ปฐมบทความยิ่งใหญ่ ปราสาทฯ ชั้นลดหลั่นแบบเขาไกรลาศ (พ.ศ.1420-1432)

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 8 сен 2024
  • ค้นหาเบื้องหลังความยิ่งใหญ่ของปราสาทขอมที่มีปัจจัยสำคัญ นอกจากเรื่องจำนวนประชากร ยังมีที่มาจากรูปแบบงานสถาปัตยกรรมที่ผูกเข้ากับคติความเชื่อแบบเทวราชาและการเมืองการปกครอง
    พระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 (พ.ศ.1420-1432) กษัตริย์กัมพุชาโบราณทรงสร้างปราสาทแบบชั้นลดหลั่น คือปราสาทบากอง เป็นต้นแบบให้กับปราสาทชั้นลดหลั่นที่มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากขึ้นในยุคต่อมา
    ปราสาทเหล่านี้ ถือเป็นการจำลองเขาไกรลาศแห่งพระศิวะ และยังแสดงถึงพระราชอำนาจและพระบารมีของกษัตริย์กัมพูชาโบราณ
    ้มูรติทั้ง 8 แห่งองค์พระศิวะ
    www.facebook.c...
    ขอบคุณ
    อ.วรณัย พงศาชลากร
    อ.ฉัตตริน เพียรธรรม
    มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร
    ภาพประกอบ
    Google Map
    Supawan's Colorful World
    สยามคเณศ
    วิกิพีเดีย

Комментарии • 144

  • @user-pq7nx6jp6j
    @user-pq7nx6jp6j Год назад +5

    อ.สุขภาพแข็งแรงครับ🌷🌷🌷

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ขอให้สุขภาพดีเช่นกันครับ

    • @user-pq7nx6jp6j
      @user-pq7nx6jp6j Год назад

      @@taspien อ.หน้าไปวัดพุทไธสวรรค์ เอาบุณมาฝาก อ.ครับ🌷🌷🌷

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ขอบคุณครับคุณนำพล

  • @user-pq7nx6jp6j
    @user-pq7nx6jp6j Год назад +1

    อ.เอ อ.วรนัย สุขภาพแข็งแรงครับ👏👏👏

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ขอบคุณครับ

  • @PP-ic1uv
    @PP-ic1uv Год назад +16

    เวลาพูดเรื่องประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ควรใช้คำพูด ขอม จะดีกว่า เพราะนักประวัติศาสตร์อีกหลายคน เสนอว่าขอมคือคนลุ่มเจ้าพระยา ลพบุรี และ พิมาย อาจเคลื่อนย้าย ไปอยู่เมืองพระนคร ไม่ใช่เขมรปัจจุนันนี้ครับ ขอบคุณ

    • @taspien
      @taspien  Год назад +14

      สวัสดีครับ
      พอเข้าใจประเด็นที่คุณ PP สื่ออยู่ ที่จริงผมก็ใช้คำว่าขอมบ่อยๆ ในคลิปก่อนหน้า แต่มันมีข้อจำกัดอย่างนี้
      1. ขอมเป็นคำที่บ่งถึงกลุ่มผุ้คน ปรากฏในจารึกหลัง พ.ศ.1700 เป็นต้นมา เก่าไม่ถึงสมัยพระเจ้าอินทรวรมัน พ.ศ.1420-1432
      2. ขอม ปรากฏเป็นดร่าม่า โดยถูกนำไปจับคู่กับว่า เขมร หากพูดถึงขอมจะกลายเป็นพูดถึงเรื่องเชื้อชาติ+ดร่าม่าไปโดยปริยาย
      3. คลิปนี้เน้นพูดถึงอารยธรรม จึงใช้คำว่ากัมพูชาโบราณ ผมใช้คำว่ากัมพูชาโบราณแทนกัมพุเทศ
      4. คำว่า กัมพุเทศ บ่งบอกถึงดินแดน ปรากฏในจารึกบ่ออีกา พ.ศ.1411 ร่วมสมัยกับพระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 (พ.ศ.1420-1432) ดังลิงค์ db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/24579
      5. คำว่า กัมพุช กัมพุเทศ เป็นรากของคำว่ากัมพูชาในปัจจุบัน ดังลิงค์ ruclips.net/video/2kjFmtsSdJ0/видео.html

    • @chanupongamornrungsarit6284
      @chanupongamornrungsarit6284 Год назад +8

      ผมก็พอเข้าใจที่คุณสื่อนะครับ
      แต่ที่อาจารย์เรียกว่ากัมพูชาโบราณ ไม่ใช้คำว่าขอมเพราะพื้นที่ตั้งตอนนี้อยู่ในประเทศกัมพูชาครับ
      แต่บางคนที่เคยเรียนเคยศึกษาแบบเรียนสมัยก่อนยังยกให้หรือเข้าใจว่า #ขอม หรือ #กัมพุชเทศ เป็นเขมรหรือว่าคนกัมพูชาในปัจจุบันอยู่เลยครับ
      การศึกษาประวัติศาสตร์ เราต้องเปิดใจให้กว้าง ไม่เอาเรื่องเชื้อชาติหรือเส้นเขตแดนปัจจุบันมาแบ่งแยก หรือมาปิดกั้น ไม่อย่างนั้นเราจะติดกับดักความคิดของตัวเองนะครับพี่

    • @Panara555
      @Panara555 Год назад

      ​คุณได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่ถูกต้องของชาวเขมรซึ่งเป็นชนชาติที่ทั่วโลกยอมรับ@@chanupongamornrungsarit6284

    • @user-dv7cu7ow1w
      @user-dv7cu7ow1w Год назад +3

      เข้าใจถึงความรู้สึกของคุณพี่เป็นอย่างยิ่งครับ...เห็นด้วยที่ใช้... ขอม

    • @Panara555
      @Panara555 Год назад +2

      ​@@user-dv7cu7ow1w
      ใช้ไม่เป็นที่รู้จัก

  • @user-pn1ke5ty9r
    @user-pn1ke5ty9r Год назад +1

    นอกจากพลังแรงศรัทธา ก็คงต้องมีกำลังแรงงาน ประะชากร องค์ความรู้ในศาสตร์ศิลปวิทยา ทั้งสถาปัตย์และวิศวกรรม เทคโนโลยีงานช่าง การบริหารจัดการงานเมือง อำนาจ ผู้คน สำคัญไม่แพ้เรื่องใดๆคือจำนวนทรัพย์กำลังเศรษฐกิจ ช่างน่าอัศจรรย์เมื่อมองที่ยุคสมัย ขอบพระคุณครับอาจารย์

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ขอบคุณครับ

  • @user-bz5kr9fz7w
    @user-bz5kr9fz7w Год назад +1

    ขอบคุณมากครับอาจารย์ ติดตามตลอดครับ

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ขอบคุณมากครับ

  • @kongpantakran
    @kongpantakran Год назад

    ขอบตุณมากครับอาจารย์

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ขอบคุณที่ร่วมติดตามครับคุณก้อง

  • @dearfillings8869
    @dearfillings8869 Год назад +6

    ความเชื่อที่ฝังแน่น+มหาอำนาจ
    = สถาปัตยกรรมขนาดใหญ่
    ที่สวยงามยั่งยืนมาจนถึงปัจจุบัน

    • @taspien
      @taspien  Год назад +1

      ครับ

    • @Panara555
      @Panara555 Год назад

      ចង់បានប្រវត្តិសាស្ត្រគេឡើងញ័រខ្លួន😂😂

    • @Panara555
      @Panara555 Год назад

      ​@@taspienបានហើយមនុស្សថ្នាក់ជាប់ទៀបមនុស្សគ្មានតម្លៃ🧱

  • @mummyth
    @mummyth Год назад +5

    ความศัทธาในศาสนาอันศักดิ์สิทธิ์ที่ยิ่งใหญ่
    ทำให้มนุษย์สรรสร้างสิ่งมหัศจรรย์ขึ้นบนโลกใบนี้ 🎉

    • @taspien
      @taspien  Год назад +1

      รู้สึกคล้ายๆ กันครับ

  • @user-bk4hb4hs6m
    @user-bk4hb4hs6m Год назад

    ขอบคุณครับ อาจารย์

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ขอบคุณที่ติดตามครับ

  • @virgoshaka7617
    @virgoshaka7617 Год назад +1

    🤔...สุดยอดครับ...

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ขอบคุณครับ

  • @Kwt141
    @Kwt141 Год назад

    ขอบคุณความรู้ ดีๆ ติดตามครับ

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ขอบคุณครับ

  • @seyhak1885
    @seyhak1885 Год назад

    Thank you admin for sharing about khmer history 👍🙏

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ํThanks to watch our program

  • @shinshinofficial
    @shinshinofficial Год назад +4

    เรียก เขมรโบราณ หรือ กัมพูชาโบราณ ถูกต้องแล้วครับอาจารย์ เห็นชอบครับ

    • @user-ud3qt6vr6g
      @user-ud3qt6vr6g Год назад +1

      ขอมคือขอม ไม่ใช่เขมรโบราณ เขมรทาส

    • @shinshinofficial
      @shinshinofficial Год назад +1

      @@user-ud3qt6vr6g 😂😂😂

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ครับ

    • @sangsang6894
      @sangsang6894 Год назад

      ​@@user-ud3qt6vr6gថៃគឺសៀម សៀមគឺជាមនុស្សព្រៃ សៀមមានន័យថាមនុស្សព្រៃ រឺ មានន័យក្រុមកុលសម្ព័នដែលគគ្រិច !!👍🏿

  • @xyty1953
    @xyty1953 Год назад +4

    อาจารย์ แล้วคติเทวราช นี้จริงๆ เริ่มที่ทางภาคใต้ของเรา มิใช่หรือ (ตอนนั้นน่าจะเป็นศรีวิชัย หรือโจฬะ อันนี้หนูไม่แน่ใจ) ในภาคใต้เรา มีการสร้างสิ่งก่อสร้างแบบนี้มั้ยค่ะ ข้อสังเกต อีกอย่างนึง การนับถือพระวิษณุ กับพระพุทธศาสนา แบบเถรวาท (แบบที่พระภาวนาในถ้ำ) ที่อาจารย์เคยนำเสนอ ในคลิปก่อนๆ มาก่อนพระนับถือพระศิวะ ระบบนับถือพระศิวะ แบบเทวะราชา นี้ มาจากอาณาจักรทางภาคใต้ของเราหรือเปล่า กับอีกคติ นึง ที่จะถือมหาภารตะ อันนี้หนูคิดว่า น่าจะเป็นกลุ่ม อีกกลุ่มนึง พอสมัยอยุธยา เอาคติเทวราชา มา เอาพระศิวะ พระวิษณุ พุทธ ผสมได้อย่างลงตัว

    • @taspien
      @taspien  Год назад +3

      สวัสดีครับ ผมเข้าใจประมาณนี้
      1. คติเทวราชา ไศวนิกายมาจากอินเดียใต้ แต่ก็แวะผ่านภาคใต้ของเราอย่างที่ว่า เพียงแต่กัมพูชาเป็นรัฐใหญ่และคนเยอะ และผูกคติเข้ากับการเมืองแบบรวมศูนย์ ปราสาทฯชั้นลดหลั่น จึงอลังการกว่าบ้านเราครับ
      2. ความนิยมเล่าเรื่องมหาภารตะกับรามายณะมีมานานแต่ในเมืองพระนครยิ่งเพิ่มมากและชัดขึ้นในช่วงยุคทอง พศว.16 เป็นต้นมา เป็นอีกกลุ่มหรือเปล่าไม่แน่ใจ โดยส่วนตัวคิดว่าเป็นกลุ่มเดิมแต่เจริญขึ้น

    • @xyty1953
      @xyty1953 Год назад

      @@taspien แล้วทางใต้ของเรา มีสิ่งก่อสร้างที่คงคติ นี้ แต่ย่อส่วน มีมั้งมั้ยอาจารย์

    • @xyty1953
      @xyty1953 Год назад +3

      @@taspien จริงอยู่ที่เรื่องเล่า มหาภารตะ กับรามายณะ ต่างก็มีเล่าในภูมิภาคนี้ แต่ความนิยมเล่า เรื่อง ของในอาณาจักรภาคใต้สมัยโบราณ สมัยขอมโบราณ จะเล่ารามยณะ มากกว่า ส่วนก่อนสมัยขอมโบราณ ก็มีบ้าง หนูคิดว่ากลุ่มประชากร อาจจะต่างกลุ่มกัน ทางพม่า ก็ไม่มีรามายณะ ไม่มีโขน ก็เพิ่งรับเราไปตอนเราเสียกรุงครั้งที่สองเอง แสดงว่า พม่าเอง น่าจะได้รับอิทธิพลจากอินเดียเหนือ มากกว่า จากจารึก พระเจ้าเทวะนิกะ ที่ดูจะนับถือทุ่งกูรูเกษตร ความเห็นหนูคิดว่า พื้นฐานน่าจะมาต่างแคว้นกันในอินเดีย อาณาจักรข้างเคียง อย่างจามปา ก็นิยมเล่ามหาภารตะ มากกว่า แล้วตามประวัติชัยวรมันที่ 2 บอกว่ากลับมาจากชวา นั้น ทางภาคใต้ของเราในปัจจุบัน เกาะชวา ล้วนตกอยู่ในอิทธิพลของ ชาวทมิฬทราวิต อาณาจักรโจฬะ ในอินเดียมิใช่หรือค่ะ แสดงว่า ชัยวรมันที่ 2 ไปเห็นการปกครอง อะไรดีๆ ทางอาณาจักรทางใต้ หรือท่านเป็นลูกผสม อาณาจักรทางใต้ ก็เลย เอามาปรับใช้ ให้ดูใหญ่ขึ้นอลังการขึ้น กว่าอาณาจักรทางใต้ ที่รับมาจากอินเดียอีกทอดนึง

  • @user-zl5ol2cp4l
    @user-zl5ol2cp4l Год назад

    การค้า วัฒนธรรมพิธีกรรมทางศาสนา การปกครอง สวัสดีครับอาจารย์

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      สวัสดีครับ

  • @kittenseatea5823
    @kittenseatea5823 Месяц назад

    เห็นเรื่อง กระเบื้องจาร มีพูดถึง เดือนเด่นฟ้า อาทิตย์ อะไรนี่แหละ หรือว่าจะเป็น อินทรวรมัม กับ สุริยวรมัม

    • @taspien
      @taspien  Месяц назад

      อืมม

  • @user-ec7dq7km8w
    @user-ec7dq7km8w 3 месяца назад

    ชาวขอมคือผู้ที่มีความเชื่อแบบเทพเจ้าฮินดูเทวราช

    • @taspien
      @taspien  3 месяца назад

      ครับ

  • @kittimaattakit9229
    @kittimaattakit9229 Год назад

    อยากให้อาจารย์พาไปชม ปราสาทเบงเมเลีย ค่ะ...โดยส่วนตัวที่ได้ไปชมโบราณสถานของกัมพูชาปลายปีที่แล้ว...ประทับใจ ปราสาทเบงเมเลีย ที่สุดค่ะ

    • @taspien
      @taspien  Год назад +1

      เคยไป แต่ไม่ได้ถ่ายไว้ เสียดายเหมือนกันครับ

  • @user-tt2fu6kk3n
    @user-tt2fu6kk3n 11 месяцев назад +1

    ตอนแรกๆก็เล็กก่อน ต่อไปคนเลียนแบบก็ขยายใหญ่ขึ้น

    • @taspien
      @taspien  11 месяцев назад

      ครับ

  • @napornpaiboon2493
    @napornpaiboon2493 Год назад

    สวัสดีค่ะ อาจารย์

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      สวัสดีครับ

  • @komolkovathana8568
    @komolkovathana8568 Год назад +1

    หริหรา .. ศิวา-นารายัณ : ปางสยัมภูสององค์เทพสูงสุด (ตรีมูรติ : รวมสามองค์)

  • @komolkovathana8568
    @komolkovathana8568 Год назад +1

    11:40 อิทธิพลจากการสร้างแบบจามปา ชัดเจน? แบบก่อด้วยอิฐแดง

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      สวัสดีครับ
      ก่อด้วยอิฐแดงช่วงสมัยนี้มี 2 แบบใหญ่ๆ คือ
      1. กัมพูชา เจนละ+ต้นพระนคร
      2. จามปา ก่ออิฐไปยาวๆ
      ทั้งนี้ ก็แตกต่างกันในหลายจุดอยู่ครับ จุดเด่นๆ คือ การเจาะช่อง สัดส่วน และหลังคาซ้อนชั้น

  • @komolkovathana8568
    @komolkovathana8568 Год назад +1

    ที่แตกต่างคือ ปราสาทแปรรูป มีการใช้อิฐแดง(ดินเผา) แบบสถาปัตย์"จามปา" มาผสม คือใช้เป็นฐาน(เข้าใจว่าประหยัดแรงงาน ทุ่นเวลา เบาแรง สมัยนี้เรียกว่าลดต้นทุน) แล้วใช้หินจริงสร้างองค์ปราสาทไว้ข้างบน

    • @komolkovathana8568
      @komolkovathana8568 Год назад

      ศิลาแลงเป็นพื้น.. อิฐแดงเป็นองค์ฐาน หินทรายเป็นองค์ปราสาท เรือนยอด

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ครับ

  • @user-xw4wo9cn5d
    @user-xw4wo9cn5d Год назад

    🎉สวัสดีนะคะอาจาร🎉

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      สวัสดีครับคุณเทวัญธิมา

  • @xyty1953
    @xyty1953 Год назад +1

    อาจารย์ ขอนอกเรื่องนิดนึง พอดีดูสารคดี สำรวจเขาคลังใน เขาคลังนอก โดยใช้โดรนไลด้า สำรวจ เขาบอกว่าพบสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่กว่าเขาคลังนอก เสียอีก เขาบอกว่าอาจจะเป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ แห่งแรก ในภูมิภาคนี้ อาจารย์พอมีข้อมูลมั้ย

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ไม่มีครับ
      มีลิงค์ไหมครับ น่าดู

    • @xyty1953
      @xyty1953 Год назад

      @@taspien ruclips.net/video/CCv4AADFFVk/видео.html

    • @xyty1953
      @xyty1953 Год назад

      @@taspien ruclips.net/video/fSyhXoTvLf4/видео.html

    • @xyty1953
      @xyty1953 Год назад

      @@taspien เท่าที่ดู หลักฐาน ก็เหมือน ที่หนูคิด แล้วอภิปรายกับอาจารย์ ว่า คนจากอินเดีย เอาอารยธรรม มายังภูมิภาคนี้ มาจากหลายแคว้นในอินเดียด้วย เพราะดูจากสิ่งก่อสร้าง สถาปัตยกรรม จารึก เพียงแต่ว่าในช่วงต้น เข้ามาทางทะเลจริงหรือ หรือใช้เส้นทางบกเดินมา แต่ ในอารยธรรมขอม ช่วงชัยวรมันที่ 2 เหมือนเปลี่ยนอารยธรรม มาจากอินเดียใต้ ผ่านอาณาจักรทางภาคใต้ในปัจจุบัน ซึ่งชัดว่ามาทางทะเล เส้นทางการค้า ทางทะเลที่มีบทบาท แต่ในสมัยก่อนหน้านั้นละ ทำไมเมืองตั้งลึกเข้าไปในแผ่นดิน ทะเลสมัยก่อนลึกเข้าไปในแผ่นดินกว่าปัจจุบันหรือ หรือมีเส้นทางการค้า ทางบกที่เจริญรุ่งเรือง มันก็จะสัมพันธ์ กับอาณาจักรของคนไท ทางจีนตอนใต้

    • @wissawach
      @wissawach Год назад

      @@taspienลิงค์รับชมจาก Thai PBS ครับ
      ตอน 1 : ค้นพบวิทยาลัยสงฆ์ ruclips.net/video/fSyhXoTvLf4/видео.html
      ตอน 2 : ใต้หลุมปริศนา ruclips.net/video/WHXaamZlTW8/видео.html
      ตอน 3 : ศาสนสถานใต้เนินดินruclips.net/video/KgGrXjecM3k/видео.html

  • @eimmybb_five-o7899
    @eimmybb_five-o7899 Год назад

    😇😇😇😇😇😇😇😇😇😇😇

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ขอบคุณครับ

  • @champaputih4568
    @champaputih4568 Год назад +1

    ปากอง และแปรรูป ดูคล้ายๆกัน
    แต่ปากองดูสวยกว่า

  • @lovebangkok
    @lovebangkok Год назад +3

    เด็กโบราณคดีพี่ๆน้องๆในอีสานใต้ฝากถามเป็นความรู้ค่ะอาจารย์ว่าทำไมต้องเลี่ยงใช้คำว่า "ศิลป่ะขอม" เพราะอะไรคะ? ในขณะที่คนทางนั้นเรียกศิลป่ะเขมรค่ะ มีคนรอฟังเยอะค่ะขอบคุณค่ะอาจารย์🙏

    • @taspien
      @taspien  Год назад +1

      คลิปนี้เป็นเรื่องอารยธรรมยุค พ.ศ.1400-1500
      1) คำว่า กัมพุ ปรากฏในจารึก นับจาก พ.ศ.1411 และใช้ต่อจนถึงยุคหลังเมืองพระนคร (อายุใช้งานยาวมาก) ผมใช้คำว่า กัมพูชาโบราณ แทนเพื่อให้เข้าใจง่ายๆ แทนคำว่า กัมพุ
      2) อ.กังวล ชี้ว่าคำว่า กัมพุ เป็นรากของคำว่า กัมพูชา
      3) คำว่า ขอม ปรากฏในจารึกนับจาก พ.ศ.1700 เมื่อก่อนผมก็ใช้เป็นอันดับหนึ่ง แต่ตอนนี้ผมขยับเป็นอันดับสอง ยิ่งมีคนเอาไปผูกกับเรืีองเชื้อชาติขอม-เขมร-ไทย เข้าใจกันผิด จึงไม่อยากใช้กับตรงนี้ครับ แต่คุยกันส่วนตัวก็ใช้ได้

    • @lovebangkok
      @lovebangkok Год назад +1

      @@taspien 😍ออ...โอเครค่ะอาจารย์🙏

  • @user-ld8vj3md8x
    @user-ld8vj3md8x Год назад +2

    นอกจากขนาดของสิ่งก่อสร้างแล้ว ยังต้องชื่นชมคนกัมพูชาสมัยคต่อมาด้วยนะ ที่สามารถรักษาโครงสร้างโบราณส่วนใหญ่ไว้ได้ พอมามองดูที่ไทย คือโดนรื้อไปเยอะมาก ไม่แน่ใจว่าวัสดุของสิ่งก่อสร้างมีส่วนไหม ที่ทำให้โบราณสถานของไทยโดนรื้อไปเยอะ😢😢😢

    • @taspien
      @taspien  Год назад +1

      ก็มีส่วนนะครับ ยิ่งถ้าสร้างด้วยอิฐ จะถูกรื้อง่าย

    • @user-ld8vj3md8x
      @user-ld8vj3md8x Год назад +1

      @@taspien ครับผม แล้วอีกอย่าง คือของไทยส่วนใหญ่จะสร้างเมืองสมัยใหม่ทับเมืองโบราณไปเลย ไม่เหมือนของกัมพูชา ที่จะสร้างเมืองสมัยใหม่ห่างจากเมืองโบราณ ยกตัวอย่าง คือที่ ลพบุรี นครปฐม คือโบราณสถานถูกทำลายไปเยอะมาก เสียดายจริงๆครับ แล้วโบราณสถานที่เหลืออยู่ของไทย ส่วนใหญ่จะเหลือแค่ฐาน😥😥😥ของกัมพูชานี้ เหลือเยอะมาก จนสามารถ ศึกษารายละเอียดของสภาพโบราณสถานในอดีตได้เกือบครบถ้วน😁😁😁

    • @xyty1953
      @xyty1953 Год назад +1

      @@user-ld8vj3md8x ส่วนตัวคิดว่าสร้างทับ ประชากร น่าจะอาศัยต่อเนื่อง มา มากกว่า ทางกัมพูชาปัจจุบัน

    • @user-ld8vj3md8x
      @user-ld8vj3md8x Год назад

      @@xyty1953 เสียดายนะครับ อยุธยา อีกที่ ที่โดนรื้อไปเยอะ และมีบ้านเรือน ตึกราม สร้างทับเมืองโบราณไปมากกว่าครึ่ง😶😶

    • @xyty1953
      @xyty1953 Год назад +2

      @@user-ld8vj3md8x คติคนสมัยก่อน เขาคิดว่าบ้านเก่า ถ้าสร้างใหม่ ก็เอาของเก่า มาใช้ ต่อเติมจะได้ซื้อของใหม่น้อยลง อย่างกำแพงเมืองอยุธยา ช่วงพระมหาธรรมราชา ก็สั่งให้รื้อกำแพงเมืองอื่นๆ มาเสริม ให้อยุธยามั่นคงขึ้น เพราะกำแพงเดิม รับศึกพม่า ไม่ได้อะไรประมาณนั้น เขาไม่ได้มีแนวคิดแบบสมัยปัจจุบัน ที่อนุรักษ์ของเดิม หรือการให้คนไปอยู่ในพื้นที่ที่คนถูกกวาดต้อนไปพม่า ก็เพื่อให้เมืองนั้นฟื้นฟู บ้านเมืองจะได้ฟื้นตัว ส่วนกรณีบ้านเรือน ประชาชนที่รุกล้ำ ก็คนละแนวคิดกับสมัยก่อน ปัจจุบันเป็นแนวคิดขยายพื้นที่เพื่อครอบครอง เพื่อหาของเก๋่า อะไรประมาณนั้น หรือบางที่ ประชาชน เป็นคนละกลุ่มประชากรเดิม ที่เมืองร้างไป อาจจะไม่กล้าเข้าไปอยู่ อาจจะกลัวผี กลัวอาถรรพ์ แบบดงศรีมหาโพธิ์ ที่ปราจีนบุรี แต่พอมีพระเจ้าแผ่นดินเสด็จ ก็สร้างขวัญกำลังใจ ที่จะกล้าเข้าไป อยู่อาศัย แต่ในกัมพูชาปัจจุบัน ที่ไม่กล้าอาจจะกลัวผี อาถรรพ์ ก็ได้นะ และคิดว่ากลุ่มประชากรน่าจะคนละกลุ่มด้วย

  • @user-oo7qc8ov1t
    @user-oo7qc8ov1t Год назад +1

    จีนเรียกกัมพูชาโบราณว่า เจนละ เรียกเสียงกัมพูชาว่าอะไรครับ

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      เรียกเสียงหรือครับ?
      ไม่แน่ใจครับ

    • @user-oo7qc8ov1t
      @user-oo7qc8ov1t Год назад

      @@taspien ผมก็อยากรู้ จีนเรียก เจนละ และชาวเขมรเรียกตัวเองตอนนั้นว่าอะไร ทำไมจีนเรียกว่า เจนละ

    • @taspien
      @taspien  Год назад +6

      ผมเห็นภาพประมาณนี้ครับ
      1. ในช่วง พศว.15-18 จีนเรียกรัฐนี้ว่า เจนละ ทั้งที่จริงเจนละเสื่อมไปแล้ว แต่จีนยังเรียกชื่อเดิม
      2. ผู้คนกัมพูชาโบราณ เรียกรัฐตนตามชื่อเมืองศุนย์กลางอำนาจคือ ศรียโสธรปุระ
      3. ผู้คนกัมพูชาโบราณ มีหลายเชื้อชาติ ชาวเกมรหรือเขมร เป็นหนึ่งในนั้น ปรากฏคำว่า เกมร และ เขมร ในจารึก ส่วนประเด็นที่ว่า ชาวเขมร โดยส่วนมากเป็นคนชนชั้นระดับไหน อันนั้นเป็นอีกประเด็นหนึ่ง
      4. คำว่า ขอม หมายถึง คนข้างล่าง เป็นคำที่คนไทตอนบน ใช้เรียกผู้คนภาคกลาง อีสาน และกัมพูชา ซึ่งอยู่ตอนล่างกว่าตน
      5. คนไทไม่เคยเรียกตนว่าเสียม แต่เรียกตนว่าไท เช่นเดียวกับคนเขมรไม่เคยเรียกตนว่าขอม แต่เรียกตนว่าเขมร

  • @user-xn7ns6eg4f
    @user-xn7ns6eg4f Год назад +1

    อาจารย์ครับ ทำไมปราสาทหินในเมืองพระนคร จึงมีขนาดใหญ่ มีลวดลายที่ละเอียด และมีความหนาแน่นของตัวปราสาท มากกว่าปราสาทหินในเมืองไทยครับ

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      สวัสดีครับ คิดว่าปัจจัยส่วนหนึ่งคือมีระบบช่าง กรมกองช่างขนาดใหญ่ ทำสืบมาตั้งแต่สมัยก่อน พศว.14
      ส่วนบ้านเรา เพิ่งตั้งเป็นกองช่างสิบหมู่ในช่วงสมัยอยุธยาครับ

  • @win4598
    @win4598 Год назад

    ฤาษีช่วยออกแบบสร้างปราสาท

  • @user-dv7cu7ow1w
    @user-dv7cu7ow1w Год назад

    ขอบพระคุณที่อาจารย์ทำคลิบนี้ขึ้นมาเป็นประโยชน์.... ผมไปเดือนเมษายน...ยังไม่ได้ลงคลิป...คลิบนี้เป็นประโยชน์กับผมมากๆเลยครับอาจารย์

    • @taspien
      @taspien  Год назад +1

      โห...เม.ย. ร้อนมาก
      ยอมใจเลย

  • @chhuongvandet688
    @chhuongvandet688 Год назад +1

    អរគុណសាស្ត្រាចារ្យថៃ ដែលចូលចិត្តអធិប្បាយអំពី ប្រាសាទខ្មែរបុរាណ❤

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ครับ?

    • @9maitravel810
      @9maitravel810 10 месяцев назад

      เขมรไม่มีปัญญาความสามารถศึกษาเองและเขมรปัจจุบันไม่ใช่มาตระกูลเจ้าวรมัน😂

  • @CAMBODIAN_land_of_Smile
    @CAMBODIAN_land_of_Smile Год назад +1

    Who is khom?
    The World: Khmer
    🇹🇭🗣️: Khom is Thai🔁
    🎉😂

  • @Panara555
    @Panara555 Год назад +1

    ខ្ញុំពិតជាសប្បាយចិត្តនៅពេលដែលពួកថៃវែកញែករឿងហ្នឹង😂😂😂
    - រង់ចាំមើលតែភាពឈឺចាប់
    -ភាពខកចិត្ត
    -ភាពភ័យខ្លាច
    😂💀

    • @user-ud3qt6vr6g
      @user-ud3qt6vr6g Год назад

      ไม่ต้องดีใจ เพราะขอมคือขอมใช่เมนไดไม่ เมนยังไม่รู้ชนชาติตนเองเลย แตงหวานเป็นใคร มีตำนาน ที่ได้ชื่อแตงหวานเพราะไร ชื่อเดิม เซาะปะแอม ทาสผู้มีน่าที่ปลูกแตงหวาน ส่งเจ้าชาย
      วรมันจนเป็นที่ถูกใจ จึงให้ชื่อแตงหวานๆคงทำตนเป็นที่ไว้ใจ แล้วทำการล้ม คิดว่านายแตงหวานคงใช้แตงหวานนี้แหละฯ

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ?

    • @9maitravel810
      @9maitravel810 10 месяцев назад

      เรื่องของตัวเองยังไม่มีความรู้ไม่มีปัญญาศึกษาเองแต่มาเครมไปทั่วทำเองไม่ได้ล้มสลายไปนานยังเพ้อยิ่งใหญ่อยู่.คนที่กลัวที่เจ็บปวดคือเขมร

  • @user-ni2dj5ui1b
    @user-ni2dj5ui1b Год назад +1

    กัมพูชาโบราณ ?????
    คำว่า"กัมพูชา"ชื่อนี้ใครตั้ง ตั้งเมื่อปีไหน ???????
    เห้ย พูดให้ถูกนะเห้ย

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      สวัสดีครับ
      1. ผมใช้กัมพูชาโบราณแทน กัมพุเทศ บ่งบอกดินแดน ไม่ใช่เรื่อง เชื้อชาติ ดังปรากฏในจารึกบ่ออีกา พ.ศ.1411 ตามลิงค์ db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/24579
      2. คำว่า กัมพุช กัมพุเทศ นับเป็นรากของคำว่า กัมพูชา ดังอธิบายในลิงค์ ruclips.net/video/2kjFmtsSdJ0/видео.html

    • @Panara555
      @Panara555 Год назад

      កម្ពុជា(ខ្មែរ)កើតតាំងពីឆ្នាំ(២០០០ឆ្នាំគ្រឹះសករាជ)

    • @Panara555
      @Panara555 Год назад

      មិនដូចពួកតៃនៅ ខេត្តសុខោទ័យកើតនៅឆ្នាំ១៣០០និង😂😂😂😂មិនដល់១០០០ឆ្នាំផង💀😆

    • @champaputih4568
      @champaputih4568 Год назад

      กัมพูชาเป็นชื่อประเทศใช้มานานแล้ว แต่ คนบ้านเมืองส่วนใหญ่ภูมิใจกับ เขมร มากกว่า เพราะเป็นชื่อภาษาพื้นเมือง ถ้าพูดเรื่องเชื้อชาติ หรือชาตินิยม ตั้งแต่สมัยเก่ามา เขามักจะใช้ เขมร์ มากกว่า เช่น สรุกขะแมร์ ชนชาติขะแมร์ ภาษาขะแมร์ ปราสาทขะแมร์ ประเพณีแขมร์ บ้านเมืองแขมร์ เขาใช้กัมพูชาหน่อยมาก

  • @anan-eh2xe
    @anan-eh2xe Год назад +1

    ผมสงสัยว่าเมืองหลวงใหญ่อย่างอยุธยายุคนั้นมีโบราณสถานที่ใหญ่โตขนาดนครวัดนครธมไหมครับ หรือว่ายุคอยุธยาไม่ได้มีแนวความคิดว่าต้องสร้างสถาปัตยกรรมที่ต้องมีขนาดใหญ่โตแบบยุคเขมรโบราณ

    • @taspien
      @taspien  Год назад +1

      ใช่ครับ ไม่นิยมสร้างใหญ่
      ทัศนคติ+โลกเปลี่ยนไปครับ

    • @user-tt2fu6kk3n
      @user-tt2fu6kk3n 11 месяцев назад

      ยุคกรุงศรีเป็นยุคสร้างอาณาจักรหรือสร้างประเทศแล้ว

  • @Kritsada-ux2ih
    @Kritsada-ux2ih Год назад +1

    สิ่งก่อสร้างยิ่งใหญ่ขนาดนี้ แน่นอนว่าจะต้องใช้คนและกำลังทรัพย์เป็นจำนวนมาก แล้วทรัพย์มาจากไหน ในความเห็นส่วนตัวผมมองว่า มาจากทรัพย์พยากรณ์ เช่นแร่เหล็ก และการค้าทางทะเล จากศิลาจารึก ภาษาปัลวะ สันษกฤต ของพระเจ้าจิตรเสน ในความคิดผม พระองค์ไม่ได้ขยายดินแดนอย่างเดียว แต่ยังแสวงหาแหล่ง แร่ไป ด้วยในคราวเดียว อางจะเป็นจุดเริมต้นของความมั่งคั่งของเขมรโบราน เพราะเป็นยุคต่อเนื่องกัน ผมมีคำถามที่อยากจะถามอาจารย์ คือ. 1. ชนชั้นปกครองในเขมรโบราน มาจากอินเดีย 2 ในยุคเจนละ ทั่งภาษาไทย และเขมรยังเป็นเพียงแค่ภาษาที่ชาวบ้านในพูดกัน ยังไม่มีตัวอักษร ความคิดผมอาจจะผิดก็ได้

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ก็คิดคล้ายกัน ผมมีสมมุติฐานว่าชาวอินเดียคงเป็นผู้ปกครองช่วงแรกคือสมัยฟูนัน ช่วงต่อมาเสมัยเจนละเป็นอินเดีย+ท้องถิ่นครับ

    • @xyty1953
      @xyty1953 Год назад

      @@taspien หนูก็มีความเห็น เช่นเดียวกับอาจารย์ ว่าผู้ปกครอง คนที่มีวิทยาการ พราหมณ์ ปุโรหิต อะไร คงขนมาจากอินเดีย ในช่วงแรก แต่ประเด็น ที่หนู สงสัย เพิ่ม คือ คงไม่ได้มาจากแคว้นเดียวในอินเดีย แต่มาจากหลายแคว้น สังเกตได้จากคติ ความเชื่อ ที่หลากหลาย เช่นนับถือพระศิวะ พระวิษณุ พุทธ เพราะในอินเดียโบราณจริงๆ ศาสนาพราหมณ์ ก็เพิ่งมารุ่งเรืองสมัยพระเวทย์ ที่มีการรวมแคว้นต่างๆในอินเดีย เอาเทพเจ้าท้องถิ่น มารวมให้เป็นศาสนาเดียวอะไรประมาณนี้ อย่างพระศิวะ ถิ่นกำเนิดน่าจะดินแดน ภูเขา นับถือพระวิศณุ ดินแดนน่าจะติดแม่น้ำ เป็นที่ราบ (น่าจะตรงกับสมัยคุปตะ ถึงปัลลวะ) ซึ่งหนูคิดว่า การมาของคติความเชื่อช่วงนึง หนูคิดว่าผู้คนที่มาในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ น่าจะนำมาด้วย

  • @user-yk1cj9im6d
    @user-yk1cj9im6d Год назад

    คนสมัยนั้นสร้างเจดีย์แข็งแรงมากคับ😊😊

    • @taspien
      @taspien  Год назад +1

      ใช่ครับ

  • @user-zr4xq3hr4u
    @user-zr4xq3hr4u Год назад +1

    ปราสาทนี้ไหย่พอสมควรเลยนะคะขอบคุณอาจารย์มากเลยนะคะที่พามาเที่ยวโบราณสถานที่ไหย่แบบนี้และได้ทราบที่มาของปราสาทด้วยขอบคุณมากค่ะ

    • @taspien
      @taspien  Год назад

      ขอบคุณที่ติดตามครับ