ภาษาไทย vs ภาษาญี่ปุ่น ภาษาไหนยากกว่าจากมุมมองของคนญี่ปุ่นเอกไทย【タイ語】日本語とタイ語どっちが難しい?

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 11 янв 2025

Комментарии • 657

  • @nathapong1962
    @nathapong1962 3 года назад +598

    แค่คำว่า "แต่" ในภาษาญี่ปุ่น มีหลายแบบมาก และต้องใช้ให้ถูกเวลาด้วย

    • @ภาษาไทยของพายุ
      @ภาษาไทยของพายุ  3 года назад +178

      เห็นใจคนไทยครับ555

    • @nobod9999
      @nobod9999 3 года назад +52

      เลขด้วย 5555 ใช้ไม่เหมือนเลย สับไปสับมา

    • @totsukibbxofficial
      @totsukibbxofficial 3 года назад +16

      demo shikashi etto

    • @totsukibbxofficial
      @totsukibbxofficial 3 года назад +18

      @@nobod9999 1=อิจิ/ฮิโตะ
      2=นิ/ฟุตะ
      10=จู/โท

    • @nathapong1962
      @nathapong1962 3 года назад +27

      แล้วถ้าเจอภาษาพื้นถิ่น เช่น kansai ben สิ่งที่เรียนมาแทบไม่มีประโยชน์เลย 555

  • @namesist2071
    @namesist2071 3 года назад +205

    ภาษาญี่ปุ่นง่ายนิดเดียว. . .
    ที่เหลือยากหมด

    • @A10ปีที่ผ่านมา
      @A10ปีที่ผ่านมา 3 года назад +8

      เล่นคำเก่งงงงง ก็มีง่ายนิดเดียวจริงๆ การจำนี้ยากสุดแล้วมั้ง

    • @namesist2071
      @namesist2071 3 года назад +4

      @@A10ปีที่ผ่านมา ไวยากรณ์สู้ตาย คันจิบ๊ายบายจ้าาา

  • @SilasHaslam
    @SilasHaslam 3 года назад +82

    ผมเพิ่งจะมาเรียนภาษาญี่ปุ่นได้ไม่นานนี้เองครับ ชอบคลิปที่คุณพายุนำมาเปรียบเทียบกันหลายๆคลิปมาก ส่วนตัวคิดว่าภาษาญี่ปุ่นก็ยากมากเช่นกัน ไวยากรณ์ค่อนข้างซับซ้อน และละเอียดมาก แต่ที่บอกว่าภาษาไทยไวยากรณ์ไม่ซับซ้อนนี่ในแง่นึงก็อาจจะจริงที่ว่า “กฎแบบเขียนไว้ชัดเจน”จะมีไม่เยอะ แต่กลายเป็นกฎแบบที่คนไทยจะรู้กันเองอันนี้จะมีค่อนข้างเยอะมาก ที่พอคนไทยฟังปุ๊บจะรู้ได้ทันทีเลยว่าถ้าใช้คำหรือเรียงประโยคแบบนี้จะธรรมชาติมากที่สุด อันนี้คิดว่าอาจต้องมีการจัดระเบียบการสอนภาษาไทยให้กับคนต่างชาติเสียใหม่ น่าจะเรียนกันเป็นระบบได้มากกว่านี้ (ตัวผมเองเป็นเจ้าของภาษา ให้พูดเองว่ามีกฎอะไรบ้างเลยก็นึกไม่ออกเหมือนกัน แต่ก็จะตอบได้แค่ว่ามันทะแม่งๆ หรือแปร่งๆรึเปล่าได้เท่านั้น) แต่คุณพายุพูดได้ขนาดนี้ก็สุดยอดมากแล้วนะครับ บางคำอาจแปร่งไปบ้างแต่เนื้อหาที่สื่อสารค่อนข้างชัดเจนดีทีเดียว ทำคลิปแบบนี้มาเรื่อยๆนะครับ ขอบคุณครับ

  • @Boyd_Watson
    @Boyd_Watson 3 года назад +187

    กริยาอยู่หลังสุดคืองงมาก เช่นจะพูดว่า "ตอนนี้ละที่จูบได้" ภาษาญี่ปุ่นจะเอาคำว่า "จูบ" มาก่อนเลย เลยเดาได้เลยว่าอะไรจะมาต่อท้าย ไม่ให้ลุ้นกันเลย

    • @savagefoxy1412
      @savagefoxy1412 3 года назад +27

      จริงค่ะ ถ้าเป็นไทยคือแบบรู้หมดแล้ว รู้ก่อนจะพูดจบ 😆

    • @ภาษาไทยของพายุ
      @ภาษาไทยของพายุ  3 года назад +40

      น่าสนใจครับ นี่คือความแตกต่างระหว่างโครงสร้างในการเรียงคำ

    • @นามปากกา007
      @นามปากกา007 3 года назад +1

      เห็นด้วยอย่างแรง

    • @world_28
      @world_28 3 года назад

      ー。

  • @wafurinn7700
    @wafurinn7700 3 года назад +56

    ภาษาไทยสิ่งที่ยากที่สุดสำหรับคนต่างชาติคือ "วรรณยุกต์" เพราะภาษาส่วนใหญ่มักจะไม่มีวรรณยุกต์ น้อยมากภาษาที่มีวรรณยุกต์เช่น ภาษาจีน(ทุกชนิด) ภาษาภาษาเวียดนาม ภาษาลาว เพราะฉะนั้นภาษาไทยกับภาษาญี่ปุ่นมันยากกันคนละแบบ ภาษไทยยากที่การออกเสียง ภาษาญี่ปุ่นยากที่การจำคำจำตัวอักษร

    • @ภาษาไทยของพายุ
      @ภาษาไทยของพายุ  3 года назад +6

      อย่างนี้นี่เองครับ มีความยากคนละแบบ

    • @marketplacegurun4547
      @marketplacegurun4547 3 года назад +3

      ภาษาญี่ปุ่นยากเกือบหมดเลยนะไม่ใช่แค่จำตัวอักษร​ ถ้าจะบอกว่าอะไรง่ายสุด... คิดแปปนึกไม่ออก​ ที่แน่ๆไวยากรณ์ญี่ปุ่นจำเยอะมาก​

    • @theprommersr1024
      @theprommersr1024 3 года назад

      ภาษาในโลกที่ใช้วรรณยุกต์มี 4 ภาษา คือ
      ภาษาไทย, ภาษาลาว, ภาษาเวียดนาม และภาษาจีน

  • @theantattor6003
    @theantattor6003 3 года назад +24

    ยากทั้งคู่ ภาษาไทยถ้าเอาจริงรากจากบาลี สันสกฤต เขมร มีอีกเยอะที่เราไม่รู้ไม่ได้ใช้ ภาษาญี่ปุ่นผมก็ว่ายากโชคดีเรียนจีนมาคันจิเลยเบาลงหน่อยแต่อ่านยังผิดๆอยู่

  • @nijyuu23
    @nijyuu23 3 года назад +136

    ปัญหา​เวลาเรียนภาษาญี่ปุ่น​ที่ผมไม่ชินซักทีคือ แยก ソ ン ツ シ ไม่ออก

  • @dreamsnight5160
    @dreamsnight5160 3 года назад +54

    สิ่งที่ยากที่สุดคือ สิ่งที่เราไม่เคยเรียนรู้มาก่อน 😅😂

  • @prangsweet2000
    @prangsweet2000 3 года назад +6

    *ส่วนตัว* เป็นคนชอบฟังเพลงญี่ปุ่น จีน และเพลงสากลมาก
    คิดว่าภาษาญี่ปุ่น ถ้าเทียบกับจีนและเกาหลีแล้ว จะออกเสียงง่ายกว่าสำหรับคนไทย สามารถใช้การสะกดคำแบบไทยมาแกะคำได้ ในขณะที่เกาหลีจะมีควบเยอะ จีนจะมีเสียงสูงต่ำ ที่เวลาพูดแต่ละครั้งแล้วจะมึนงงไปหมด
    แต่ว่าส่วนตัวเราเลือกเรียนจีนค่ะ (แบบงูๆปลาๆ)​ส่วนเพื่อนเลือกเรียนญี่ปุ่น คิดว่าภาษาญี่ปุ่นยากนะจากที่เคยถามเพื่อนมา
    เราชอบภาษาไทยนะ เป็นวิชาที่ถนัดมาตลอดเลย (ไม่อยากใช้คำว่าเพราะเป็นคนไทยจึงเก่งภาษาไทย เพราะก็ยังมีคนไทยอีกมากที่ถนัดภาษาอื่นมากกว่า) ก็เลยรู้สึกว่า ภาษาไทยเป็นภาษาที่ง่ายในเชิงการสื่อสาร(การพูด, การฟัง)​แต่ยากในการใช้ให้ถูกเป๊ะ(การเขียนเชิงวิชาการ, คำไวพจน์, รากศัพท์)​ เพราะเป็นภาษาที่ดิ้นได้ สามารถมีศัพท์ใหม่ๆผุดขึ้นมาได้ตลอดเวลา ได้รับอิทธิพลมาจากหลายประเทศ และมีการสื่อสารหลายระดับมาก ไม่ว่าจะพูดกันแบบเพื่อน แบบกับผู้ใหญ่ แบบกับเด็ก สามารถพลิกแพลงได้หมด
    เช่น คำว่า "เรา"
    -เราหิวข้าว =เราในที่นี้คือตัวเอง (I)​
    -เราไปกินข้าวกันเถอะ =เราในที่นี้คือพวกเราหลายคน (we)​
    -นี่ไปกินข้าวที่ไหนมาเนี่ยเรา =เราในที่นี้เหมือนเวลาผู้ใหญ่เรียกคนที่เด็กกว่าในเชิงเอ็นดู (you)​
    หรือ
    ปากกา1แท่ง/ด้าม/อัน
    ต่อให้ใช้ผิด ก็ยังคุยกันรู้เรื่องอยู่ดี
    ดังนั้นคิดว่าวิธีเรียนไทยให้ง่าย คือการสื่อสารพูดคุยให้รู้เรื่องก่อน ไม่จำเป็นต้องเริ่มจากสระพยัญชนะ ไม่งั้นแค่เห็น 44ตัว++ ก็คงรู้สึกว่ายากแล้ว ยังไม่นับเรื่องการันต์ ที่เขียนมาแต่ไม่ออกเสียง แบบคำว่า จันทร์ แต่เราชอบนะ เพราะพอเข้าใจ เลยสามารถสืบต้นตอได้หมดว่าคำนี้คำนั้นมีที่มาจากอะไรบ้าง เรียกว่าต่อให้อยู่ในภาษาไทย แต่ก็สามารถนึกย้อนไปหาบาลีสันสกฤตได้เลย
    ยาวไปหน่อย.. แต่ตั้งใจพิมพ์นะ ขอบคุณค่ะ 🙏

    • @ภาษาไทยของพายุ
      @ภาษาไทยของพายุ  3 года назад

      ขอบคุณมากครับสำหรับคำอธิบายละเอียดมาก เข้าใจดีขึ้นครับ

  • @supanat1516
    @supanat1516 3 года назад +2

    การนับเวลาโดยใช้คำตามท้ายของไทยมาจากสมัยไทยโบราณคือ เวลา6:00(6โมงเช้า)-18:00(หกโมงเย็น)(หกโมงเช้า ถึง หกโมงเย็น) ใช้คำว่า โมง เพราะสมัยก่อนของไทยใช้ ฆ้อง (เครื่องดนตรีไทย) ในการตีเป็นเวลา มีเสียงเป็น โหม่ง เลยเพี้ยน หรือ กลายเป็นคำว่า โมง , เวลา19:00(1ทุ่ม)-23:00(5ทุ่ม) ใช้คำว่า ทุ่ม เพราะสมัยก่อนใช้ กลอง (เครื่องดนตรี) ตีบอกเวลา มีเสียงเป็น ทุ่ม เลยใช้เป็นคำว่า ทุ่ม ส่วนเที่ยงคืนถือว่าเริ่มวันใหม่เเล้วเลยไม่นับ , เวลา01:00(ตี1)-(05:00(ตี5) ใช้คำว่า ตี เพราะสมัยก่อนของไทยใช้ เหล็ก ตีให้เกิดเสียงเพื่อบอกเวลา เลยใช้คำว่า ตี

  • @kunslipper
    @kunslipper 3 года назад +3

    ไม่ต้องเถียงกันครับ มาๆ ผมจะสรุปให้ อ้างอิงจากหนังสือฝรั่งนะครับ
    Difficulty ratings of languages for native-speakers of English.
    เค้าจะแบ่งความยากง่ายเป็น 4 Groups
    >>>>Group 1 ง่ายสุด
    French
    German
    Indonesian
    etc.
    >>>>Group 2
    Bulgarian
    Burmese
    Greek
    etc.
    >>>>Group 3
    Amharic
    Cambodian
    Czech
    Thai****
    etc.
    >>>>Group 4 ยากสุด
    Arabic
    Chinese
    Japanese*****
    Korean
    สรุปจากผลสำรวจ นักเรียนที่เรียนภาษาต่างๆ นาน 3 ปี ใช้เวลาเรียน 30 ชั่วโมงต่ออาทิตย์ โดยอ้างอิงจากนักเรียนฝรั่งที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ ในระหว่างเรียนจะพบปัญหาต่างๆ มากบ้างน้อยบ้าง พบว่าภาษาที่ยากๆ จะต้องใช้เวลาเรียนอย่างมาก นอกเหนือจากในห้องเรียน
    ผลออกมาว่า
    ภาษาญี่ปุ่นยากกว่าไทยครับ การวิจัยพวกนี้เค้าจะมีเกณฑ์ประเมินทั้งแบบ เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ เช่น การสอบวัดระดับภาษา level of proficiency ตัวอย่างเช่น TOEIC JLPT HSK
    ภาษายากๆ จะพบว่านักเรียนต้องใช้เวลาในการเรียนทั้งในและนอกห้องมากกว่าภาษาอื่นๆ ลองคิดดูนะครับ ตรงนี้แค่ใบวัดระดับภาษานะ มีสอบแค่ทักษะการฟัง การอ่าน ต้องเรียนกันกี่ปีครับกว่าจะได้ N1
    ของไทยผมไม่ค่อยมีข้อมูลเรื่องสอบวัดระดับนะครับเลยไม่ขอพูดถึง
    อยากให้ลองมองแบบนี้ครับ นอกจากภาษาจะเป็นเรื่องของทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน แต่อย่าลืมเรื่อง "วัฒนธรรม" ด้วยนะครับ สิ่งเหล่านี้ล้วนต้องอาศัยการสั่งสมซึ่ง ใช้เวลาเป็นปีๆ ครับ ไม่มีทางลัด อย่าไปเชื่อการตลาดที่โม้ว่าเรียน 3 เดือน 6 เดือน พูดได้ เรื่องแกรมมาอีก เป็นสิ่งสำคัญมากๆ ของทุกๆ ภาษา
    ถ้าไม่เชื่อลองดูคลิปทดสอบพูด ielts speaking ระหว่าง band 9 กับ band 4 ดูครับ จะเห็นความแตกต่าง
    ปล. พายุพูดไทยเก่งมากๆ ครับ ผมติดตามมาตั้งแต่ปีแรกๆ แล้ว
    ผมเชื่อพายุต้องขยันมากๆ สั่งสมทักษะมาเป็นปีๆ สำหรับผมนับถือเลยครับ คงต้องชอบภาษาไทยจริงๆ
    ขอบคุณครับ
    ありがとうございます。

  • @chakan8
    @chakan8 3 года назад +150

    ไวยากรญี่ปุ่นคือยากมากกกก TvT เป็นกำลังใจให้นะคะ ติดตามทุกคลิป ทำคลิปบ่อยๆนะคะ

    • @ภาษาไทยของพายุ
      @ภาษาไทยของพายุ  3 года назад +4

      ขอบคุณครับที่ติดตามช่องผม ต่อไปก็พยายามเรียนไทยครับ

  • @Saika_Sakitora
    @Saika_Sakitora 3 года назад +17

    ยากทั้งคู่ แต่ถ้าหัดใช้ไปนานๆเดียวก็ได้เอง
    Btw English is the easiest to learn because it's world wide and only have 2 ways of pronunciation, either British or American and the meaning is almost the same

  • @soonbihyonsoo3178
    @soonbihyonsoo3178 3 года назад +4

    นั่งร้องไห้เพราะภาษาญี่ปุ่นมาแล้ว ร้องฮือๆเลย คับแค้นใจภาษาญี่ปุ่นจริงๆ ตอนนี้ก็ลืมไปหมดแล้วด้วย.

    • @marketplacegurun4547
      @marketplacegurun4547 3 года назад +1

      เข้าใจเราก้โดนจารย์ว่าเรื่องเรียนญี่ปุ่นคิดว่าถ้าเรียนจบจะไม่เอาแระ​ แต่สุดท้ายทุกวันนี้ก้ยุกับญี่ปุ่นตลอด​ เพราะไม่ได้ภาษาอื่นเลย55​

  • @mr.greenapple2217
    @mr.greenapple2217 3 года назад +1

    ขอบอกตามตรง เรียนภาษาทุกภาษายากครับขนาดผมเองเรียนภาษาบ้านเกิดยังไม่เข้าใจเลย ำม่ใช่ไม่ตั้งใจเรียนนะ เเต่บางคำมันยาก อย่างคำวิเศษ เเละภาษาไทยมีการออกเสียงเเตกต่างกัน ขนาดบางคำที่เหมือนกันเเต่ออกเสียงไม่เหมือนกัน " ยามเช้า " = "เช้าตรู่" มันสือถึงตอนเช้า เลย เราเข้าใจ555ภาษาทุกภาษามันยาก

  • @hay18894hay
    @hay18894hay 3 года назад +5

    ชอบตอนที่พายุพูดว่า "ยากจะตาย" ฟังแล้วตรงใจมาก ฮ่าๆ
    ตอนนี้กำลังเรียนภาษาญี่ปุ่นอยู่ สนุกดีค่ะ จะพยายามต่อไปจ้าาา

  • @Peam-n5p
    @Peam-n5p 3 года назад +15

    "อิหยังวะ" โอ้ยยยยจี้มากครับ

  • @MontPanichjeerasin
    @MontPanichjeerasin 3 года назад +5

    ถ้าจะบอกว่าภาษาญี่ปุ่นยาก​ เอาเข้าจริงภาษาไทยก็ยากไม่แพ้กันเพียงแต่ยากกันคนละแบบ​ ภาษาไทยใช้พยัญชนะประสมกับสระและตัวสะกดมีวรรณยุกต์เพิ่มเติมเข้ามา​ หากเรียนรู้ไปอีกจะพบว่ามีเรื่องของวรรณกรรมที่มีรูปแบบเป็นร้อยแก้วหรือร้อยกรองอันมีฉันทลักษณ์เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย​ ฉันทลักษณ์ไทยมีเสน่ห์มากๆ​ เพราะว่านอกจากมีลักษณะบังคับต่างๆ​ แล้ว​ ยังประกอบไปด้วยอรรถรสที่ทำให้รื่นรมย์ไม่น้อย​ ขอบอกเพิ่มเติมนะครับ​ เนื่องด้วยภาษาไทยมีวรรณยุกต์​ เอาเข้าจริงมันคือตัวโน้ต​ เวลาที่จะแต่งเพลงต้องคำนึงถึงเรื่องนี้ด้วยเพราะวรรณยุกต์บังคับตัวโน้ตไว้อย่างชัดเจน​ครับ​ ยกตัวอย่างเช่นเพลงมนต์รักลูกทุ่งหรือเพลงออเจ้าเอย​ ที่มีความงดงามทางภาษาอย่างหาที่เปรียบมิได้ครับ

  • @tiitar_tiichanelth974
    @tiitar_tiichanelth974 3 года назад +3

    คำไทยง่ายค่ะ เช่น คำว่ากิน จะอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคตก็ใช้คำว่ากิน ต่อให้พูดดูสุภาพอย่างมากก็แค่รับประทาน ดูภาษาญี่ปุ่นที่ต้องมานั่งผันตามเวลา ตามกาลเทศะแล้ว บอกเลย ภาษาไทยยังจิ๊บๆ

  • @omechinnarat6374
    @omechinnarat6374 3 года назад +5

    พายุพูดภาษาไทยชัดขึ้นมากเลยค่ะ สำเนียงคล้ายคนไทยแล้ว สู้ๆ นะคะ

  • @ท๊อฟฟี่รสมินต์

    ภาษาไทย อ่านออกเสียงคำพ้องเสียงยาก แต่ไวยากรณ์ ประโยคง่ายมาก ภาษาญี่ปุ่น อ่านออกเสียงง่ายเพราะมีน้อยเสียง แต่ตัวอักษร เยอะ ฮิระกะนะ คะตะกะนะ คันจิ แถมต้องมีเสียงอ่านแบบอง แบบกุนอีก คำกริยาผันได้หลายแบบตามสถานะการณ์ที่ใช้ และคำช่วยต้องวิเคราห์จากรูปประโยคและกริยา หรือ กรรม สกรรม คุณศัพท์ ว่าต้องใช้แบบไหน คำคุณศัพท์ก็มีสองแบบใช้ก็ต่างกัน ต้องวิเคราะห์แต่ละประโยค กว่าจะแต่งประโยคได้ มีตรรกะเยอะมาก แถมมีประโยคแบบรูปธรรมดา รูปสุภาพ และสุภาพสุดๆ(คล้ายราชาศัพท์) นับไม่ไหว ต้องอาศัยการฝึกฝนอยากหนัก บางทีถ้าเรียนญี่ปุ่น อาจลืมภาษาก่อนหน้าที่เรียนมาก่อนไปเลย

  • @lastnightmare8973
    @lastnightmare8973 3 года назад +5

    สำหรับคนภาคใต้ เวลาตอนดึกที่ว่า 1 ทุ่ม 2 ทุ่ม 3 ทุ่ม พอมาอยู่ภาคเปลี่ยน 1 ทุ่ม เป็นตี 7 ตอนดึก แบบนี้ต่อไปเรื่อยๆ ซึ่งมันสบายมาก

  • @ohiomat9449
    @ohiomat9449 3 года назад

    ผมว่าภาษาที่เรียนง่ายกว่าน่ะควรจะดีใจนะ​เพราะจะช่วยลดอุปสรรค​ในการสื่ิอสาร​ได้เยอะ ส่วนการที่เราพูดภาษาที่ 2 3​ 4 5 ได้นั่นก็เป็นความเปรี้ยวเยี่ยวราดของเราที่มีความสามารถและนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ และเรื่องงานด้วย​ ฉะนั้นจะเถียงกันทำไมว่าภาษาไหนยากง่ายกว่ากันในเมื่อคุณเองยังใช้ภาษาของตัวเองได้ไม่ดีพอ

  • @mickeymick2189
    @mickeymick2189 3 года назад +15

    2:18 ผมมึ ชอบพึ อาหารไทย!! แหม่!!!

  • @nutjibell309
    @nutjibell309 3 года назад +2

    โอโหห มันใช่เลยค่ะตรงทุกข้อเลยยภาษาญี่ปุ่นสำหรับเราคือยากมากๆจำไม่ได้ไวยากรณ์ยาก ศัพท์เยอะ ตอนนี้ท้อจนเลิกเรียนไปแล้วค่ะ มันพูดไม่ได้สักทีฮืออ แต่คุณพายุทำคลิปดีมากๆเลยค่ะ ทำให้รู้สึกมีกำลังใจขึ้นมานิดนึงค่ะ 😂 ขอบคุณมากๆค่ะ

  • @neoflynow1130
    @neoflynow1130 2 года назад

    อาจจะคิดว่าภาษาไหนยากงาย
    เอาจริงๆทุกภาษามีจุดทั้งยากง่ายเหมือนกันเช่น
    คำนี้ครับ ต้นเหตุ อ่านว่าอะไร ถ้าไม่เคยรู้จักมาก่อน อาจจะเผลอ
    อ่านว่า ต้น -เห- ตุ
    หรือคำนี้ ชาติ อ่านว่า ชา- ติ ใช่ไหม หรืออีกตัวอย่าง
    คำว่า ใบตอง กับ ตรึกตรอง ต-อ-งคล้ายกัน
    เป็นคำควบกล้ำ คิดว่าคนญี่ปุ่น คงออกเสียควบกล้ำไม่ถนัด ไม่แม่นนัก
    คำไทยที่คิดว่าอ่านแบบนี้ แต่ อ่านผิด มีเยอะมาก ที่ต้องการจะสื่อสาร
    คือกฏการอ่าน การสะกดคำ มันมีรายละเอียด ปลีกย่อยเยอะนะครับ ต้องเข้าใจ

  • @ninepnk5854
    @ninepnk5854 3 года назад +1

    สวย ซวย จะออกเสียงต่างจากพี่พายุนิดนึงค่ะ แบบแยกออกอยู่น้าว่าต่างกัน ฝึกเพิ่มได้แน่นอนค่ะ สู้ๆนะคะ

  • @mrdarkknightch6960
    @mrdarkknightch6960 3 года назад +1

    เอาจริงๆตัวบอกเวลามันยังจะมีอีกอย่าง คือ บ่าย ก็คือ ช่วงหลังเที่ยง ซึ่งก็มี บ่ายหนึ่ง บ่าย สอง บ่าย สาม บ่าย สี่ แล้วก็ต่อด้วย 5 โมงเย็นเลย (ส่วนตัวของผมเรียก บ่าย 5 แล้วเรียกว่า 6 โมงเย็น มันชินน่ะครับ ฮ่าๆ)
    แต่ถ้าไม่อยากสับสน ส่วนใหญ่แล้วพวกผมจะภาษาตัวเลขแทน เพราะมันเที่ยงตรงมากกว่าและเข้าใจง่ายกว่าเยอะ...
    เช่น 1100 เจอกันที่สวนนะ เขาจะรู้เลยว่า 5 โมงเช้า เจอกันที่สวน หรือ 100 ก็ ตี 1 เป็นต้น
    ปล.อันนี้ส่วนตัวนะ ภาษาตัวเลขง่ายกว่าเยอะ ไม่งงด้วยแค่แบ่งสองตัวหน้าหลัง สองตัวหน้าคือตัวแทนชั่วโมง สองตัวหลังแทนหน่วยนาที จบเลย ใครอยากลองเอาไปใช้ก็ได้นะ...

  • @SuperNaiyan
    @SuperNaiyan 3 года назад +3

    ภาษาญี่ปุ่นมันยากตัวคันจิครับ เพราะคันจิตัวหนึ่งออกเสียงได้เยอะมาก ๆ ที่ชัด ๆ เลย 今 กับ 今日 นี้และครับ
    ภาษาไทยอ่านง่ายแต่เขียนยากอยู่เพราะไม่รู้ว่าต้องใช้ตัวพยัญชนะอะไร ออกเสียงเดียวกัน แต่เขียนต่างกันความหมายก็เปลี่ยน เช่น สัตย์ กับ สัตว์ อีกทั้งพยัญชนะบางตัวออกได้มากกว่าเสียงนึงเช่น ฑ ออกได้ทั้งเสียง ท และเสียง ด ตัวอย่างคำนี้เลย มณฑล(มน - ทน) กับ มณฑป(มน - ดบ)
    2 ภาษามันก็มีความยากง่ายอยู่ในตัวครับ เทียบกันไม่ได้เลย

    • @SuperNaiyan
      @SuperNaiyan 3 года назад +2

      โมง ทุ่ม ตี ยาม นี้จะใช้ในวัดอ่ะครับ เป็นการบอกรูปแบบเวลาของคนไทยในสมัยก่อนโดยใช้เสียงจากฆ้องและเสียงจากกลองครับ เรียกแบบนาฬิกา 6 ชม. ในสมัยก่อน
      1 โมงเช้า 07:00 บ่ายโมง 13:00 1 ทุ่ม 19:00 ตี 1 01:00
      2 โมงเช้า 08:00 บ่าย 2 14:00 2 ทุ่ม 20:00 ตี 2 02:00
      3 โมงเช้า 09:00 บ่าย 3 15:00 3 ทุ่ม 21:00 ยาม1 ตี 3 03:00 ยาม3
      4 โมงเช้า 10:00 บ่าย 4/4 โมงเย็น 16:00 4 ทุ่ม 22:00 ตี 4 04:00
      5 โมงเช้า 11:00 บ่าย 5/5 โมงเย็น 17:00 5 ทุ่ม 23:00 ตี 5 05:00
      เที่ยงวัน 12:00 ย่ำค่ำ 6 โมงเย็น 18:00 เที่ยงคืน 24:00(00:00) ยาม2 ย่ำรุ่ง 06:00 ยาม4
      ช่วงเช้าใช้ฆ้องตี
      ช่วงบ่ายใช้ระฆังตี
      ช่วงค่ำใช้กลองดี
      หลังเที่ยงคืนใช้กระบอกไม้ไผ่หรือแท่งโลหะตีครับ
      เป็นที่มาในการเรียก โมง ทุ่ม ตี ยาม ครับ
      1 ยาม ใช้เรียกเวลาช่วงกลางคืนจากเวลา 18:00 ไปแล้ว 3 ชม. ครับ

  • @pefa_twi3114
    @pefa_twi3114 3 года назад +1

    ภาษาไทยในการตีความบางทีต้องใช้ความรู้สึก ความเคยชินใช้บ่อยๆ ถึงแปลได้ ยิ่งถ้าอ่านหนังสือ จะเจอคำที่บางทีคนไทยต้องหาเลยว่าแปลว่าอะไร แปลไทยเป็นไทยไปอีก

  • @gunkun60
    @gunkun60 3 года назад +29

    ขอบคุณที่ให้กำลังใจครับ
    ผมจะเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นเพื่อ hololive และคนญี่ปุ่นให้ได้เลย✌️✊
    (ซึ่งตอนนี้ได้แค่ฮิรา😂😂)

  • @Saito_SrezteX-04
    @Saito_SrezteX-04 3 года назад +7

    3:11 เสียงไทยชัดมากเลยนะครับตรงนี้ แล้วก็มีตรงอื่นชัดๆแบบไทยแท้อยู่อีกนะครับ

  • @アルテミス-w2q
    @アルテミス-w2q 3 года назад

    ภาษาญี่ปุ่นสิงที่อย่ากสำหรับผมนะก็คือ การใช้คำสัพย์ให้ถูกบางคำความหมายมันคร้ายๆกันแต่เขียนคนละแบบเลย และอิกอย่างคือการออกเสียงให้ชัด ซ โซ้ต้องเป็น ซ โซ้ ส เสือต้องเป็น ส เสือ แต่ว่าเทคนิกการจำตัวคันจิ ฮิรากานะ คาตาคานะ สำหรับผมง่ายมากจำเท่าที่พอจำใด้ก่อนยกตัวอย่างเช่น การจำฮิรากานะ คือผมจะจำแบบนี้ อ่านเท่าที่พอจำใด้ตอนที่ผมเริ่มเรียนภาษาญี่ปุ่นนะ ผมจะจำแค้5-10ตัวอักษรหรือมากกว่านั้น และพอท้องจนจำใด้ผมจะไปเล่นเกมหรือเล่นมือถือและดูยูทูปเล่นใด้สัก10นาทีหรือมากว่านั้นก็ใด้ พอครบ10นาทีแล้วผมจะมารองเขียนตัวอักษรที่ผมใด้ท่องจำไปว่าผมจำตัวอักษรใด้กี่ตัวหลังจากที่ผมใด้ไปเล่นมือถือและส่วนตัวอักษรที่ผมจำไม่ใด้ผมจะท้องให้จำและรองเขียนดูหลังจากนั้นก็ไปเล่นมือถือหรือทำอะไรก็ใด้ให้สมองผมลืมพวกตัวอักษรนั้นไป และผมจะมารองนึกและก็เขียนดูว่าผมเขียนตัวอักษรนี้ถูกมั้ยและผมก็ทำแบบนั้นไปเรื่อยจนจำใด้

  • @aggressive1874
    @aggressive1874 3 года назад +1

    ภาษาไทยมีวรรณยุกต์และสระหรือพยัญชนะที่ออกเสียงได้แทบจะครอบคลุมการออกเสียงของมนุษย์ได้เกือบทั้งหมดเลย เพราะงั้นคนไทยจึงออกเสียงได้แทบทุกภาษาในโลก แทบไม่มีภาษาไหนในโลกที่จะเขียนออกมาเป็นภาษาไทยไม่ได้ ภาษาไทยนั้นมันดิ้นได้เยอะมากๆแทบจะดิ้นได้ทุกทาง เพียงแต่ติดตรงสำเนียงเท่านั้นที่จะไม่เหมือนเจ้าของภาษา ภาษาไทยจะยากถ้าใช้แค่ความจำอย่างเดียวแต่ถ้าอาศัยความเข้าใจไปด้วยจะช่วยให้ง่ายขึ้น เพราะภาษาไทยจะเน้นที่การผสมให้มันเกิดเป็นเสียงเป็นคำและเกิดเป็นความหมาย

  • @satangstyle2906
    @satangstyle2906 3 года назад +60

    ภาษาญี่ปุ่น จำอักษร ไม่ได้สักที เยอะมาก ไหนจะ เรียงประโยคที่ไม่เหมือนคนไทย แต่ถ้าไวยากรณ์ ไทย ใกล้เคียงจีน มากกว่า แต่ถ้าไห้เลือกเรียน ภาษาญี่ปุ่นกับ เกาหลี เลือกญี่ปุ่นเพราะออกเสียงง่ายกกว่า

    • @ภาษาไทยของพายุ
      @ภาษาไทยของพายุ  3 года назад +6

      จริงหรอครับ สำหรับคนไทยภาษาญี่ปุ่นออกเสียงง่ายกว่า

    • @petecs1666
      @petecs1666 3 года назад +12

      @@ภาษาไทยของพายุ จริงครับ ภาษาเกาหลีมีเสียงควบกล้ำค่อนข้างเยอะ คนไทยเลยออกเสียงได้ยากกว่า
      แต่ว่าในภาษาญี่ปุ่น ทั้งตัวอักษรและคำมีเสียงควบกล้ำน้อย และส่วนใหญ่แล้วเมื่อนำมาเขียนเป็นคำอ่านภาษาไทยแล้วออกเสียงได้ใกล้เคียงกว่า

    • @jibob6959
      @jibob6959 3 года назад +2

      @@ภาษาไทยของพายุ ไม่ง่ายหรอกเพื่อนผมไม่เห็นออกได้เลย

    • @amika1437
      @amika1437 3 года назад +1

      @@petecs1666 แต่ญี่ปุ่นก็มีมารุกับเตงๆนะเช่นさ ざ す つ し ち ぢ แบบถ้าให้เขียนตามคำบอกมาตายตรงวรรคたกับさเลยนะ

    • @petecs1666
      @petecs1666 3 года назад +2

      @@amika1437 ใช่ครับ ผมก็บอกว่า "ส่วนใหญ่" นะ ไม่ใช่ทั้งหมด
      แล้วก็บอกว่า "ใกล้เคียง" กว่า ซึ่งมันไม่ได้หมายความว่าจะออกเสียงได้ตรงทั้งหมดอยู่แล้ว

  • @セーノー
    @セーノー 3 года назад +76

    แค่ คันจิ ก็กินขาดแล้ว😅

    • @นูระซามิ
      @นูระซามิ 3 года назад +20

      44ตัว กับ3พันกว่าตัวจะเอาไรไปสู้5555

    • @มาม่าใส่นมข้น
      @มาม่าใส่นมข้น 3 года назад +2

      @@นูระซามิ เรายังมีกลอนน่ะ
      และคำแสลงและเสียงที่คล้ายๆกันอย่าไปยอมแถมบางภาคพูดไม่เหมือนกันอีก

    • @シンテワリン
      @シンテワリン 3 года назад

      5555

  • @bored-bt4nn
    @bored-bt4nn 3 года назад +28

    ญี่ปุ่น พูดได้ง่ายแต่เขียนไม่ค่อยถูก
    อังกฤษ อ่านได้เขียนได้ แต่ออกเสียงยาก
    ไทย ภาษาหลักที่ผมใช้ ยากตรงภาษาเก่าๆ และ ภาษาที่ผุดมาจากไหนไม่รู้

  • @user-lamudpa
    @user-lamudpa 3 года назад +3

    จริงๆภาษาไทย มีพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ที่สามารถเลียนเสียงทุกภาษาในโลกได้เลยนะ มีแค่ไม่กี่เสียง ที่ภาษาไทยเขียนออกมาเป็นเสียงไม่ได้

  • @FingersKungfu
    @FingersKungfu 3 года назад +514

    ญี่ปุ่นยากกว่าภาษาไทยแน่นอน ยกเว้นเรื่องการออกเสียงเท่านั้นแหละครับ

    • @ภาษาไทยของพายุ
      @ภาษาไทยของพายุ  3 года назад +119

      คิดว่าส่วนใหญ่ตอบอย่างนั้นครับ😅

    • @keamez7042
      @keamez7042 3 года назад +105

      ที่เป็นแบบนั้นเพราะคุณเป็นคนไทยครับ คุณอยู่กับมันมาทั้งชีวิตมันเลยดูเหมือนง่าย แต่ไม่ใช่กับต่างชาติ555

    • @二ッチャポーン
      @二ッチャポーン 3 года назад +35

      @@keamez7042 เขาน่าจะจัดในมุมมองฝรั่งนะ ญี่ปุ่น​มีตัวอักษร​50+เลยนะ ในการจัดอันดับ​ญี่ปุ่น​ก็ยากกว่า

    • @FingersKungfu
      @FingersKungfu 3 года назад +88

      @@keamez7042 ไม่ใช่หรอกครับ มันเป็นมุมมองสากล ผมก็เรียนภาษาอื่น ๆ มาเยอะทั้งอังกฤษ ฝรั่งเศสและจีน ภาษาญี่ปุ่นมีตัวอักษร 3 ประเภท และมีข้อยกเว้นการออกเสียงเยอะกว่าภาษาอื่นทั้งหลาย. ภาษาญี่ปุ่นมีระบบผันคำกริยาซับซ้อนกว่าอังกฤษ และตัวอักษรจีนที่ญี่ปุ่นนำมาใช้แต่ละตัว ก็ออกเสียงได้ 4-5 แบบ ไม่มีภาษาไหนในโลกที่เป็นแบบนี้. ภาษาญี่ปุ่นจริง ๆ แล้วเรียนยาก เพียงแต่ว่าเศรษฐกิจ, วัฒนธรรม และสื่อของญี่ปุ่นทรงพลังและมีอิทธิพลมาก ทำให้คนต่างชาติได้สัมผัสกับภาษาญี่ปุ่นตลอดเวลา มีคนหลงไหลในวัฒนธรรมญี่ปุ่นอยู่เยอะ. ปัจจัยพวกนี้ทำให้คนมีแรงบันดาลใจเรียนภาษาญี่ปุ่นกันทั่วโลก เพราะแรงบันดาลใจเป็นเงื่อนไขในการเรียนภาษาสำคัญที่สุด.

    • @negonyonyo
      @negonyonyo 3 года назад +24

      @@keamez7042 ไช่เลยที่ มันดูง่ายเพราะเราเป็นคนไทยนั่นแหละ แต่สายตาต่างชาติไทยเราติดอันดับต้นๆภาษา ยากระดับโลกเลย ส่วนมากเขาพูดไทยได้แต่เขียนกันไม่ค่อยได้

  • @bellatrictz9306
    @bellatrictz9306 3 года назад

    เวลา แบบ ยาม นี่ แทบไม่เคยได้ยินคนใช้ ส่วนใหญ่ใช้เป็นเปรียบเปรยหรือไม่ก็ในภาพยนต์มากกว่า
    ถ้าเรื่องเวลา คือ 00.00 (เที่ยงคืน) - 05.59 ใช้คำว่า ตี เช่น ตี 1 ตี 2 พอ 06.00 - 11.59 เราจะใช้คำว่า โมง เช่น 6 โมง 7 โมง พอ 12.00 (เที่ยง) พอ 13.00 - 17.59 ส่วนใหญ่จะใช้คำว่า บ่าย และ โมง เช่น 13.00 - 15.59 อย่างเช่น 13.00 บ่ายโมง, 14.00 บ่าย 2 โมง, 15.00 3 โมง หรือ บ่าย 3 โมง, 16.00 4 โมง (ใช้อันนี้มากกว่า) หรือ บ่าย 4 โมง 17.00 -18.59 ใช้คำว่าโมง เช่น 17.00 ก็ 5 โมง 18.00 ก็ 6 โมง, พอ 19.00 - 23.59 จะเป็นทุ่มแทน เช่น 20.00 คือ 2 ทุ่ม อะไรทำนองนี้ครับ

  • @TonNhow-p08
    @TonNhow-p08 3 года назад

    ผมว่าแล้วแต่คนนะ เพราะถ้าเราเรียนอันไหนมาก่อน เราก็ชินกันไปก่อนครับ
    แต่ถ้าได้แล้วก็สนุกดีนะ เวลาพูดอีกภาษา

  • @skyhigh47
    @skyhigh47 Год назад

    シとツ ก็สังเกตุยากส์เหมื่อนกันคับ พิมพ์ไม่เท่าไหร่แต่ถ้าดูจากลายมือยากส์เห่ะ เพิ่งเรียนได้ระยะนึ่งคับ

  • @Rebellion90s
    @Rebellion90s 3 года назад +2

    ในฐานะคนไทยผมว่าภาษาไทยยากกว่า สิ่งที่คุณยังไม่ได้บอกมาในคลิปมันจะมีเรื่องคำยืมครับ ไม่ใช่ที่เราไปทับศัพท์ต่างชาตินะ ยกตัวอย่างคำว่า "บัณฑิต" แรกเห็นอ่านว่าไงกันมั่ง ไหนจะมีพวกคำในวรรณคดีอะไรพวกนี้อีก เช่น "ผอบ" อ่านว่าอะไรเอ่ย แล้วไหนจะมีชื่อคนอีก เช่น "พชร"

  • @Yippoli
    @Yippoli 3 года назад

    สมกับเรียนเอกไทยค่ะ พยายามวิเคราะห์ในหลายมุม แต่ส่วนการออกเสียง น่าจะเทียบแยกกลุ่มให้ถูกกลุ่มมากกว่า เช่น พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ก็จะต้องไปเทียบกับ stress & intonation ของภาษาญี่ปุ่นค่ะ :)

  • @nightmare_2809
    @nightmare_2809 3 года назад +1

    เราว่ามันก็ยากเเละง่ายไม่ต่างกันนะ
    ถ้าเป็นคนญี่ปุ่นก็จะบอกว่าภาษาไทยยากแต่ถ้าเป็นคนไทยก็จะบอกว่าภาษาญี่ปุ่นยาก ขึ่นอยู่กับความพยายามของเเต่ล่ะคน ทุกคนสามารถพูดภาษาเหมื่อนเป็นเจ้าของภาษาใด้เลยถ้าขยัน

  • @Gelalal
    @Gelalal 3 года назад +1

    พูดไทยเก่งมากเลยค่ะ น่ารัก💘

  • @mangamaniac-ms1wl
    @mangamaniac-ms1wl 3 года назад +29

    2つのこと、2つの言語、戻りたい、タイ人は難しいタイ語を学ぶ、私たちのような日本人、学校はもう難しいようだ。さようなら。👋🇹🇭🇯🇵

  • @sweetmelonism
    @sweetmelonism 3 года назад +10

    4:53 55555 ชอบเอาการบอกเวลาแบบไทยมาตอบครูสอนญี่ปุ่น โดนด่ายับ5555

    • @ภาษาไทยของพายุ
      @ภาษาไทยของพายุ  3 года назад +4

      し、ち、じ ยากมากใช่ไหมครัย555

    • @sweetmelonism
      @sweetmelonism 3 года назад

      @@ภาษาไทยของพายุ ยากจริงค่ะ พูดสลับกันหมด 5555

  • @iinannn600
    @iinannn600 3 года назад +1

    เฮนไตของสุดยอดมากครับ ขนาดผมยังไม่เคยศึกษาภาษาญี่ปุ่นเลย ตอนนีัเริ่มรู้จักบางคำแล้วเพราะดูอนิเมะนี่เเหล่ะ

  • @puppydumby2558
    @puppydumby2558 3 года назад +1

    เรื่องเวลาถ้าไม่อยากจำ เรื่อง ยาม,ตี,โมง,บ่าย.ทุ่ม
    สามารถใช้ คำว่า "นาฬิกา" ตามหลังเวลา ที่เป็นแบบ 24 ตัวเลข ได้เลยนะครับ แต่มันจะฟังเป็น "ทางการ" มาก 555
    A : ตอนนี้กี่โมงแล้ว
    B : 8 นาฬิกา (8 โมงเช้า)
    A : ตอนนี้กี่ทุ่มแล้ว
    B : อ๋อ~ 23 นาฬิกา 24 นาที (5 ทุ่ม 24)
    นี่มันเหมือนรายงานข่าวประจำช่องโทรทัศน์?
    *** แต่มี ง่าย!!! กว่านี้นะครับ~
    ใช้ระบบ "คนภาคใต้" ดูเลขนาฬิกา "ชี้" ที่ตัวเลขไหน ก็บอก ตี นำหน้า จบเลย 5555
    มีตั้งแต่ ตี1 ยัน ตี12 เลยครับ ***

    • @MeMalXX
      @MeMalXX 3 года назад

      ตอนเรียนมหา’ลัยมีเพื่อนมาจากใต้ เราถามเวลาเพื่อน เพื่อนตอบตีสิบเอ็ด(11.00 น.) งงตีสิบเอ็ดอะไร ไม่ตีแน่แดดเผาขนาดนี้ เพื่อนหัวเราะบอกมันชิน แล้วก็อธิบายให้ฟังว่าตีสิบเอ็ดคืออะไร555 ส่วนทางบ้านเราจะเรียกห้าโมงเช้า

  • @Sunny-ok5bk
    @Sunny-ok5bk 3 года назад

    สำหรับเค้าคิดว่ายากพอๆกันเลยค่ะ คงต้องฝึกเเละอยู่กับภาษานั้นไปนานๆ จะทำให้รู้เรื่องเเละเข้าใจภาษาที่เรียนมากขึ้น ต้องฝึกฝนบ่อยๆค่ะ

  • @pkpk4443
    @pkpk4443 3 года назад +2

    เรียน ภาษาญี่ปุ่นได้ 1ปียังไม่ค่อยเข้าใจ
    แต่พอได้ คุยกับคนขายราเม็ง ระเบิดครับ เพราะฉะนั้น เรียนนานๆเถอะครับ
    ตอนนั้นโครตอาย แปลออกแค่บ้างคำ

  • @fbi4734
    @fbi4734 3 года назад +22

    ไทยยากกว่าเยอะนะครับส่วนตัวผมเรียนญี่ปุ่นพื้นฐานไม่เกิน5สัปดาห์​แต่ไทยจนถึงตอนนี้ยังเกรด1อยู่เลย555 (คันจิผมผ่านแน่นอนอย่าถาม555ผ่านคือไม่เรียนนะ)​

    • @ท๊อฟฟี่รสมินต์
      @ท๊อฟฟี่รสมินต์ 3 года назад

      ยังไม่เจอไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูงครับ ภาษาญี่ปุ่นพื้นฐานเทียบไม่ได้เลย เหมือนเรียนใหม่อีกรอบเลยละ เด่วจะได้รู้ 555+

    • @fbi4734
      @fbi4734 3 года назад

      @@ท๊อฟฟี่รสมินต์ งั้นไปลองคำราชาศัพท์​(ถ้าครูเล่นด้วยก็ให้พูดแบบนี้ทั้งห้องและทั้งวัน)​ลองดูนะเดี๋ยวจะไม่ใช่คนไทยถ้าพูด5555 (พูดผิดคัด10จบเองชิวๆ)​ญี่ปุ่นแค่เรียนนิดหน่อยผมติดอยู่ไวยากรณ์​5555ตอนนี้ไปไม่เป็นแต่ไทยยากกว่าเยอะเรื่องไวยากรณ์​555(คนสมัยนี้มันคิดศัพท์​กันเอง)​

    • @marketplacegurun4547
      @marketplacegurun4547 3 года назад

      ญี่ปุ่นไวยากรณ์มันเรียงคนละอย่างกับภาษาส่วนใหญ่ในโลกแถมมันมีระดับภาษามารยาทด้วยนะ​ ที่ว่าง่ายๆน่ะคือแค่เรียนแค่พื้นๆหรือเปล่า​ แค่กิริยามันก้ผันได้เป็นสิบแบบแล้วตัวเดียว​ ลองเรียนให้ได้​ถึงระดับเกินกว่าN3เดี๋ยวก็รู้ว่าญี่ปุ่นไม่ง่ายเลยติดระดับ1ใน5ภาษาที่ยากที่สุดในโลกนะญี่ปุ่นเนี่ย​

    • @fbi4734
      @fbi4734 3 года назад

      @@marketplacegurun4547 ใช่ครับแต่ไทยถ้าเอาจริงๆยากกว่าหลายเท่าเลยเพราะคุณคิดดูนะครับอะไรยังเป็นภาษาไทยจริงๆอยู่มั่งผมหมายถึงคำที่ไอคนไทยมันคิดกันเองแล้วพูดจนลืมภาษาหลักถามว่าซีเรียสอะไรตอบเลยที่ชาวต่างชาติมันใช้ไม่ได้ไงส่วนคนญี่ปุ่นหรือประเทศอื่นที่มาเรียนไทยมันยากตั้งแต่เริ่มแรกเลยไม่ต้องไล่ละดับครับส่วนอันนั้นของjpผมยังพอเข้าใจอยู่เเม้แต่คันจิก็ยังพอไหวแต่ไทยยอมครับเรียนเเล้วไม่ได้ประโยชน์เลยเพราะเดี๋ยวคำมันก็เปลี่ยนามยุกต์์ครับเดี๋ยวรู้เลยในอนาคต​

  • @wittawusintasena9995
    @wittawusintasena9995 3 года назад

    ทุกภาษามีความยากที่ต่างกันออกไป ภาษาไทยมีวรรณยุกต์ทำให้ออกเสียงยาก ภาษาญี่ปุ่นจะยากจากหลักการการใช้และตัวอักษร

  • @pongpojakkraseranee2113
    @pongpojakkraseranee2113 3 года назад +1

    ผมก็เรียนภาษาญี่ปุ่นมาได้สักระยะนึงแล้วครับ สู้ๆเช่นกันนะครับ minasang gumpata ne'

  • @theprommersr1024
    @theprommersr1024 3 года назад

    จริงๆ แล้ว ตอนนาทีที่ 3:40 ควรใช้คำว่า "การออกเสียง" (Pronunciation) มากกว่า การใช้คำว่า "วรรณยุกต์" นะครับ เพราะว่า ภาษาญี่ปุ่นไม่มีวรรณยุกต์(Tone Mark) เหมือนกับภาษาไทย ถ้าคนญี่ปุ่นมาดูก็อาจจะงงได้ว่า "วรรณยุกต์" มันแปลว่าอะไร

  • @wakariorizu3447
    @wakariorizu3447 3 года назад

    เราว่าพอๆกันแล้วแต่มุมมองคน ส่วนใหญ่เราชินกับภาษาตัวเองเพราะเรียนมาตั้งแต่เด็ก รวมถึงได้ใช้ในชีวิตประจำวัน ทำให้เราเข้าใจมันได้โดยหลักการไม่ค่อยเยอะอ่ะ (เพราะทุกวันนี้ไอพวกคำสันธาน คำบุพบท คำซ้อนคืออะไรเราก็ยังงงๆอยู่ แต่เราก็ใช้มันถูก คือเรารู้แค่ว่าคำไหนควรใช้ยังไง ก็เราเคยใช้มาและเคยเจอมานานอ่ะนะ) อันนี้คือเนื้อความหลัก
    ต่อไปคือน้ำ + ระบายความในใจ
    แต่ถ้าเอาจริงๆรวมๆไทยยากหนักๆเลยตรง ออกเสียง เพราะเสียงเยอะมาก ตัวสะกดอีก ซึ่งบางทีต่างชาติไม่มี (ถึงแม้จะเป็นข้อดีของภาษาไทยที่ทำให้คนไทยออกเสียงภาษาอื่นได้ค่อนข้างไวเพราะ มันมีครบ) ยากอีกอย่างคือ ภาษาวิบัติเยอะมากก ก็ถ้าต่างชาติเจอน่าจะงงๆ เราไม่แน่ใจว่าต่างชาติมีเยอะมั้ยนะ ไหนจะ ภาษาเขียน ภาษาพูดหรือทางการ ไม่ทางการ (ประเทศอื่นเรารู้แค่ว่า ส่วนใหญ่จะมีอย่างใดอย่างหนึ่ง ย้ำที่เรารู้) คำราชาศัพท์กับคำสงฆ์อีกคือเยอะะมากก (ถึงแม้จะไม่ค่อยได้ใช้) ส่วนภาษาญี่ปุ่นก็จะเป็นคันจิแหละนะหลักๆที่ยากสุดๆเพราะเยอะเกิน+ไวยากรณ์กับการผันตามเวลาซึ่งไทยไม่มี ส่วนใหญ่จะเป็นคำบ่งบอกเวลาเลย เช่น เมื่อวานนี้ วันก่อน เมื่อกี้ พรุ่งนี้ วันนั้น มะรืน แต่ไม่มีผันกริยา หรือผันอะไรเหมือนประเทศอื่นหลายๆประเทศ (ขอบคุณนะที่ไม่มีผัน) จะมีคนอ่านของเราจบมั้ยเนี่ย

  • @vvsakaki2161
    @vvsakaki2161 3 года назад +1

    เรื่องคำพ้องเสียงญี่ปุ่นเยอะกว่าไทยอีก
    สุดท้ายก็ดูที่บริบทเหมือนกัน (เวลาคุย)

  • @ShimurashinpachiTH
    @ShimurashinpachiTH 3 года назад

    ส่วนตัวคิดว่าไทยยากกว่าจากการทำคลุกคลีกับการแปล พูดไงดีภาษาอื่นมันค่อนข้างมีแืืเทิน แต่การใช้คำของบ้านเรามันเป็นึวามรู้สึกล้วนๆอะิแบบรู้สึกว่าสถานการณ์นี้มันต้องคำนี้สิ แล้วคำหบายอย่างไม่มีคงามหมายสากลแต่คนไทยฟัฃกันเองเก็ตจากการเล่นเสียงบ้าบอกัน แบบมันรู้โดยสัญชาตญาณอะ

  • @neoflynow1130
    @neoflynow1130 3 года назад

    ภาษาญี่ปุ่นคล้ายกับภาษากะเหรี่ยง
    ตรงที่ ไม่มีตัวสะกดท้ายคำ
    ไม่เน้นตัวสะกดท้ายคำ
    เช่น ปะกากะยอ vs kudamono
    แต่ภาษาคำไทยแท้ จะมีตัวสะกดมากหลายแบบ
    เช่น กิน บิน หิน คม ลม อม
    กด จด รด รถ รส
    อาบ คาบ หาบ
    เป็นต้น

  • @งอลคุณแม่ฟูกะ

    ชอบภาษาญี่ปุ่นมากค่ะ
    มีความฝันไว้ว่าอยากจะเป็นเด็กแลกเปลี่ยนไปเรียนที่ประเทศญี่ปุ่น
    私は日本語が大好きで、交換留学生になりたいという夢があります

  • @mslau953
    @mslau953 3 года назад

    คุนพูดภาษาไทยเก่งจังเลยเยี่ยมมากๆ

  • @patsaweethaiteerasathien1813
    @patsaweethaiteerasathien1813 3 года назад +2

    สู้ๆน้าพายุ เก่งมากๆแล้วว

  • @narongratchsapphathaweeboo6106
    @narongratchsapphathaweeboo6106 3 года назад +1

    ผมเข้าใจแล้วครับ ทําไมเสียงภาษาญี่ปุ่นทิ้งตัวคันจิไม่ได้ เพราะไม่มีตัวสะกดนอกจากเสียง ん ผมมองว่า คันจิคือตัวช่วยให้เรียนญี่ปุ่นเข้าใจมากขึ้นครับ 私は漢字が好きです。

  • @dorotee111
    @dorotee111 3 года назад

    คิดว่าทุกภาษา จะมีความยาก คนละแบบ แล้วแต่ใครจะมีทักษะ ในการออกเสียงที่ดี เห็นในยูทูป คนญี่ปุ่นบางคน พูดไทยไม่ค่อยได้ แต่พูดสำเนียงไทยชัดมาก บางคนพูดไทยได้เยอะ แต่สำเนียงไม่ค่อยดี 😊😉

  • @byubyuu.2339
    @byubyuu.2339 3 года назад +1

    เคยเรียนจีนมาก่อน ไม่นานมานี้พึ่งมาสนใจภาษาญี่ปุ่นเพราะอยากดูอนิเมะแบบไม่อ่านซับ สรุปคือยากมาก ยากกว่าจีน10เท่า แต่ก็ทำไงได้นะ มันหลงไปแล้ว😂 ... เวลาท้อๆหน่อย พอคิดถึงภูเขา ทะเล ทุ่งนา วิถีชีวิต วัฒนธรรมของญี่ปุ่นทีไร มันก็ถอยไม่ได้แล้ว เดินหน้าเท่านั้น!!!❤️❤️❤️

    • @ภาษาไทยของพายุ
      @ภาษาไทยของพายุ  3 года назад

      ขอบคุณมากครับที่ชอบญี่ปุ่นขนาดนั้น ขอให้ภาษาญี่ปุ่นของคุณเก่งขึ้นนะครับ😎😎😎

  • @nutsur
    @nutsur 3 года назад

    ความยากขอการเรียนภาษาต่างๆขึ้นอยู่กับภาษาแม่ของเรา(และภาษาที่เรารู้) สำหรับคนไทย ภาษาลาวและภาษาเขมรใกล้เคียงกับภาษาไทยจึงง่าย สำหรับคนญี่ปุ่นภาษาเกาหลีที่มีแกรมม่าและคำศัพท์ที่รับมาจากจีนจึงง่าย ส่วนภาษาจีนก็มีภาษาเขียนและคำศัพท์ที่เหมือนกัน
    ความยากขอภาษาญี่ปุ่นอีกอย่างคือมีคำศัพท์ที่มีการผสมคำศัพท์ญี่ปุ่นและคำศัพท์จีน ทำให้หลายๆอย่างมีวีธีพูดอย่างน้อย2อย่าง อีกไม่นานก็คงจะรับคำศัพท์ภาษาอังกฤษอีก 555
    เพราะฉนั้นถ้าหากเราประสบความสำเร็จภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆที่ไม่มีความคล้ายกับภาษาของเรา ไม่ได้หมายความว่าเราไม่เก่งครับ
    語学難度は母国語(または知ってる言語)によって違ってると思います。 タイ人の場合はラオス語とカンボジア語が似てるから簡単だと思います。 日本人の場合は韓国語が文法と中国語の外来語が一緒で、中国語なら漢字と単語一緒です。そういうことでどっちも難しいです。
    日本語のもう一つの難しいところは中国外来語と元々日本語混ざってるから、一つのこと色な言い方があるというところです。
    例:新しい車=新車
    意味一緒なのに、発音が全然違うので、同じ意味と聞こえないです。そろそろニューカー(new car)でも言うんですかね。笑

  • @65181026
    @65181026 3 года назад +3

    ภาษาไทยง่ายสุดละม้าง จีน เกาหลี ญี่ปุ่น​ยาก

  • @Ohgodmail
    @Ohgodmail 3 года назад

    เรื่องเวลา ต้องไปดูประวัติ ความเป็นมาสักหน่อยจะเข้าใจ

  • @Aui_in_Japan_Channel
    @Aui_in_Japan_Channel 3 года назад

    เรา มีปัญหาการออกเสียง ตัว つ และ す
    // และอีก 1 อย่าง ภาษาญี่ปุ่นไม่มีรูปวรรณยุกต์ แต่มีเสียงวรรณยุกต์ อาทิเช่น
    はしที่แปลว่าตะเกียบ และはしที่แปลว่าสะพาน / เราได้ยิน คนญี่ปุ่นออกเสียง ตะเกียบเป็น “ฮา-ชิ” /ส่วนสะพานออกเสียงเป็น “ฮ้า- ฉิ่”// คือมีเสียงวรรณยุกต์แหละแต่ไม่มีรูป ต้องจำเอง ว่าคำไหนใช้เสียงสูงหรือเสียงต่ำ

  • @MrKiNgJSA
    @MrKiNgJSA 3 года назад

    ภาษาไทยสำหรับคนไทยจะเริ่มโคตรยากเมื่อมีภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร ราชาศัพท์เข้ามาเกี่ยวข้อง

  • @YU-iy2bx
    @YU-iy2bx 3 года назад

    สำหรับผมยากทั้งคู่ครับญี่ปุ่นการใช้คำพูดในแต่ละสถานที่สำคัญมาก ไทยส่วนตัวผมคิดว่าคนไทยไม่ค่อยใช้คำพูดตรงแต่จะชอบอุปมา มากกว่า เช่น คำว่าช้า คนไทยใช้คำว่า เหมือนเต่าเลยอะไรแบบนี้ครับ

  • @snaperino4751
    @snaperino4751 3 года назад +2

    เริ่มรักภาษาอังกฤษเลย ตั้งแต่เริ่มเรียนญี่ปุ่น

  • @zypetecm2155
    @zypetecm2155 3 года назад

    ถ้ารู้ที่มาของคำ น่าจะทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้น

  • @theprommersr1024
    @theprommersr1024 3 года назад

    จริงๆ ตัว ฎ กับ ฏ คือ
    เราเขียนแทบจะเหมือนกันทั้ง 2 ตัวเลย
    เพราะถ้าในเวลาจดงานแบบเร่งรีบ จด lecture
    มันจะดูคล้ายกันมาก

  • @MuuMi-h6z
    @MuuMi-h6z 3 года назад

    มีประโยชน์มากๆครับ😀😀😀

  • @golfscarnicfun6812
    @golfscarnicfun6812 3 года назад +1

    เรื่องภาษาไทย ถ้าเป็นแค่คำพูดและการพูดคุย มันจะยากแค่การออกเสียง สิ่งที่ยากจริงๆของภาษาไทยคือ คำเขียนและพิมพ์
    ในชีวิตประจำวันคนไทย พิมพ์และเขียนภาษาไทยผิดกันเยอะมาก รวมทั้งผมเองด้วยฮ่าๆๆ ถ้าสังเกตดีๆ คุณจะเห็นคำพิมพ์และเขียนที่ใช้ผิดคือคำว่า คะ ค่ะ ซึ่งคนไทยใช้ผิดกันให้เห็นบ่อยๆ

  • @Evanessa9
    @Evanessa9 3 года назад

    คิดว่ายากคนละแบบนะ
    ภาษาญี่ปุ่นยากที่ไวยากรณ์และการเขียน แต่การออกเสียงง่าย
    ภาษาไทยยากที่การสะกดคำ/การเขียน การออกเสียง (ในกรณีที่ภาษาแม่ของคนเรียนภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงไม่เยอะและไม่มีเสียงวรรณยุกต์ ก็น่าจะต้องใช้เวลาฝึกออกเสียงภาษาไทยพอสมควร) แต่ไทยจะง่ายเรื่องไวยากรณ์ การแต่งประโยค

  • @tamamo4528
    @tamamo4528 3 года назад

    ญี่ปุ่นก็ ออกเสียงเดียวกันคนละความหมายก็มี เวลาใช้ไม่งงเรอะ ที่มองว่าไทยยากผมว่าไม่ใช้แค่ศัพท์ การเรียงประโยคก็ต่างกันมาก

  • @pn2g362
    @pn2g362 3 года назад

    พูดเหมือนกันแต่ความหมายไม่เหมือนกัน
    พูดต่างกันแต่ความหมายเหมือนกัน
    เว้นวรรคผิดความหมายเปลี่ยนไปคนละแบบ เช่น
    "ยาขนานนี้ กินแล้วร่างกายแข็งแรง ไม่มีโรคเบียดเบียน"
    "ยาขนานนี้กินแล้วร่างกายแข็ง แรงไม่มี โรคเบียดเบียน"
    "เพื่อนพี่ไม่มา นั่งเลยน้อง"
    "เพื่อนพี่ไม่มานั่งเลยน้อง"
    "ได้เวลาพัก ไปดื่มน้ำ ปัสสาวะได้"
    "ได้เวลาพัก ไปดื่มน้ำปัสสาวะได้"
    คำที่ใช้เสียงเดียวกันถ้าเป็นเขียนหรือพิมพ์จะรู้ทันที่ แต่การพูดต้องดูประโยคโดยรวม เช่น
    ไส ใส ไสย
    จันทร์ จันทน์
    กรรม กำ
    ทำ ธรรม
    ตอนนี้ผมกำลังเรี่มเรียนญี่ปุ่นอยู่เลยครับ

    • @pn2g362
      @pn2g362 3 года назад

      เพิ่มอีกคำคือ เกาะ กับ เกาะ

  • @thanrapolpurahong8548
    @thanrapolpurahong8548 2 года назад

    ญี่ปุ่นของผมที่เรียนอยู่เรียนมาเกือบ1ปีล่ะครับฟังพูดพอได้เเต่อ่านเขียนยังไม่ได้เลย อ่านเขียนยากจริงยากเเบบยากมาก

  • @eben7419
    @eben7419 3 года назад

    เปรียบเทียบได้เห็นภาพชัดเจนดีครับ

  • @nutchapanichawong1988
    @nutchapanichawong1988 3 года назад

    ภาษาไทยนั้นยากตรงที่มีความไม่แน่นอนในภาษาเยอะ แต่ก็ทำให้ภาษาลื่นไหลและมีเสน่ห์ดีนะครับ
    ส่วนภาษาญี่ปุ่น ผมมองว่าการมีความละเอียดอ่อนในภาษาเยอะ ๆ ก็ทำให้ภาษาวิจิตรงดงามมากครับ
    ถ้าเป็นไปได้ก็อยากศึกษาภาษาญี่ปุ่นให้แตกฉานเหมือนกันแต่พอทำงานแล้วก็เหลือเวลาน้อยลงจนลำบากใจเลยครับ
    นอกจากประเด็นหลักเกี่ยวกับคลิปนี้ ผมชอบวิธีการแสดงอารมณ์ของคุณพายุในหลาย ๆ คลิปมากเลยล่ะครับ
    ฟังแล้วรู้สึกว่าเป็นลักษณะของคนญี่ปุ่นมากจริง ๆ

    • @ภาษาไทยของพายุ
      @ภาษาไทยของพายุ  3 года назад

      ขอบคุณมากครับ การแสดงอารมณ์ของผมเป็นแบบไหนครับ อยากรู้555

    • @nutchapanichawong1988
      @nutchapanichawong1988 3 года назад

      @@ภาษาไทยของพายุ อย่างเช่น เวลาคนไทยพูดว่า เอ๋ อาจจะแค่ทำตาโตเฉย ๆ แต่คนญ๊่ปุ่นเวลาพูดว่า เอ๋ จะทั้งตาโต ขยับไหล่ แล้วก็มือไม้ขยับไปด้วย อะไรแบบนี้น่ะครับ

  • @bru2176
    @bru2176 3 года назад

    ไทยถ้าเป็นการออกเสียงไม่ยากครับ แต่ถ้าเป็นการจำตัวอักษรอาจจะยากสำหรับคนต่างชาติ ใช้ลักษณะการออกเสียงของพยัญชนะวรรค ถ้าจำกลุ่มพยัญชนะวรรคได้ ก็จะแยกตัวอักษรได้ง่ายขึ้นครับ อักษรซ้ำเสียงกัน เช่น ส ษ ศ หรือ น ณ ฯลฯ ก็จะแยกใช้ในแต่ละบริบทครับ แรกๆใช้ผิด บ่อยๆก็ถูกเองครับ คนไทยเองยังใช้ผิดกันเลยสำหรับตัวอักษรในคำๆนั้น

  • @dejs6509
    @dejs6509 3 года назад +1

    คำว่า 'เสียดาย' ในภาษาญี่ปุ่นยังมีหลายคำและรูปแบบการใช้งานก็แตกต่างกัน แต่ในภาษาไทย ก็คือเสียดาย 😅😅😅 แต่ก็จะพยายามหาความรู้ภาษาญี่ปุ่นอยู่ตลอด เพราะวัฒนธรรมญี่ปุ่นคล้ายๆกับไทยหลายอย่าง และความเฟรนลี่ของเพื่อนที่เป็นญี่ปุ่นดูมีคุณค่ากับชีวิตจริงๆ

  • @IOXDG
    @IOXDG 3 года назад +1

    ดูแล้วสนุกมากครับ😊

  • @nextgenloveya6909
    @nextgenloveya6909 8 месяцев назад

    ไวยากรณ์ญี่ปุ่นเยอะมากกกกกก ไม่ต้องพูดถึงคันจิกับศัพท์นะ 5555 N5 N4 ก็แทบลากเลือดแล้วจ้า😅😅

  • @popup5393
    @popup5393 3 года назад

    ผมว่าภาษาไทยมันยากจริงๆ (สำหรับชาติอื่น) มีหลายระดับ หลายหลักการ เขียนยาก พูดง่ายแต่พูดให้ถูกต้องน่าฟังยาก เขียนไม่ต้องพูดถึงถ้าไม่ใช่คนไทยหรือคนที่เรียนมานานๆ ไม่สามารถเขียนให้ถูกเต็มหนึ่งหน้ากระดาษเเน่นอน.

  • @noeytiddd
    @noeytiddd 3 года назад

    น่ารักมากเลยค่ะ ขอบคุณสำหรับกำลังใจนะคะ อยากเป็นเพื่อนกับพี่พายุมากๆเลย

  • @jamesko_0019
    @jamesko_0019 3 года назад +1

    ยากหมดแหละแต่ไม่เกินความพยายามหรอกถึงจะขี้เกียจเรียนก็เถอะแต่ก็จะอดทนและจะสนุกไปกับมันจะต้องเก่งญี่ปุ่นให้ได้เลย

  • @winryugame5769
    @winryugame5769 3 года назад +3

    1:36

  • @moribundpng
    @moribundpng 3 года назад +1

    ญี่ปุ่นหลายอย่างมากกกกกกกกก โดยเฉพาะอักษร !!! เยอะไปไหน ทั้งคันจิบลาๆ แงงงงง 3:18
    แต่ออกเสียงง่ายอยู่ แต่คำคล้ายก็พูดยากอ่าาาาาามันต่างกันไง55555
    แต่ไทยคือ จำ การันต์ จับ ท ต ตัวสะกด เห็นเขาบอกว่า ออกเสียงยาก
    สรุปยากทุกภาษา55555555

  • @icesujira8739
    @icesujira8739 3 года назад +5

    ภาษาญี่ปุ่นยากกว่าภาษาไทยค่ะ เพราะว่าภาษาญี่ปุ่นมีตัวคันจิที่เยอะมาก และคันจิบางตัวก็ออกเสียงเหมือนกันเเต่เขียนไม่เหมือนกัน ทำให้สับสนมากๆค่ะ อีกอย่างเลยคือไวยากรณ์ แทบจะกรี๊ดเลยล่ะค่ะ เพราะต้องจำเยอะมาก;-;

  • @huhuhaha2298
    @huhuhaha2298 3 года назад

    กระทรวงการศึกษาธิการของญี่ปุ่นกำหนดตัวคันจิมาตรฐานไว้ 1,945 ตัว ที่ใช้บ่อย อืม...น่าจะ คงงั้นเเหละ ถ้าจำไม่ผิด เคยอ่านในหนังสือ

  • @อภิมงคลโชติอัครนิตย์

    ทำไมบ้านผลนับเวลาใช้ตีหมด บ่ต้องบอกด้วยนะว่ากลางวันกลางคืน เช่นตี 12 ถ้าไม่พูดเวลาก็ จะเป็นเที่ยงคืน หรือเที่ยงวัน

  • @lucuslaphis447
    @lucuslaphis447 3 года назад

    เรียนญี่ปุ่น​นอกจากคันจิแล้วgrammaญี่ปุ่น​คือหอกเหวมากกกกน้ำตาไหลใช้ผิดบ่อยๆ

  • @บุดสีคงทน
    @บุดสีคงทน 2 года назад

    สวัสดีครับเป็นกำลังใจให้ครับ

  • @toeysa.1607
    @toeysa.1607 3 года назад +2

    เราว่าภาษาญี่ปุ่นศัพท์เยอะ ส่วนภาษาไทยออกเสียงค่อนข้างยาก

  • @saruyapongtaduk7903
    @saruyapongtaduk7903 3 года назад +1

    สำหรับผมนะคิดว่าไทยยากกว่าเพราะในเรื่องการผันเสียงการอะไรอีกก็ไม่รู้​ แต่ก็ไม่ใช่ว่าภาษาญี่ปุ่น​มันง่ายภาษาญี่ปุ่น​ก็ยากเหมือนกัน

    • @shougokusano5876
      @shougokusano5876 3 года назад

      เราชอบอ่าน ดอย เป็นดอยคำตลอด 55+ มันจะยากตรงที่ไม่มีวรรณยุกต์แล้วอ่านเสียงวรรณยุกต์นั่นแหละ เช่น ขนาน อ่านว่า ขะ-หนาน แต่สำหรับเราปกติแล้ว คือยากตรงทับศัพท์ แค่นั้นแหละ

  • @sanandarathassnee8043
    @sanandarathassnee8043 Год назад

    にほんごのとてもむすかしい。😢😢😢😢
    いま広島に日本語のべんきょうしています。