตัวเองเหมือนในหนังวิทยาศาสตร์ก็ได้นะ อันนี้ขอเดาเอาละกันออกจะมะโนแต่อาจเป็นจริงในอนาคตเพราะเทคโนโลยีไม่เคยหยุดนิ่ง

  • @ocsgangdkth4302
    @ocsgangdkth4302 Год назад

    คำพูดติดตลงขอคนเมื่อก่อนที่ว่า "รถต้องเติมน้ำมันไม่ใช่น้ำบ่อ"แต่อนาคตรถอาจใช้น้ำบ่อได้ถึงจะไม่ได้เติมในรถโดยตรงแต่ก็ใช้พลังงานจากน้ำ(สำหรับคนที่จะบอกว่ามีรถที่เติมน้ำวิ่งได้จริงผมทราบแต่เอามาใช้งานจริงในชีวิตประจำวันไม่ได้)

  • @jliengkul
    @jliengkul Год назад

    ใช่ดีกับขนส่งใหญ่เช่นรถบรรทุกรถบัสซึ่งมีเวลาเติมเชื้อเพลิงมากไม่ต้องกังวลไปผลิตที่ แต่ไม่ดีสําหรับรถโดยสาร

  • @paramasuttipornpaisankul6506
    @paramasuttipornpaisankul6506 Год назад

    อยากให้พูดถึงการคำนวนเป็นค่าใช้จ่ายต่อระยะทางด้วยครับ เพราะหากคิดว่าการผลิตก๊าซแล้วไม่อนุรักษ์ การผลิตไฟฟ้าก็เช่นกันนะครับ เพราะพลังงานส่วนใหญ่มาจากการเผาเชื้อเพลิงทั้งนั้น

    • @mercyocean1554
      @mercyocean1554 Год назад

      การผลิตไฮโดรเจนก็ต้องผลิตไฟฟ้ามาก่อนเพื่อแยกไฮโดรเจนและยังมีการผลิตโดยการกลั่นคล้ายน้ำมัน คือกระบวนการได้มาซึ่งไฮโดรเจนไม่ได้สะอาดแบบที่หลายคนคิด คนไปจินตนาการว่าไฮโดรเจนคือน้ำ ไฮโดรเจน ดังนั้นไอ้เรื่องสะอาดไม่ต้องเอามาบลัฟกันหรอกดูที่ปลายทางดีกว่า อนาคตพลังงานชนิดไหนมีโอกาสจะราคาถูกกว่ากัน ใช้งานง่ายกว่ากัน ไม่ถูกผูกขาดเทคโนโลยีโดยนายทุน เหมือนปัจจุบันที่นายทุนผูกขาดการขุดเจาะน้ำมัน

  • @hsubasa
    @hsubasa Год назад +3

    ระบบชาร์จไฟให้รถเมล์ของ EA บริษัทในไทย ชาร์จไวไม่เกิน 15 นาทีละ คิดว่า ระบบแบบนี้มันจะไปกระจายไปทั่วเหรอไง รถเมล์จุไฟมากกว่ารถ ส่วนบุคคลตั้งกี่เท่า

    • @mercyocean1554
      @mercyocean1554 Год назад

      คิดว่าเทคโนโลยีมันหยุดอยู่กับที่เหรอครับ รอเทคโนโลยีแบตเตอรี่โซลิตเสตทมาก่อนภาพอาจจะชัดกว่านี้ตอนนี้มันเพิ่งแค่จุดเริ่มต้น เหมือนสมัยกล้องดิจิตอลมาใหม่ 2 ล้านพิกเซล บรรดาโปรกล้องฟิล์มต่างพากันยี้บอกชาตินี้ยากที่จะมาสู้กล้องฟิล์มได้ แล้วปัจจุบันเป็นไง กล้องฟิล์มแทบสูญพันธ์ กลายเป็นของสะสมถ่ายเอาสนุกๆ แต่ทำงานจริงใช้กล้องดิจิตอลกันทั้งนั้นสมัยนี้

  • @hobby-227
    @hobby-227 Год назад

    คนไทยก็คิดค้นพลังงานแบบเดียวกันนี้ได้เหมือนกันจาก ม.ราชภัฎอุดรธานีคือคุณสุมิตร อิศรางกูร ณ อยุธยา และคณะร่วมวิจัย และเคยเป็นข่าวดังเมื่อปี พ.ศ.2561แต่จู่ๆก็เงียบกริบไปเพราะอะไร อยากให้คุณเวลสืบค้นเรื่องนี้ให้ทีครับ

  • @ubootchannel6985
    @ubootchannel6985 Год назад

    หลายคอมเม้นยังเข้าใจว่า toyota เอาH2 ไปเติมรถเผาใหม้ในเครื่องยนต์แบบรถเติมLPG โปรดเข้าใจเสียใหม่ hydrogen fuel cells มันคือพ่อของรถไฟฟ้าอีกทีหนึ่ง คือมันการก้าวข้ามไปอีกขั้นของรถไฟฟ้า

  • @user-wx8hs4zn2z
    @user-wx8hs4zn2z Год назад +1

    H2 ที่บริษัทมีผลิตและใช้งานอยู่ถ้ารั่วออกมาสามารถติดไฟได้เองเลยนะครับและแรงดันสูงมากน่ากลัวอยู่นะครับ ถ้าบำรุงรักษาไม่ดีและถ้าเกิดอุบัติเหตุมีรั่วขึ้นมา...

  • @kanokkampu8628
    @kanokkampu8628 Год назад

    ไทยน่าจะสนับสนุนคู่กับevนะครับ

  • @Wason2029
    @Wason2029 Год назад

    รถมันปล่อย คาวบอนโมโนออกไซด์ ป่าวครับ ไม่ใช่ คาบอนไดออกไซด์ ซึ่งอย่างหลังมันเกิดจากเราหายใจออกกับพืชคายออกตอนกลางคืน ใช่หรือไม่ครับ

  • @mrredthailand
    @mrredthailand Год назад

    ถ้าจะพูดถึงให้การใช้ รถยนต์ EV อย่างมีประสิทธิภาพและแพร่หลาย ก็ต้องหนึ่งชาร์จ 5 นาทีวิ่งได้ระยะทาง 200 กิโลเมตรขึ้นไปเพราะทุกคนไม่ได้มีบ้านเป็นหลังส่วนตัวมีทีจอดรถที่ชาร์จไฟฟ้าได้พอเพียง และการรีไซเคิลแบตเตอรี่แบบมีประสิทธิภาพไม่ทำให้ผลาญวัสดุธาตุที่ใช้ทำแบตเตอรี่จนขาดแคลน หรือ หมดไปในเวลาอันรวดเร็วไม่ใช่แค่นับ 10 ปี แต่ให้เกิน 100 ปี ไม่งั้นเดี่ยวมนุษย์จะล่มสลายก่อนถึง อารยธรรมคาร์ดาเซฟไทป์ 2 ผมมองว่ารถไฟฟ้าเป็นเทรนด์ไม่กี่ 10 ปี เพราะอาจจะขาดแคลนวัสดุธาตุที่มาใช้ทำแบตเตอรี่ในอนาคต ถ้า EV เป็นเทรนที่ได้รับความนิยมาก แต่ไฮโดรเจนเป็นสิ่งที่ถาวรอนาคตต้องใช้แน่นอนไม่ว่าจะอนาคตอันใกล้ หรือเป็นอารยธรรมคาร์ดเซฟไทป์ 2 แล้ว อย่างน้อยก็มีดาวพฤหัสเป็นแห่งของไฮโดรเจนในอนาคตอันไกลอาจจะ 500 ปีนับจากนี้

    • @thetao2022
      @thetao2022 Год назад +2

      ปัจจุบันชาร์จไฟ 30-80% ใช้เวลาประมาณสามสิบนาทีบวกๆ ตีว่าชาร์จได้ 50% รถที่วิ่งระยะทาง 400 ต่อชาร์จ(แบนด์ส่วนใหญ่ในตลาดประมาณนี้) ก็ประมาณ 15 นาทีได้ 200 อย่างที่คุณว่า ซึ่งนี้คือส่วนใหญ่รถที่ขายในไทย และรับวัตต์ได้น้อย 50-70 เอง ซึ่งถ้าเป็นรถที่แพงหน่อยก็จะรับวัตต์ได้ร้อยขึ้น อย่างพวกเทสล่า บีเอ็ม เบนซ์ แต่หัวจ่ายที่ปล่อยวัตต์ร้อยขึ้นในบ้านเราก็ยังน้อยอยู่ดี ส่วนเรื่องแบตในปัจจุบัน รีไซเคิลได้ 98-99 เปอร์เซ็นต์แล้วครับ การรีไซเคิลคือโยนโมดูลแบตทั้งก้อนลงเครื่องบดเลยมีคลิบบริษัทเยอรมันทำออกมาผมได้ดูเมื่อประมาณปีสองปีที่แล้ว สารที่แยกมาคือกลับไปเป็นสารตั้งต้นเลย ไม่ใช่การเอาแบตมารีชาร์จใหม่ แถมตอนนี้เริ่มศึกษาการใช้สังกะสีในการทำแบต และเกลือในการทำแบต ส่วนการที่ไม่มีบ้านสำหรับติดที่ชาร์จ ผมเห็นคลิปต่างชาติ รวมทั้งกลุ่มคนไทยที่อยู่คอนโด ใช้วิธีแวะชาร์จก่อนกลับคอนโดนะครับเพราะธรรมดาคนที่ใช้รถไฟฟ้าในไทยยืนยันว่าสองสามวันชาร์จครั้งครับ ระหว่างชาร์จก็หาข้าวเย็นช็อปปิ้งรอได้ ยังไงก็เกินครึ่งชั่วโมงแน่ๆ ยังไงก็ได้แบตเกินแปดสิบเปอร์เซ็นต์แน่ๆ ครับ

  • @user-iu1cd6ut5r
    @user-iu1cd6ut5r Год назад

    การใช้ไฮโดรเจนต้องใช้เทคโนโลจีขั้นสูง ประเทศกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนาก็ต้องพึ่งพิงประเทศพัฒนาแล้วนั่นเอง

  • @user-lh1eu4bg1g
    @user-lh1eu4bg1g Год назад

    การผลิตไฮโดรเจน มาจากน้ำเปล่าที่กินกันก็ได้ครับ ถ้าผลิตรถไฮโดรเจนที่เติมได้แค่น้ำได้ผมว่าน่าจะดีเลย คืออยากได้รถเติมน้ำอย่างเดียวแล้วมีเครื่องผลิตไฮโดรเจนในรถ

    • @xyty1953
      @xyty1953 Год назад

      แนวโน้ม น่าจะเป็นแบบนั้น

  • @MorningNeko
    @MorningNeko Год назад

    มิไร มันคือรถไฟฟ้า ที่เติมเชื้อเพลิงแต่ไม่ใช่รถน้ำมัน (ไม่มีการเผาไหม้) หาข้อมูลดีๆก่อนนะ Im EV Engineer พูดเกริ่นเรื่องรักโลกเทียบกับ ICE เฉยเลย

  • @dsboykung
    @dsboykung Год назад

    autoignition temperature of hydrogen is 585°C

  • @connuck11
    @connuck11 Год назад

    คหสต. ผมคงเลือก รถ BEV คุ้มกวาา
    การใช้ไฮโดรเจนก็ต้องซื้อจากคนอื่น
    แต่ถ้าใช้รถไฟฟ้า ติดโซล่าเซลล์ที่บ้านเอง เสียเงินรอบเดียว ได้ใช้ฟรีได้ 3ปี++

  • @phirawitnetrwichit8073
    @phirawitnetrwichit8073 Год назад +1

    รถไฟฟ้าก็ทำให้โลกร้อนในกระบวนการผลิตทำไหมไม่มีคนบ่น

    • @kaweemaw3102
      @kaweemaw3102 Год назад

      คือถ้าเทียบกับไฮโดรเจนหรือน้ำมัน ยังไงไฟฟ้ามลพิษก้อน้อยกว่า

  • @tchaith.8309
    @tchaith.8309 Год назад

    ไฮโดรเจนถ้าเกิดก็เกิดนานแล้วและเป็นกระแสมานานมากแต่สุดท้ายก็ยังไม่ไปใหนและวันนี้ EV มันตอบโจทย์กว่าก็คือสามารถชาร์จที่บ้านได้และมีการใช้มากขึ้นเรื่อยๆในปัจจุบัน

  • @sreebuarom
    @sreebuarom 10 месяцев назад

    ไฮโดรเจนเป็นพลังงานแห่งอนาคตได้ครับ แต่เป็นอนาคตที่ไกลกว่ารถไฟฟ้า

  • @MrFury1982
    @MrFury1982 Год назад

    ไฮโดรเจนท่าจะเป็นไปได้แต่ในห้องปฏิบัติการ หรืออย่างไม่มีก็เป็นร้อยปีขึ้น ทุกวันนี้ขนาดพลังงานไฟฟ้า ยังเป็นแค่จุดเริ่มต้นเอง

    • @theoneyouknowwhonoonecall5693
      @theoneyouknowwhonoonecall5693 Год назад +1

      โรงไฟฟ้าลำตะคองก็เก็บไฟฟ้าส่วนที่ยังไม่สามารถจ่ายเข้าgrid เป็นไฮโดรเจนนะ แล้วมาแปลงเป็นไฟฟ้าเมื่อ grid ต้องการไฟเพิ่ม ใช้งานอยู่นอกนอกห้องปฏิบัติการ มานานแล้ว

  • @user-dz3nh1wj3c
    @user-dz3nh1wj3c Год назад

    สวัสดีครับ เมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมานี้ พี่มาเชียงใหม่หรือเปล่าครับ ผมเจอพี่ใน 7-11

  • @chansaktods5562
    @chansaktods5562 Год назад +1

    คือเริ่มใช้ก่อนสิ้นโลก ที่โลกจะมีสภาพแดงเหมือนดาวอังคาร

  • @CupCakeChoccolate
    @CupCakeChoccolate Год назад

    หวังว่าจะนำมาใช้ได้จิงนะ เพราะรถไฟฟ้านี่บอกเลยอีก10-20น่ากลัวว่าขยะพวกแบตเตอร์ที่ใช้แล้วจะกำจัดยังไง

    • @thetao2022
      @thetao2022 Год назад +3

      เข้าใจว่าไม่ได้ตามข่าวรถไฟฟ้า แต่แบตสามารถรีไซเคิลได้ 98-99% ครับยิ่งแบตราคาเป็นแสน ไม่มีใครทิ้งขว้างง่ายๆ แน่ครับ

  • @atthawitbuna5146
    @atthawitbuna5146 Год назад +5

    ปตท. ต้องพัฒนาโมดูลแยกไฮโดรเจนจากน้ำสำหรับปั๊มเติมไฮโดรเจน ลดการขนส่งที่เป็นปัญหาของ NGV

    • @dum5855
      @dum5855 Год назад

      แยกแล้วยังต้องอัดด้วย 10,000 psi ต้องใช้เครื่องขนาดไหน ถังเก็บอีก ต้องลงทุนเท่าไหร่

    • @atthawitbuna5146
      @atthawitbuna5146 Год назад

      @@dum5855 เทคโนโลยีของแต่ละอุปกรณ์ ไม่ว่าจะเครื่องแยก ถังเก็บ เครื่องอัด ปัจจุบันมันมีบริษัทที่ทำขายอยู่แล้ว ถ้าประเทศจะก้าวหน้า บริษัทที่มีทุนต้องคิดสร้างอะไรใหม่ๆ

    • @dum5855
      @dum5855 Год назад

      @@atthawitbuna5146 ก็ไม่ได้บอกว่าไม่มีหรือทำไม่ได้ แต่มันต้องดูมูลค่าการลงทุนกับผลตอบแทน เค้าทำธุรกิจไม่ใช่ทำโชว์ แค่สถานีแบบถังเก็บและระบบหัวจ่ายก็ต้องลงทุนแห่งละ 20-30 ล้านบาทแล้ว ถ้าจะต้องมีโรงแยกอิเลคโตรไลซิสกับเพรสเชอร์ไรซ์เพิ่มอีกจะต้องลงทุนแห่งละเท่าไหร่ ???
      ต้องขายได้วันละกี่กิโลกรัมจึงจะคุ้มค่าการลงทุน ???

    • @atthawitbuna5146
      @atthawitbuna5146 Год назад

      @@dum5855 จริงๆแล้วปัญหาไม่ได้อยู่ที่เทคโนโลยี หรือเงินลงทุน แต่เป็นผลกระทบเชิงนโยบายกับการเปลี่ยนผ่านยุคน้ำมัน จะมีกลุ่มคนและประเทศที่เสียผลประโยชน์ และคนที่เสียผลประโยชน์ก็เป็นคนถือเงินทุน มันจึงมีโอกาสเกิดขึ้นจริงน้อยมาก

    • @dum5855
      @dum5855 Год назад

      @@atthawitbuna5146 ก็ปตท.ไง คิดอะไรเยอะ เลอะเทอะไปกันใหญ่

  • @jongokanallify
    @jongokanallify Год назад

    กรุณาถามหน่อยครับ
    อยากถามแบบผู้มีความรู้ และปัญญา อยากถามเรื่องการผลิตไฟฟ้ามีข้อดี และข้อเสียอย่างไร ต้นทุนเท่าไหร่ ปล่อยมลพิษเท่าไหร่ และขยะจากการผลิตแบตเตอร์รี่ใช้ระยะเวลาการย่อยสลายเท่าไหร่ อันนี้ถามเฉย ๆ นะครับ

  • @ake500
    @ake500 Год назад +1

    ถ้ามันลำบากนักก็ใช้เอทานอล100%ไปเลย ค่าไอเสียมลพิษน้อย หาง่าย ชาวบ้านมีรายได้ แค่พัฒนาเครื่องยนต์เอทานอลโดยเฉพาะขึ้นมา

    • @somchaiwongsuwan5010
      @somchaiwongsuwan5010 Год назад

      เอทานอลใช้ได้ก็จริงอยู่ แต่พอเราคิดก็จะมี นักวิชาการมาค้านอีก ว่าเอาผลิตผลทางบริโภค มาทำพลังงาน จะเป็นการแย่งห่วงโช่อาหารคนไทยอีก สรุปว่าเราไม่ต้องทำอะไรดีที่สุดครับ เอทานอล100%จึงไม่เกิด ทั้งไที่เราสามารถทำได้

  • @saraburi
    @saraburi Год назад

    ประเด็นสำคัญคือ ค่ายญี่ปุ่นคิดค้นมานาน แต่ ไม่เคยคิดจะเปลี่ยนเพราะหากินกับรถสันดาบมานาน พอรถไฟฟ้ามาจะดิสเครดิตทำไมครับ คุณต้องผลักดันมาตั้แต่ต้นสิ