nattawornp 20kw=20,000wครับ หลอดไฟ1หลอด60w แอร์ประมาณ800-1500watt แต่ตัวเลขพี่เขาออกมาเป็น DC400Volt =2000วัต ก้อยังงงนะDC volts to watts calculation formulaThe power P in watts (W) is equal to the voltage V in volts (V), times the current I in amps (A):P(W) = V(V) × I(A)AC single phase volts to watts calculation formulaThe power P in watts (W) is equal to the power factor PF times the phase current I in amps (A), times the RMS voltage V in volts (V):P(W) = PF × I(A) × V(V)
ถ้าผมจะพูดว่า เครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าพลังแรงโน้มถ่วงจะผิดไหมนิ ^^ ถ้าไปประยุคไช้กับตึกสูงหรือโรงงานที่ปล่อยของเหลวจากที่สูงเช่นพวกหล่อเย็น น่าจะ work นะ เป็นการเก็บพลังงานศักย์กลับมาใช้ไหม่ Good Good
So once the pool up top is empty, how does it get filled? Certainly not by this generator! It is an impressive build but it cannot run on its own. Somehow the pool needs to be filled when it is empty.
Ребята-видно что двигатель на насос гдето до 2квт рядом синяя труба идущая на верх.А генератор ват до 0.8--1квт.Генератор на 10-20квт имеет гдето вес 190-350кг.Передвижение тяги 2 тоны на 1 метр за 1 сек.это 20квт.
ทฤษฎีนี้ใช้ได้จริง ผมยืนยันได้เลย เดี๋ยวต่อยอดตามครับ ขอบคุณสำหรับความรู้ที่มีประโยชน์
Здравствуйте! Вы лично видели это устройство?
ออกแบบได้เยี่ยมมาก สมเหตุสมผลในการทำงานแบบหมุนเวียนพลังงาน แต่ต้องดูรายละเอียดว่าจะมีพลังงานส่วนเกินเพียงพอมากแค่ไหนมามองภาพรวมแล้วน่าทึ่งมาก ไม่ง่ายนะครับกว่าจะได้ขนาดนี้ ส่วนตัวก็พัฒนาเรื่องพลังงานไฟฟ้าฟรีอยู่เหมือนกันนี่ก็เข้าดูซ้ำ ดูครั้งแรกนานละจนมีนวัตกรรมส่วนตัวหลายรายการ แต่ที่ เข้าท่าที่สุดคือไฟฟ้าฟรีไร้แบตเตอรี่ ขนาดเล็กที่สุดเท่าที่เคยมีมาแต่ให้พลังงานมากที่สุดและพัฒนาจนกระทั่ง ไม่มีกลไกใดใดเคลื่อนไหวเลย นวัตกรรมที่ค้นพบมิใช่เรื่องยากแต่ความยาก อยู่ที่ต้องทำไว้ใช้ในโลกส่วนตัวครับ
ใช้ในโลกส่วนตัวคือยังไงหรอครับ
ไม่ทำขายครับ เรื่องใหญ่ปัญหาเยอะแยะมากมาย ที่สำคัญคือไม่มีใครยอมรับว่าเป็นไปได้จริง ถ้าจริงก็จะกลายเป็นความขัดแย้งกับกลุ่มทุนผูกขาดพลังงานฟอสซิลหรือ พลังงานที่ยังพึ่งพาแบตเตอรี่ครับ
ผมก็ดูคลิปพี่นี่ล่ะ ลองทำบ้าง แต่ใช้ไฟจากแผงโซล่าเซลล์...ผ่านมา 2 ปี กว่า ๆ ล่ะใช้ไฟฟ้าผลิตเอง...ไฟหลวงไม่ได้ใช้ 2 ปี กว่า....ได้นอนแอร์ทุกวันเลย.....ลงทุนไป 4-5 แสน.....ชีวิตที่เหลือก็ใช้ไฟฟ้าผลิตเอง ใช้เองครับ....ผมทำใช้ ระบบHVDC/240 ระบบ96v ระบบ48v ทุกระบบ บวก กริด ไท 24 ชม.
คุณคือคนที่ประสบความสำเร็จเพราะ ไม่ต้องเสียวิจารผลงานคนอื่น ยอดเยี่ยมมากครับ
ผมเป็นกำลังใจให้นะครับ พี่โลกเราการคนแบบพี่ ที่คิดให้ ใครจะว่าพี่ช่างเค้าครับ สู้ๆครับ
เป็นประโยชน์มากเลยครับ
หลายท่านจะมองแค่การเปลี่ยนแปลงพลังงานในทางตรง พลังงานทางตรงที่ว่าคือพลังงานไฟฟ้าที่มอเตอร์ปั้มน้ำใช้ไป จะมีการสูญเสียพลังงานไปในส่วนของแรงเสียดทานไม่ว่าจะเป็นในท่อและการเคลื่อนไหวตลอดจนความร้อน-เย็น หากคิดในส่วนนี้พลังงานที่ใช้ไป เข้า-ออกจะหายไปแน่นอน เพราะเป็นการวัดค่าประสิทธิภาพทางกลศาสตร์อย่างเดียว Input>output คือมองกันแบบความเคยชินและจากการวัดค่าของเครื่องมือที่ีบอกได้แค่ตัวเลขในช่วงขณะนั้นๆ อันที่จริงแล้วสสารไม่ได้หายไปไหนเป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงจากสิ่งหนึ่งไปเป็นรูปพลังงาน แต่ลืมไปว่าพลังงานที่อยู่ในกระบวนการทดสอบที่นี้ยังมีอีกคือพลังงานภายนอกอันเกิดจากแรงดึงดูดที่ถูกสะสมไว้กับน้ำออกไปรวมกันมากขึ้นเป็นพลังงานกลขับเจนเนอเรเตอร์แล้วเปลี่ยนรูปแบบไปเป็นพลังงานไฟฟ้าเอซีหรือดีซีก็แล้วแต่ล้วนแต่จะเกิดความสูญเสียในกระบวนการทุกขั้นตอน็เพราะจากการวัดด้วยเครื่องมือวัดที่เห็นได้ด้วยตัวเลข ถึงตอนนี้บางท่านอาจจะแย้งว่าพลังงานจากการสูบน้ำก็ได้น้ำเท่ากันกับที่ตกลงมายังไๆก็หายไป แต่ให้มองย้อนกลับไปที่ฝั่งการเก็บพลังงานคือฝั่งถาดที่เก้บน้ำเขาจะมีเวลาและระยะการปล่อยพลังงานที่ยาวกว่าและสะสมก่อนการปล่อยพลังงานออกมา นั่นจะเป็นการอธิบายผลของการทดลองนี้ หลายอย่างของนวัตกรรมที่จะต้องลองผิดลองถูก การปฏิเสธทุกอย่างเพราะจับเอาแค่ทฤษฎีมาเป็นข้อกำหนดหลักและเชื่อความถูกต้องของทฤษฎีตั้งต้นไว้ก่อนแล้ว นวัตรกรรมจะเกิดต่อได้ยาก ขอให้มีคนคิดและทำขึ้นมาเถอะจะขอคารวะด้วยกายใจ ไม่อย่างนั้นโลกเราจะยังไม่มีเครื่องยนต์กลไกที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นจากเมื่อก่อน หลายๆคนอาจจะยังไม่รู้จักเครื่องยนต์ที่มีประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนพลังงานที่สูญเสียน้อยลง เครื่องยนต์เทอร์โบชารจเจอร์ หลอดแอลอีดี ฮีทเอ็กซ์เชนเจอร์ เครื่องตะบันน้ำ และฟิสิคส์ควันตั้มที่อธิบายไม่รู้จบครับ
พลังงานไฟฟ้าที่ดูดน้ำขึ้นไปจะมากกว่าพลังงานไฟฟ้าที่เครื่องผลิตได้เสมอ ถ้าค่าไฟราคาเท่ากันทั้งวัน ยิ่งทำยิ่งขาดทุนครับ ยกเว้นบางกรณีเช่นโรงผลิตไฟฟ้าในบางเขื่อน เขาจะสูบน้ำตอนกลางคืนที่คนใช้ไฟน้อยไปเก็บไว้บนเขา พอตอนกลางวันคนใช้ไฟเยอะก็จะปล่อยน้ำมาปั่นเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
สิ่งที่เค้าคิดคือเวลาดูดน้ำขึ้นไปเป็นแนวท่อใช้พื้นที่น้อยและแคบแรงดึงดูดจะน้อยเวลาน้ำตกลงมาใช้พื้นที่กว้างกว่าแรงดึงดูดต่อมวลจะมากขึ้นถ้าพูดถึงการทดเฟืองทำให้แกนหมุนเคลื่อนผ่านแม่เหล็กแล้วถ้าได้ e- มากขึ้นก็ได้พลังงานมากขึ้นอยู่ดีครับ ให้นึกถึงหลักการไฮดรอหลิคก็ได้ครับเรื่องแรงกระทำต่อพื้นที่ แต่นี่มันเป็นพื้นที่แรงโน้มถ่วงแทน 😊😊😊
ดูยังไงมันก็ขัดกับหลักเทอร์โมไดนามิกส์ ไม่มีทางที่พลังงานที่ output จะมากกว่า input
m-seed soloaof ผมก็ว่านะครับที่ดูจากคลิปมันขัดกันเห็นๆเลยครับผมไม่ค่อยเชื่อเท่าไรเหรอครับ
ช่วยอธิบาย กฏโมไดนามิกส์ ข้อให้ฟังหน่อย ผมความรู้น้อย วอนผู้รู้ตอบที
Oo Zero กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนิกส์ (กฏของเทอร์โมไดนามิกส์มีข้อที่ 0 - 3)
พลังงานสามารถเกิดการถ่ายโอนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้และเกิดการเปลี่ยนรูปได้แต่ไม่สามารถถูกสร้างขึ้นใหม่หรือถูกทําลายได้....... ก็คือถ้าคุณปั๊มน้ำขึ้นไปเพื่อใช้ขับกระพ้อ สมมติคุณต้องใช้ไฟ 1000 วัตต์ ในการปั๊มน้ำ น้ำทำให้เกิดพลังงานศักย์ เพื่อขับกระพ้อ กระพ้อขับ Generator เพื่อสร้างพลังงานไฟฟ้า ซึ่งพลังงานเปลี่ยนรูปไปมา......จากพลังงานไฟฟ้า ไปเป็นพลังงานศักย์ (ปั๊มน้ำขึ้นไป) พลังงานศักย์ไปเป็นพลังงานกล (น้ำมีน้ำหนักขับกระพ้อให้เคลื่อนที่ไปปั่นเครื่องกำเนิดไฟฟ้า) พลังงานกล เป็นไฟฟ้า (เครื่องกำเนิดไฟฟ้าให้พลังงานไฟฟ้า) .... ตามกฏแล้วมันเป็นไปไม่ได้ที่จะมีพลังงานออกมาจากระบบได้เกิน 1000 วัตต์ .... ดังนั้นคนที่รู้เรื่องนี้จะไม่เชื่อไว้ก่อน จนกว่าจะมีหลักฐานยืนยันทั้งระบบครับ
Oo Zero อันนี้ยังไม่รวมการสูญเสียที่จะเกิดขึ้นภายในระบบนะครับ ประสิทธิภาพ 70-80% (ไฟเข้าระบบ 1000 วัตต์ สร้างพลังงานไฟฟ้าได้ 700-800 วัตต์) นี่ก็จะถือว่าเป็นระบบที่ยอดเยี่ยมแล้ว (ไม่มีใส่ 100% ได้ 100% ครับ) และในทางปฏิบัติไม่มีใครเค้าทำกันครับ เอาพลังงานไฟฟ้ามาสร้างพลังงานไฟฟ้า .... มีแต่เอาถ่านหิน น้ำ ลม แสงอาทิตย์ คลื่นในทะเล นิวเคลียร์ นี่แหละครับที่จะนำมาสร้างพลังงานไฟฟ้าถึงจะคุ้มค่า
along risw ผมก็ไม่เชื่อว่ามันจะเป็นได้ตามที่ว่า ยิ่งผ่านอินเวอร์เตอร์มาอีก สูญเสียไปในอินเวอร์เตอร์อีก 30% ป้อนเข้ามา 2000W ออกจากอินเวอร์เตอร์ ได้ราว ๆ 1500W เต็มที่ ตอนนี้ยังไม่มีโหลดนะ แล้วถ้าเทคโหลดเข้าไป ก็ยิ่งสูญเสียพลังงานออกไปอีกในรูปของความร้อนจากตัวอินเวอร์เตอร์ และขณะขับโหลดเต็มที่ Gen จะหนืดมากขึ้น พอ Gen หนืด ก็ทำให้ พลังงานที่ใส่เข้าไป ต้องมากกว่า No-Load เป็นเท่าตัว ฉนั้น ระบบนี้ ประสิทธิภาพ น่าจะได้ 50%
สงสัยว่า แล้วพลังงานน้ำต้นทางมาจากไหนครับ
การจะยกน้ำขึ้นไปไว้ตรงถังสีฟ้า ต้องใช้พลังงาน แล้วน้ำตรงนั้นมาจากไหน
ปั้มขึ้นไปเอง (ใช้ไฟมากไม่คุ้ม ไฟที่เอามาใช้ขนน้ำขึ้นไปยังไงก็ต้องมากกว่าไฟที่ผลิตได้ตามหลักฟิสิกส์ปกติ)
หรือใช้แรงดันน้ำประปา
ถ้าใช้แรงดันน้ำประปา
1. เปลืองน้ำ
2. ถ้าทำตัวเดียวไม่เท่าไหร่ แต่ถ้าทำหลายตัว เท่ากับว่าLoadไปตกที่การปั้มน้ำจากโรงประปา ทางต้นทางต้องใช้ไฟมากขึ้นอีก
กาลักน้ำครับ ถ้านำไปพัฒนาต่อ หรือการถ่ายเทน้ำจากสูงไปต่ำ หากกรณีมีการใช้หลายตัวครับ ผมลองคิดๆตามคำถามครับ แฮะๆ
Sam Infinity ขนน้ำขึ้นที่สูงใช้กาลักน้ำไม่ได้หลอก กาลักน้ำต้องน้ำยุสูงกว่า
ขอตอบแทนนะครับเป็นไปได้ครับถ้าแรงบิดที่สร้างขึ้นถูกทดแรงด้วยเฟืองตัวใหญ่ไปขับแกนปั่นไฟที่เฟืองตัวเล็กกว่าย่อมให้พลังงานทีสูงกว่าและถ้านำพลังนี้ไปปั่นเจนเนอเรเตอก็จะได้ไฟฟ้าแรงสูงครับ ทีนี้ก็จะมีไฟฟ้าพอใช้ในการป๊มน้ำกลับขึ้นไปคืนเพื่อใหได้พลังงานต้นกลวนกลับซ้ำมาอีกครั้งได้ครับ ที่จะเสียไปก็มี น้ำที่จะระเหย รั่วซึมหก หายไปบ้างจึงต้องคอยเติมรักษาระดับ และการสึกหรอของชิ้นส่วนแค่นั้นเองครับ ขอด้วยนะครับผมไม่ได้แบบตามตำราหรือทฤษฎี ผมคิดตามประสพการณ์การเรียนรู้จริงตามนั้นครับ
ไปเรียนฟิสิกส์ใหม่นะ
"เราไม่สามารถทำไก่ย่างได้ถ้าเราไม่มีไก่ เรามีไก่หนึ่งกิโลเมื่อเราย่างสุกแล้วไม่มีทางที่ไก่ย่างจะหนักมากกว่าหนึ่งกิโล"
เข้าเรื่องเลยนะครับ กฏอนุรักษ์พลังงานก็เช่นกัน เราไม่สามารถสร้างพลังงานขึ้นมาเองได้ แต่พลังงานสามารถเปลี่ยนรูปแบบได้
การผลิตพลังงานในปัจจุบันเป็นเพียงการแปรรูปพลังงานให้อยู่ในสถานะพร้อมใช้งาน เราไม่ได้สร้างพลังงานขึ้นมาได้แต่อย่างใด
จากในข่าวถ้าเขาใช้ปั๊มสูบน้ำขึ้นไปแล้วปล่อยน้ำลงหมุนกังหัน แต่ไม่มีทางที่กังหันจะปั่นไฟออกมาได้เท่ากับไฟที่เราจ่ายให้เครื่องสูบน้ำ ต้องใช้น้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติถึงจะคุ้ม แต่มันก็ทำงานเหมือนเครื่องปั่นไฟทั่วไปแหละครับ
เค้าอาจจะใช้แผงโซล่าเซล ในการดูน้ำขึ้นไปก็ได้ อย่าเพิ่งด่วนสรุป ต้องไปดูของจริง
@@จุบุจุบุจุ๊บ-ฉ1ฮ
งั้นเอาโซล่าเซลล์ผลิตไฟเลยไม่ดีกว่าหรือไง?
@@Araqius ใช่ เปลืองพลังงานซ้ำซ้อน เอาแผงโซล่าเซลล์มาผลิตไฟไม่ดีกว่าหรอ
แต่ถ้าเอาแผงดูดน้ำเพื่อมาปั่นไฟ แล้วได้ไฟเยอะกว่าแผงที่ใช้ดูดน้ำ อันนี้สิคุ้มกว่า
ผมว่าก็น่าจะช่วยกันคิดพัฒนานะครับ การวิจารณ์ทางลบ ไม่สร้างสรรค์อะไร นักวิทยาศาสตร์ที่พัฒนาเทคโนโลยีทั้งหลาย จากหลอดไฟหลอดแรก จนมาถึงโลกทุกยุคปัจจุบันเค้าก็ยังไม่หยุดพัฒนานะครับ ก็เริ่มจากความคิดแบบนี้ แล้ว ก็ผ่านคำวิจารณ์ จากคนที่ไม่คิดจะทำอะไรแบบเดียวกันนี้ ยังไงผมก็เห็นว่าควรลองดู หรือเป็นเพราะคนไทยทำครับ หรือ เพราะเขาเรียนน้อย ถ้างั้น ผู้รู้ทั้งหลาย ที่มีความชำนาญ ช่วยสร้างทีเถอะ อย่าเอาแต่ความรู้ที่จำเขามา มาดูถูกคนที่คิดเรื่องสร้างสรรค์ เพื่อคนส่วนรวมเลยครับ ดีกว่าไม่ทำอะไร แล้วเอาแต่วิจารณ์นะ ช่วยกันทำให้มันสำเร็จเถอะ เห็นข้อเสียตรงไหน ก็พยายามช่วยกันปรับช่วยกันแก้ จะได้สำเร็จ
รบกวนไปทำข่าวใหม่ด้วย ชักแตกตื่นผิดๆกันใหญ่แล้ว เอาอาจารย์วิทย์สักคนไปพิสูจน์แบบใช้งานจริงๆให้เห็นชัดๆเลย จะได้จบ คนไทยอ่านข่าวโปรดค้นคว้าข้อมูลก่อนเชื่อ ก่อนแสดงความเห็น การศึกษาไทยตกต่ำจริงๆ ปราชญ์ชาวบ้าวมีเยอะผมยกย่องเสมอ แต่กรณีนี้ไม่ใช่ครับ
ใช้หลักการ พลังงานศัก พลังงานจลย์ อัตราทดรอบมูเล่ ไดนาโม การเกิดไฟฟ้า ......องค์ความรู้ล้วนครับ เก่งมาก
MrHotmia OhoOlan เสียดายครับ ขาด เทอโมไดนามิคไปอย่างครับ
MrHotmia OhoOlan เพิ่งเห็น คุณเป็นคนแรก ที่เข้าใจ และยอมรับ.
ใช่เลยครับ เขาคิดได้ดี มาก ๆ ตอนนี้ผมกำลัง รื้อฟื้น สมองเดิม ที่เคยคิดเรื่องนี้
เพื่อจะมาผสมผสาน กับ เครื่องนี้ ดัดแปลง เข้ากับ คอนเซป ที่ผมเคยคิดมาหลายสิบปีแล้ว, สุดยอดจริง ๆ ครับ
เอ่อผมเข้าใจนะครับที่เขาพยายามแต่การขาดบางอย่างไปมันทำให้ใช้การไม่ได้หรือไม่มีประโยชน์ครับ เหมือนทำข้าวผัดกระเพราแต่ลืมใส่กระเพราน่ะแหละครับต่อให้ผัดหมูอร่อยแค่ใหนมันก็ไม่ใช่อยู่ดี เหมือนของชิ้นนี้ ผมคิดว่าเก่งครับที่จบไม่สูงแต่สร้างได้แต่ถามว่ามีประโยชน์ไหม ก็เอาไว้ใช้ดูเล่นได้อย่างเดียวครับ
Sonthaya Traipak ถ้าคุณจะต่อยอดเครื่องนี้งั้นผมว่าคุณไม่เข้าใจแล้วล่ะครับ
เพราะตามหลักการแล้วมันไม่มีประโยชน์ ถ้าหากการคำณวนตัวเลขในอุดมคติยังไม่คุ้ม เอามาใช้จริงๆไม่มีทางคุ้มครับ
Lonk Last คุณ ลองคำนวณ ตัวเลข ของ ทุก ๆ ระบบ ของ ไฟฟ้า สิ ว่า เท่าไหร่ ต่อหน่วย ใช้งาน ( ณ. วันนี้ ถ้าไม่มี แผง โซลาร์ และ อุปกรณ์ ห่วย ๆ ของจีน ) คุณว่า จะเป็นราคา ต้นทุน / หน่วย เท่าไร ครับ.
ผมเพิ่ง พานัก ค้านไปชมมา เมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๔ พ.ค. ๒๕๕๘ นี่เอง ครับ
พี่แกอ่านได้400V ถ้าดูตามกราฟในชีทเสป็คตัวปั่นตัวนี้ ก็แสดงว่าหมุน480รอบ/นาที และได้ 1800w พอดีเลย ส่วนปั๊มน้ำคงไม่ใช่280w ตามที่แกพูดหรอกนะ ปั๊มหอยโข่งกะด้วยสายตาก็ขนาด 2นิ้วครึ่ง อาจเป็น2แรงม้า หรือ 3 แรงม้า (น่าจะถ่ายให้ดู) เห็นขนาดมอเตอร์แล้วสยองครับ
1 แรงม้าเท่ากับ 746 วัตต์ คำนวณกันเอาเอง วิธีทดสอบต้องต่อโหลด คืออุปกรณ์ไฟฟ้าให้ใช้งานจริง ซึ่งจะทำให้ตัวปั่นไฟฟืดขึ้นไปอีกจึงต้องเร่งปั๊มนั้าขึ้นอีก ถ้าใช้ปั๊มน้ำ2แรงม้า ระบบจะเดินได้สักพักแล้วก็หยุดไปดื้อๆ(น้ำไม่พอ) ต้อง3แรงม้าซึ่งจะกินไฟมากกว่าที่ได้ (ขาดทุน) www.ginlong.com/wind-turbine-pmg-pma-permanent-magnet-generator-alternator-GL-PMG-1800.htm
Parabéns por tirar do papel e tornar concreto seu projeto mas, como é feito a reposição de água, será que o processo gasta mais energia do que produz?
ไม่ขอออกความเห็นกับผลงานชิ้นนี้
..แต่ขอบอกว่าความคิดนอกกรอบและ การแหกกฎอนุรักษ์พลังงาน มีอยู่จริง
ที่สำคัญ เจ้าของผลงาน ต้องสามารถอธิบาย ถึง ช่องโหว่ หรือ จุดที่เกิดการได้เปรียบพลังงาน
โดยสามารถอธิบายตามหลักวิชาการที่มีอยู่
เท่านั้นยังไม่พอ ต้องมีผลงานให้เป็นที่ประจักษ์ สามารถพิสูจน์ได้
ถ้าสามารถทำได้อย่างนี้จึงจะได้รับการยอมรับ เป็นมาตรฐานสืบเนื่องต่อไป
ค่าไฟที่จะต้องจ่าย ถูกใช้ล่วงหน้าไปกับค่าอุปกรณ์ ไม่ว่าจะผลิตไฟฟ้าได้ มากเท่าไหร่ มูลค่าที่แท้จริง จะเกิดขึ้นหลังจากจุดคุ้มทุน คือวันที่เครื่องนี้ผลิตพลังงานไฟฟ้า ได้มูลค่าเท่ากับ ค่าอุปกรณ์ทั้งหมดที่เสียไป โดยที่ อุปกรณ์ต้องไม่เสื่อมสภาพเสียก่อน นี่คือสำหรับพื้นที่ ๆ ไฟฟ้าเข้าถึงนะ
แต่ถ้าเป็นพื้นที่ ห่างไกล แต่อยู่ใกล้แหล่งน้ำ การนำอุปกรณ์ไปวางในแม่น้ำ เพื่อให้แรงไหลของน้ำขับเคลื่อน มอเตอร์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า นำมาใช้ ก็เป็นทางออกที่ดี แต่ไม่ว่ายังไง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นกับ อุปกรณ์ มันก็คือค่าไฟฟ้า ล่วงหน้าเช่นกัน
จุดสำคัญจึงอยู่ที่ การลงทุนกับ การผลิตไฟฟ้ารูปแบบไหน ประหยัดทนทาน และคุ้มค่ามากกว่ากัน
Кто от Андрея? Кто из 19 ? лайкосик 👍👍👍
Можно ещё снять энергию с ковшей которые выливают воду, можно выливать на турбину и . ...!
@Denis Aksenov и крутить генератор
Мозг подключи, подумай.
Кто разбирается в языке , переведите пожалуйста.
@@lessssssss1 "Кан Энд изобрел гидроэнергетический генератор мощностью 20 кВт, который можно использовать для обеих свинокомплексов" - заголовок.
เยี่ยมครับ
ื
มันมี free energy อีกตัวน่าสนใจเหมือนกันนะครับ เอามาใช้รับรอง ไม่มีใครเถียงคุณได้เลย ... ยังไงคุณประดิษฐ์สิ่งของเก่งอยู่แล้ว อันนี้ชื่นชมครับ ลองไปดู magnet motor ดูนะครับน่าสนเหมือนกัน คุณไม่ต้องใช้ input ใด ๆ ทั้งสิ้น ... อาจจะ modify ปรับใช้นิดหน่อย.. เพราะโครงสร้างเดิมก็มีอยู่แล้ว
ระบบนี้ถ้าจะเอา output 20KW ด้วยภาพอุปกรณ์ที่เห็นในคลิปบอกเลยว่าไม่่น่าจะเวิร์คครับ แล้วปั๊มวนลูปที่เห็นชัดว่ามันก็ขัดกับกฏการอนุรักษ์พลังงานด้วย (Output จะไม่มมากไปกว่า Input)
รบกวนผู้สื่อข่าวตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้อง ก่อนนำเสนอนะครับ ไม่ใช่เขาบอกอะไรก็เออออตามเขาไปหมด อย่างนี้ให้น้อง 3 ขวบแถวบ้านไปสัมภาษณ์ก็ได้ คนแตกตื่นเข้าใจผิดกันหมด
ไม่อยากโทษคนทำเครื่องนะครับ เข้าใจว่าทำด้วยความตั้งใจและพยายาม แต่อาจยังขาดเรื่องข้อมูลเชิงทฤษฏี ยังไงก็อย่าเพิ่งท้อแท้ เป็นกำลังใจให้พัฒนาอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงๆ ขึ้นไปครับ
แบบนี้100℅ ใช้หลักการแรงโน้มถ่วงของโลก น้ำมีน้ำหนักจากหมุนช้า ได้น้ำทุกใบรับน้ำ สะสมๆ ช่วยดึงฉุดใบรับน้ำ ตามแรงโน้มถ่วงของโลก ได้ 30-50-70-100กิโลกรัม จึงมีกำลังบิดสูงเป็นมากๆ จากการสะสมน้ำใบรับน้ำแต่ละใบสะสมรวมกัน จึงเพียงพอไปต่อเกียรทดรอบเพื่อปั่นไดนาโม
หลักการนี้จะดีกว่า เอาน้ำแรงดันสูงที่ได้จากเขาลงมาฉีดใบพัดเพื่อให้หมุน ต้องแรงดันสูงจริงๆถึงจะหมุน แรงดันไม่สูง พอต่อโหลดกำลังตก
แต่คลิปนี้กำลังไม่ตกเพราะน้ำหนักเหมือนเราไปยืนข้างบนแล้วค่อยๆถ่วงลงมา น้ำหนักมีกำลังจึงไม่ตก
ผมว่าได้นะ ผมเรียนวิศวกรรมเมคาทรอนิกส์ มา พูดถึงเทอโม ไฟฟ้ากันเยอะเเล้ว ขอพูดด้านกลสาศตร์ เเรงซ้ายต้อง=ขวา ถ้ากังหังปกติเเรงซ้ายเท่ากับ ขวา เเต่นี้เเต่นี้ฝั่ง1 มีการทดเเรงมากกว่ากังหังปกติ เพือต้องการทอร์ค คิดคราวๆ น้ำน่าจะ200ลิตร คนเรียนเทอโมรู้ดีว่าน้ำหนักจะได้200กิโลกรัม * กับ9.81 *ระยะทาง(R) ประมาณ1เมตร เเรงทางกลจน่าจะเกิน 2000Nm (ทอร์ค ) จากNm เท่ากับW อันนี้เเรงทางกล
หลังจากทดเพือเอารอบ เเละไปขับเจน น่าจะได้เเรงทางไฟฟ้าประมาณ2000W ได้
ใช่ครับ ไม่ใช่แค่แรงจากปั้มน้ำอย่างเดียว แต่ใช่แรงโน้มถ่วงด้วย
น้ำลงมาด้วยแรงโน้มถ่วง แต่ต้องใช้พลังงานในการยกน้ำขึ้นไป อาจต้องลองคิดเรื่อง conservation of energy ตามกฏเทอร์โมฯ ดูนะครับ
ขนาดคนเรียนวิศวมายังบอกว่าได้ บ่งบอกถึงคุณภาพการศึกษาไทยจริงๆ นะครับ
ก็ว่าทำไมเขาถึงบอกว่าประเทศไทยขาดวิศวกรทั้งที่วิศวกรตกงานเยอะ
เพราะว่าที่ขาดคือวิศวกรที่มีคุณภาพ...
คุณรอบคอบมากที่ไม่บอกชื่อสถาบัน 555 เลยไม่ขายหน้า
very good how do we do if i want to buy it
เป็นกำลังใจให้ครับ อนาคตอาจมีใครสนใจนำแนวคิดไปศึกษาทดลองเพื่อต่อยอดจนสำเร็จครับ
สี่ร้อยกับสองร้อยสี่ร้อยเยอะกว่าเห็นๆๆคอมเม้นมามือไม่พายอย่าเอาเท้าราน้ำ..ช่วยให้กำลังใจคน...มีแนวคิดทำสิ่งที่ดีๆๆมีประโยชน์...
ใช้ได้จริงครับ ต่อยอดได้ สนับสนุนครับ
2019 ผมเข้ามาดูอีกที สรุปลวงโลกใช่ปะ ปี 2019 มีลุงโผล่มาอีกคนละ อ้างว่า เอามือปั่นไฟ 15 นาที สามารถใช้แอร์ใช้เครื่องทำน้ำอุ่นได้ทั้งวัน
ไม่ลวงหรอก มันคือเครื่องต้นแบบ ทุกวันนี้มีทั้งหม้อแปลง ทรานซิสเตอร์. มอสเฟส คาปาซิเตอร์ รีซิสเตอร์ ซีเนอร์ ไดโอท แปลงค่าได้เท่าทวีคูณ
ช่างกล -ทำหน้าที่หาเครื่องมือลดแรงเสียดทานเหมือนใช้เครนยกของหนักๆ
ช่างไฟ-คำนวนกระแสที่ได้
ช่างอีเลคโทนิค-แปลงค่าที่ได้ให้สูงขึ้นตามความต้องการ ผ่านอุปกรณ์อีเลคทอนิค ยกตัวอย่าง อินเวอร์เตอร์
@mmm nnn คุณต้องเข้าใจว่านี่คือเครื่องต้นแบบเป็นการจำลองสถานการณ์ พลังงานฟรียังมีอีกตั้งเยอะ ท่อระบายน้ำทิ้ง พลังงานลม คลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร พลังงานคลื่นจากทะเล คลองส่งน้ำประปา แม้กระทั่งเขื่อนใหญ่ๆ
@mmm nnn เครื่องผลิตไฟมี2ส่วน
1ไดนาโมคือตัวให้กำเนิดไฟฟ้า
2ตัวที่จะทำให้ไดนาโมหมุน/อาจจะเป็นเครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมันก๊าชธรรมชาต
อย่างตัวที่เห็นใช้พลังน้ำเพื่อให้ไปหมุนกังหันแล้วส่งต่อกำลังไปหมุนไดนาโมเพื่อให้เกิดไฟฟ้า
คุณเปลี่ยนจากที่ตอนนี้ติดตั้งอยุ่กับตัวชุดปั๊มน้ำที่สูบขึ้นไปด้านบนด้วยมอเตอร์ที่คุณพูดถึง โดยเอากังหันไปวางในคลองส่งน้ำประปาที่ไหลเร็วและแรง(น่าจะสัก20กม.ต่อชั่วโมง)เพื่อให้กังหันหมุนแล้วส่งกำลังไปหมุนตัวไดนาโมก็จะได้ไฟฟ้า ที่ได้พลังงานฟรีมาจากการไหลของน้ำในคลองส่งประปา โดยไม่ต้องใช้มอเตอร์สูบขึ้นไปด้านบน ที่เขาสูบขึ้นไปตอนนี้คือเขาจำลองสถานการณ์ให้ดูว่าขนาดน้ำที่ไหลเบาๆยังผลิตได้ไฟขนาดนี้
เคยไปชายทะเลไหม ลมตามชายหาดพัดแรงหมุนกังหันลมได้เร็วระดับดีทีเดียวก็เอาเครื่องนี้ไปติด แต่เปลี่ยนจากพลังน้ำในตัวอย่าง มาใช้กำลังลมเป็นเครื่องต้นแรงเพื่อส่งกำลังไปหมุนไดนาโม เห็นยังว่านี่ก็คือพลังงานฟรี
เข้าใจไหมว่านี่การสา่ธิตคือการจำลองเหตุการ
@mmm nnn อาจจะไม่ใหม่แต่เขาต้องการสื่อให้เห็นว่า เครื่องต้นกำลัง ที่พลังงานน้อยๆ แต่สามารถหมุนไดนาโมให้ได้ไฟฟ้าในกำลังที่สูง เหมาะกับกับกระแสน้ำแนวราบ แทนที่จะต้องสร้างเขื่อน และก็ใช้ในพื้นที่ที่กระแสลมไม่ต้องแรงมากเหมือนรุ่นก่อน
@mmm nnn ถ้าคิดแบบนั้นก็เป็นไปไม่ได้ แต่ถ้าคิดแบบ ใช้ตัวต้นกำลังที่แรงต่ำเพื่อไปหมุนไดนาโมโดยผ่านชุดทดกำลังเพื่อให้สามารถหมุดไดนาโมได้รอบสูงๆ อันนี้เป็นไปได้
8ปีแล้วตอนนี้พัฒนาถึงไหนแล้ว
ดูแล้วคิด เพื่อการต่อยอดทางความคิด
ถ้ามีการทำ proposal ออกมาก่อนที่จะเริ่มทำโปรเจคนี้นะ โปรเจคนี้ไม่ผ่านไม่เกิดขึ้นแน่นอน ผิดกฏ thermodynamics และไม่คุ้มทุนน ตัวเครื่องเนี่ย ไม่ต่างจากหม้อแปลงไฟฟ้าเลย ไฟเข้า 200 ออกมาได้ 190 อย่างงี้ เจ๊งงง เว้นซะแต่ว่าจะไปวางไว้แถวไหนที่มีน้ำตกไหลลงมากระทบแผ่นรับน้ำได้ฟรีๆ ถึงจะคุ้มค่าเพราะ input ที่ใส่เข้าไปได้มาฟรี อีกอย่างน้ำตกที่ว่าเนี่ย ให้ไปดูตามเขื่อน มีกังหันน้ำหลายๆ แบบที่เหมาะกับ water head ที่มีประสิทธิภาพสูง แบบนั้นคุ้มกว่า แต่ก็นับถือพี่แกนะทำออกมาได้ดีมาก ถ้าทำไปประยุกต์ใช้งานเนี่ย คงไม่หมาะและไม่คุ้มม เพราะผมเคยเห็นกังหันน้ำ ที่ผลิตไฟฟ้า ที่ดีกว่านี้ และสามารถใช้งานได้ในน้ำที่มี water head ต่ำๆ ไม่ถึง เมตรด้วยซ้ำ และมีการทดสอบจริงลองใช้จริง มาแล้ว
+Apiwat Onseechai มันเกี๋ยวกับกฎเทอร์โม ข้อไหนหรอครับ ขอความกระจ่าง
+KoOFooD LEEW กฎข้อที่ 1 ทางเทอร์โมไดนิกส์
พลังงานสามารถเกิดการถ่ายโอนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้และเกิดการเปลี่ยนรูปได้แต่ไม่สามารถถูกสร้างขึ้นใหม่หรือถูกทําลายได้
Apiwat Onseechai คุณไม่เข้าใจนะนี่
ไอ้โง่เสือกทำฉลาด
ถูกต้องคับ มีแต่ในจินตนาการเท่านั้นและเป็นจินตนาการต่อไป ไม่เหมือนโทรศัพท์ ทีวี วิทยุ พวกนี้เกิดจากจินตนาการก่อนแล้วเป็นจริง
ออกตัวก่อนนะครับว่าผมยังไม่เห็นเครื่องจริงๆ...
แต่ตามหลักปกติแล้วเมื่อมีการใส่พลังงานเข้าระบบใดๆจะมีการสูญเสียเสมอ
ผลที่ได้ออกมาจะไม่มีทางมากกว่าเดิมครับ
ในกรณีนี้เขาใช้ไฟฟ้าปั๊มน้ำขึ้นไปและใช้น้ำนั้นในการหมุนมอเตอร์
พลังงานที่ได้สูงสุดจะได้แค่เท่ากับที่สะสมเป็นพลังงานศักย์ในน้ำข้างบน
ซึ่งน้อยกว่าพลังงานที่ต้องใช้ในการปั๊มน้ำแน่นอน
ประเด็นคือเขาบอกว่าได้ถึง 20 kW ซึ่งถือว่าเยอะมากครับ
ผมกำลังสงสัยว่าค่า 20 kW นี้มันคือค่าสูงสุดของ Generator ที่ใช้หรือเปล่า
เอาเข้าจริงอาจจะได้แค่ไม่กี่ % ของค่านี้ คำนวนง่ายๆคือเอาความต่างศักย์ที่ได้ คูณกับกระแสที่ใช้ผ่านโหลดนะครับ
P=IV ไม่ใช่อ้างศักย์อย่างเดียว ถ้าอย่างนั้นถ่านไฟฉายก้อนเดียวเอามาผ่านหม้อแปลงก็ได้เป็นหมื่นโวลท์ละครับ
ลองคิดดูนะครับ
ปล.เห็นด้วยถ้าเอาไปใช้กับแหล่งน้ำธรรมชาติเพราะมีการกักเก็บขนาดใหญ่ก่อน ดีกว่าการผ่านใบพัดโดยตรงครับ
***** คิดว่าหัวใจน่าจะอยู่ที่การทดรอบมูเลย์ครับ คงต้องรอดูอีกที ถ้าทำได้จริงๆนี่ถือว่าเป็นสุดยอดนวัตกรรมโลกได้เลย
Panya Chatthongการทดรอบจะทำให้ generator หมุนได้เร็วขึ้น ซึ่งส่งผลต่อความต่างศักย์ที่จะเพิ่มขึ้นด้วย จาก dV=-dflux/dt
ในขณะที่ แต่เมื่อ generator หมุนเร็วขึ้นจะเกิดกระแสต้านกลับมากขึ้น(Eddy's current) และไปหน่วงเพลาหลักทำให้ความเร็วไปคงที่ที่ค่าหนึ่งเท่านั้น แต่จะอย่างไรก็ตามผลรวมพลังงานก็ไม่ควรเกินพลังงานที่ใส่เข้าไปอยู่ดีนะครับ...
***** ถูกครับ ถ้าคุณทดรอบคุณก็จะเสียแรงบิดครับ ยังไงมันก็แลกกันอยู่แล้วและถ้าคุณยิ่งทด พลังงานรวมก็หายครับ
ทำได้แน่นอนถ้าเอาแค่อินพุท-เอ้าทพุท แต่ถ้าคิดทางเศรฐศาสตร์ ต้นทุนวัสดุ ระยะเวลาคุ้มทุน การซ่อมบำรุง ต้องคิดให้ละเอียดก่อนสร้าง แต่ในแง่นักประดิษฐ์ นักทดลอง มีทุนทำได้และสำเร็จก็ยอดเยี่ยมแล้ว ถ้าคนไทยช่วยกันคิด ทดลอง แบ่งปัน ต่อยอด ทำให้ใช้จริงได้ และมีทุนสนับสนุน ประเทศเราเจริญขึ้นโดยไม่ตกเป็นทาสทุนนิยมแน่ๆ
I am from India, please made it in Hindi
ทำได้ แต่แน่นอน ว่า อย่าให้น้ำระเหยหมด หมั่นเติมน้ำ สิ่งทดแทนคือน้ำ
น้ำที่ปั๊มพ์ขึ้นไปคงเพื่อการทดสอบครับ ของจริงคงต้องใช้แหล่งน้ำที่มีความสูง หลักการเดียวกับเขื่อน แต่ผมสงสัยว่าตกลงมัน 20KW หรือ 2000W หัวข้อบอก 20KW แต่เจ้าของบอก 2000W ถ้า 2000W บ้านหลังเดียว ถ้าเปิดแอร์ด้วยก็จะไม่พอแล้วครับ
nattawornp นั่นหนะสิ ผมก็ว่า 20kW มันเยอะไปนะ
nattawornp 20kw=20,000wครับ หลอดไฟ1หลอด60w แอร์ประมาณ800-1500watt แต่ตัวเลขพี่เขาออกมาเป็น DC400Volt =2000วัต ก้อยังงงนะDC volts to watts calculation formulaThe power P in watts (W) is equal to the voltage V in volts (V), times the current I in amps (A):P(W) = V(V) × I(A)AC single phase volts to watts calculation formulaThe power P in watts (W) is equal to the power factor PF times the phase current I in amps (A), times the RMS voltage V in volts (V):P(W) = PF × I(A) × V(V)
MrHotmia OhoOlan พี่เขาเข้าใจผิดหลายอย่างครับ คำนวณก์ต้องมีค่า A แอมพ์ ด้วย ซึ่งจริงๆแล้วตัวนี้มีขนาด 6A เสียดายเงิน4แสนจริงๆ ไปซื้อโซล่าเซลได้เยอะเลย
จากที่พี่เขาพูด คงไม่ได้เอาไปติดตามแหล่งน้ำนะครับ (ดูนาทีที่ 2:23)
+วิรยะ จงสุข แน่ใจนะครับว่าปั๊ม 280W ไม่ใช่ 2,800 W
Confirm ให้ครับ ถ้าตามแบบในคลิป ไม่สามารถใช้งานได้จริงครับ เพราะอย่างที่หลาย ๆ คนบอกนั้นแหละว่าผิดหลัก thermo dynamics เพราะในคลิปวัดไฟขาออกอย่างเดียว ซึ่่งยังไงไฟ input ที่เข้ายังไงก็เยอะกว่าอยู่ดีเนื่องจาก ทุกระบบต้องสูญเสียพลังงานกับความฝืดกับความร้อน ... แต่ถ้าเอาไปใช้กับพวกแถวน้ำตก อันนี้ก็อีกเรื่องครับ
มีเบอร์ติดต่อมั้ยคะ
เก่งมากครับที่คิดได้ แต่ผมแนะนำให้ไปศึกษาฟิสิกส์เรื่องกฏการอนุรักษ์พลังงานครับ เครื่องอาจจะแจ่มกว่านี้ (ถ้าทำได้นะ ฟิ้วววว)
ถ้าคุณจบ ม.6 จริง จะฟังผมบ้างคงไม่เสียเกียรติอะไร ถ้าจะเป็นนักปฏิบัติ นักคิด นักทดลอง อยากให้คุณอ่านหนังสือเกี่ยวกับเรื่องที่คุณทำให้มาก อย่างน้อยคุณก็รู้ว่าเขาทำอย่างไร
ผิดถูก เชื่อไม่เชื่ออยู่ที่คุณ อยู่ในโลกของความเป็นจริง เครื่องบินสร้างได้ เพราะได้เห็นสิ่งที่บินได้ตามธรรมชาติ บวกกับการทดลองแก้ปัญหา ทำไมวันนี้ ยังไม่มีพรมอลาดินที่บินได้
ไม้กวาดแม่มดเหาะได้ ยกเว้นคุณเพิ่มอุปกรณ์ให้มัน ผมชื่นชมคุณที่กล้าทำ กล้าคิด ผมอยากเห็นคุณมีข้อมูล มีความรู้ เมื่อทำการทดลอง อาจไปได้ดีขึ้น อย่างน้อยคุณก็ไม่เสียหาย
จากการวิจารณ์ของผม ขอให้ประสบความสำเร็จครับ
อ๋อเข้าใจแล้วนี้เป็น1ในโลกครับ
1.กังหันลมที่ผลิตไฟฟ้าใช้ลมช่วยให้ไดร์โวร์สร้างกระแสไฟสรุปคือยิ่งลมแรงยิ่งได้ไฟเยอะเพราะการหมุนของมอเตอร์แรงขึ้น
2.พลังงานแสงอาทิตย์หลักการคือยิ่งโดนแสงแดดเท่าไหร่ยิ่งได้ไฟฟ้ามากขึ้น
3.(ของพี่เค้าใช้แรงโน้มถ่วงของโลก) ยิ่งอยู่สูงมอเตอร์ก็ยิ่งปั่นเร็วนี้คือที่สุดของความสำเร็จของโลกเลยนะไม่ต้องพึ่งลมไม่ต้องพึ่งแดดแค่ทำยังไงก็ได้ให้ตกลงสู่พื้นเร็วที่สุดและสูงที่สุดก็จะยิ่งได้กระแสไฟฟ้ามากขึ้นนี้เอาโนเบลไปเลยครับคิดนอกกรอบครับไม่ได้อยู่ในหลักวิชาเพราะมันไม่เคยมี
สรุปคือการตกจากที่สูงยิ่งหนักเท่าไหร่ก็ยิ่งเร็วมาก (ความสูง+ความเร็ว=การหมุนของรอบไดร์ปั่นไฟฟ้า)
คิดง่ายๆครับจะผลิตไฟฟ้าด้วยไดร์ปั่นไฟนั้นยิ่งทำให้หมุนเร็วเท่าไหร่ก็ยิ่งได้ไฟมากขึ้นแต่ฝรั่งคิดกังหันลมซึ่งต้องง้อลมถ้าไม่มีลมก็ได้ไฟฟ้าน้อย
แต่ของพี่เค้าเหนือกว่ากังหันลมและโซล่าซึ่งต้องพึ่งลมกับแดด
แต่ของพี่เค้าขอแค่ทำยังไงก็ได้ที่หนักๆโยนลงมาจากที่สูงก็ได้ไฟฟ้าใช้
สุดยอดครับเอาโนเบลไปเลยครับ
พลังงานที่จ่ายให้เครื่องสูบน้ำละครับมาจากไหน อยู่ดีๆน้ำมันคงไม่ไปโผล่อยู่บนนั้นหลอกครับ มันผลิดพลังงานให้ตัวเองพอหรอ
+GoodGame in Thai เค้าใช้ไฟบ้านสตาร์ท พอเครื่องปั่นไฟได้รอบเค้าก็ค่อยสลับเอานะ เนื่องจากไม่มีแบตสำรองไฟ
+GoodGame in Thai ตอนนี้ปัจจุบันมีธรรมชาติที่หาได้แค่ ลม กับแดด และ น้ำที่เขื่อน
แต่นี้แรงดึงดูดของโลก
รองคิดต่อยอดเอาถ้ารถสิบล้อตกจากตึก20ชั้นจะเกิดแรงม้าเท่าไหร่เพื่อจะมาหมุนมิร์เตอร์กังหันลม 2kw ถ้ารถสิบล้อตกจากตก20ชั้นได้แรงม้ามา2000แรงม้า แต่มอร์เตอร์ปั่นไฟใช้แรงม้าที่10แรงม้าจะสามารถทำงานได้สเถียรที่สุด
เท่ากับสามารถเอามาปันมอเตอร์ได้กี่ตัวต่อให้คิดค่าแรงเฉื่อยและค่าใช้จ่ายรวมกัน 50% ของแรงม้าอะ
นี้แหละอนาคตที่เราสามารถจะผลิตไฟใช้เองได้
พอเข้าใจนะครับ
ไม่เขาใจเพราะนายดมกาว พล่ามห่าไรไ้ม่รู้เรื่อง แถมยังตกฟิสิกส์ม.ปลายอีก หยี!!!
จากตู้ที่เห็น น่าจะเป็น Inverter ของระบบ Solar เพื่อ ซิงค์เฟส กับการไฟฟ้า ตัวเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้า น่าจะใช้ ระบบ Gen. กังหันลม ผลิตไฟฟ้า แล้วนำมาแปลงเป็นกระแสตรง เพราะมันจะให้กำลังที่สูงกว่า เพราะเห็นมี Convertor แปลง AC/DC อยู่ อย่างนี้ มีความเป็นไปได้สูงกว่า
ใช่ครับผมก็คิดแบบพี่ครับดูแต่ละคนคำนวนเทอโมไดนามิกแต่ใม่เห็นมีใครพูดถึงอินเวอเตอสักคนต้องการบิดเบือนอะไรหรือป่าวครับนักวิจานทั้งหลายหรือว่าเรียนสูงเกินครับ ก็เห็นกันยุว่าเขาใช้อินเวอเตอมาแปลงแรงดันจากเจนเนอ้รเตอนะครับเขาใม่ใด้เอามาใช้ตรงๆ
เอาไปวางใต้น้ำตก หรือวางนอนในแม่น้ำก็ได้ อันนี้สิเปลี่ยนพลังงานกลไปเป็นพลังงานไฟฟ้าจริงๆ ไม่ต้องใช้พลังงานไฟฟ้าผลิตพลังงานไฟฟ้าหนะ ซึ่งมันจะสูญเสียไปกับประสิทธิภาพของเครื่อง ไม่มีทางที output จะมากกว่า input หนะ
gen ที่มีประสิทธิภาพมากกว่านี้มันก็มีอยู่แล้วครับ
6 ปีผ่านไป เงียบกริบ ตอนนี้ทั้งคนทำ คนวิจารย์ น่าจะรู้ความจริงกันแล้วเนาะว่าพลังงานฟรีมันไม่มี
เงียบๆไว้ครับ อายเขาอย่าไปรื้อฟื้นเลยดีกว่า
ผมดูมานานแล้วคลิปนี้และผมก็คอมเม้นใว้แต่หาไม่เจอ แต่สิ่งที่ผมจะบอกคุณก็คือ ในมือคุณมีเทคโนโลยีหาความรู้ได้,หาที่อยู่ได้ ไปพิสูจน์ยันที่เลยครับ แล้วค่อยมาชมมาหยัน
ну и дурак) хорошо что есть такие как ты)))
ดูแล้วสงสัย พลังงานที่ใช้ในการปั้มน้ำขึ้นไป จะน้อยกว่าไฟที่ปั่นได้หรือครับ? ไม่ใช่ว่ามันจะใช้มากกว่าหรือ?
้เห็นด้วยครับ
แรงดึงดูดของโลก
@@tanickboy3264 ตอนปั้มดูดน้ำขึ้นไปก็มีแรงโน้มถ่วงนะครับ
เท่าที่ผมเข้าใจน่ะ น้ำ.หนักพอๆกับหินกับดิน-รวมกันเยอะๆก็มีแรงถ่วงมาก-ดังที่เห็น- น้ำที่เติมทีละถาดเทิ้งทีละ1ถาด น้ำที่มียังถ่วงอยู่หลายถาด นั่นละพลังงานกลไกที่ได้ ก็แต่ว่าต้องใช้เงินทุนเยอะ แต่เจ๋ง
ไป ๆ มา ๆ ข่าวจริงอาจจะเป็นเรื่อง "หนุ่มใหญ่เมืองกาญจน์จบ ม.6 ประดิษฐ์เครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน้ำ 20 กิโลวัตต์ ได้ด้วยตัวเอง (อันนี้คือความภาคภูมิใจ) ... แต่ใช้งานไม่ได้จริง" ...... เพราะในความเป็นจริงคือจ่ายค่าไฟไป (input) 4000w แต่ได้เครื่องปั่นไฟออกมาได้ (output) 2000w ... บอกแต่ไฟ output ไม่ได้บอกไฟ input
along risw ถูกเลย...เป็นเรื่องแหกตาเห็นๆ เสียเงินทำกระบะ กังหันตั้ง400,000...ขนาดเอาท์พุท ยังไม่รู้เลยว่า. เจน. ผลิตได้กี่กิโลวัตต์...
อยากรู้เหมือนกัน 20 kw หรือ 2 kw
แต่ชอบผลงานการคิดค้นของพี่เขามาก
สุดยอดเลยครับ เก่งสุดๆ
ผมไม่ได้จบวิศวะ จบแค่ ปวช อีเลคฯ ผมใช้การคาดเดาจากการมองดูว่ามันจะเป็นไปได้จริงหรือไม่ และผมก็ชมชอบในคอมเม้นท์ของคุณ SixManเงาลวงตา เพราะเขาได้ตอบข้อคาใจของผมที่ผมเชื่อว่ามันเป็นไปได้แต่อธิบายไม่ถูก แรงที่เข้ามาเสริมจนระบบมันผลิตพลังงานออกมามากกว่าที่มันใช้ไปก็คือ แรงโน้มถ่วง ผมคิดถูกไหมครับ
+phichet suwanhathai คือเรื่องนี้ถ้าพูดถึงกำลังและงาน มันจะถึงอยู่กับหลายๆปัจจัยครับ เช่น ขนาดของล้อรถต่างกัน แต่สามารถทำให้งานและระยะทางเท่ากันได้ แต่ถ้าเป็นพลังงานก็อีกเรื่องนึงครับ แยกกัน
You don't have any documentation for that - thanks
จ่ายไฟเยอะสนามแม่เหล็กต้องเข้มมาก ตัวนำก็ต้องใหญ่ที่จะตัดผ่านสนามแม่เหล็ก นั่นหมายถึงจำนวนอิเลครอนที่จะถูกผลัก นันหมายถึงกระแสไฟฟ้าที่จะไหล เมื่อเป็นเช่นนั้น ต้องใช้แรงผลักเยอะ
เข้าใจง่ายๆคือ อุปกรณ์ต้องใหญ่ ( เจนเนอเรเตอร์) ไดรถยนต์ยังได้แค่ สิบกว่าโวล์ หมุนเร็วขนาดนั้น
How Kw is generator and how kw is water pump?
Translation please.
Indonesian?
Filipine?
ขอบอกว่าสุดยอดเลยพี่
En que idioma está?
Nice--- 👽🤖🤯🤔---💆♂️😇👍
แถวบ้านผม ต่อน้ำมาจากบนเขาสูง ใน อ.นบพิตำ จ.นครศรีฯ น้ำใช้ทัังปี แรงด้วย ต้องเปิดน้ำทั้งไว้ตลอด ปิดไม่ได้ ถ้าปิด ท่อแตก เพราะแรงดันเยอะเกินไป ใช้เป็น10ๆปี บางหลัง ต่อมาทำน้ำตกไว้เล็กๆหน้าบ้าน ใหลทั้งปี ถ้าไม่ใหล ท่อแตกแน่นอน 5555 น่าจะเอามาใช้ประโยชน์แบบนี้บ้างนะ
ทำไมไม่คิดละครับว่า เขาใช้ไฟปั้มน้ำขึ้นไปเฉพาะช่วงแรกให้เครื่องทำงานได้ จากนั่นก็สลับไฟที่ผลิตได้มาใช่กับปั้มน้ำแทน เป็นพลังหมุมเวียน แบบนี้ก็ตีโจทย์ ทฤษฎี out น้อย กว่า in แล้ว ก็ในเมื่อเครื่องมีนผลิตได้มากกว่าที่ใช้กับปั้มน้ำ เขาไม่ได้เอาไฟมาเพิ่มไฟ แต่เขาเอาไฟมาดูดน้ำ เพื่อให้น้ำหนักน้ำขับเคลื่อนเครื่องปั่นไฟที่หมุุนไปด้วยแรงโน้มถ่วง+มวลน้ำหนักน้ำ แล้วเกิดเป็นพลังงานไฟฟ้า จะได้มากน้อยไม่ได้ขึ่นอยู่กันไฟที่จ่ายเข้าปั้มน้ำ แต่ขึ้นอยู่กับเจ่าเครื่องที่หมุนด้วยมวลน้ำถูกออกแบบมาให้ทิ้งน้ำหนักลงเพื่อส่งกำลังในการปั่นเครื่องกำเหนิดไฟฟ้าได้ขนาดไหน
หมุนนึงครั้งมันผลิตได้เท่าไรครับมันไม่ได้ผลิตต่อเนื่องหนิครับแล้วจะเอาไฟไหนขับมอเตอร์ขึ้นไป พี่ลองนึงถึงรถมอเตอร์ไซค์ครับ เวลาพี่สตาท1ครั้งไฟหน้าจะติดทีนึง จนกว่าเครื่องจะติดไฟหน้าถึงจะติดตลอด ก็เหมือนกันครับ กังหันนี้ต้องหมุนตลอดจนกว่าจะขับมอะตอร์ให้เติมน้ำเต็ม ซึ่งผมเชื่อว่าหมุน1ครั้งไม่สามารถทำให้มอเตอร์ปั้มน้ำจนเต็มได้อีกรอบแน่นอน
ดูแล้วอยากลองไปทดสอบเลยครับ..ใช้หลักการพลังงานศักย์โน้มถ่วง อย่างที่ คุณMrHotmia OhoOlan กล่าว ช้อบตรงที่ต้องออกแบบระบบ controller ในการเก็บกระแสไฟฟ้าพร้อมกับไปเลี้ยงปั้มน้ำ(มันท้าท้ายน่ะ) จากคลิปความสูงและมวลมีผลต่อพลังงานศักย์โน้มถ่วง ถ้ามันสามารถปั่นไดนาโมขนาดนี้ได้ ถือว่าน่าสนใจมากเลยทีเดียว ..
เป็นงานสร้างเครื่องที่น่าทึ่งมาก
มันจะทำงานได้ดีถ้าอยู่ไกล้น้ำตกที่มีพลังงานศักย์มาให้ฟรีๆ
ส่วนการพยายามหมุนเวียนพลังงานด้วยการ สูบน้ำกลับแล้วจะให้มีพลังงานพอจะเอาไปใช้อย่างอื่นได้อีกนั้นเป็นไปไม่ได้แน่นอน เมื่อเจนมีโหลดเพิ่มขึ้นมันจะหนืดจนไฟตกจนไม่พอสูบน้ำขึ้นไปได้อีก แล้วเครื่องก็จะหยุด
หลักการนี้ใช้งานได้จริง มีจุดอ่อนอย่างที่คุณว่า แต่เราสามารถกำจัดจุดอ่อนนั้นได้ เครื่องนี้ใช้งานได้จริงล้านเปอร์เซ็นต์ สามารถผลิตกระแสได้มากตามเท่าที่ต้องการ ผมเองก็คิดค้นหลักการแบบนี้อยู่ เครื่องนี้เขาทำเล็ก ใช้ไฟน้อย จึงไม่มีปัญหา ถ้าทำเครื่องใหญ่ใช้ไฟมากๆ จะมีปัญหาเวลา generator ทำงานหนัก แต่ผมสามารถกำจัดจุดอ่อนนี้ได้ และสามารถพัฒนาให้ผลิตกระแสไฟฟ้าได้หลายร้อยเมกะวัตต์ ตอนนี้ได้แต่รอเพราะไม่มีเงินลงทุนทำ และผมยังสามารถคิดวิธีอื่นๆได้อีก ตอนนี้ได้เป็นเพียงแค่ความฝัน เพราะขาดเงินทุน ตอนนี้ขอนอนฝันไปวันๆก่อนครับ
ขออนุญาตอธิบายตามหลักการวิทยาศาสตร์นะครับ ยาวเล็กน้อย
หลายคนกำลังสับสน ระหว่างคำว่า "พลังงานไฟฟ้า" กับ "กำลังไฟฟ้า" สองคำนี้ต่างกันครับ
เป็นไปไม่ได้ครับที่เครื่องนี้จะให้"พลังงานไฟฟ้า" มากกว่า พลังงานไฟฟ้าที่ใช้สูบน้ำขึ้นไป
ทั้งนี้เพราะ เครื่องมือนี้ผลิตไฟฟ้าโดยการให้น้ำไหลลงมาปั่นไดนาโม แต่ในขณะที่น้ำไหลลงมาเพื่อหมุนใบผัด มันก็มีแรงเสียดทานเกิดขึ้น ซึ่งจะทำให้สูญเสียพลังงานบางส่วนออกไป
อย่างไรก็ตาม เครื่องนี้อาจให้ "กำลังไฟฟ้า" มากกว่าที่จ่ายเข้าไปได้
กำลังไฟฟ้า (ที่เรียกกันติดปากว่าวัตต์) คือ "พลังงาน"ที่ปล่อยออกมาใน 1 วินาที
นึกภาพตามนี้ว่า สมมุติตอนแรกใช้พลังไฟฟ้า 10 หน่วย ในการสูปน้ำขึ้นไป และเมื่อไหลลงมา พลังงานเสียไปเนื่องจากแรงเสียดทาน 2 หน่วย และเหลือเปลี่ยนกลับเป็นไฟฟ้าเอาไปใช้งานได้ 10-2= 8 หน่วย
จะเห็นว่า 8 มันน้อยกว่า 10 เห็นๆ นั่นคือพลังไฟฟ้ามันได้น้อยลง
แต่ถ้าสมมุติตอนสูปน้ำขึ้น เราใช้เวลา 10 วินาที แต่ตอนปล่อยลง เราปล่อยพรวดลงมาทีเดียว 1 วินาที
ในกรณีนี้ ตอนสูปขึ้นใช้กำลัง 10/10 = 1 วัตต์ ตอนปล่อยน้ำลง ได้กำลังไฟฟ้า 8/1 = 8 วัตต์
นั่นไงครับ ได้กำลังวัตต์มากกว่าเห็นๆ แสดงว่าเครื่องนี้เจ๋งจริง? เปล่าหรอกครับ จะเห็นว่าในตัวอย่างนี้เราได้กำลังไฟมากกว่าก็จริง แต่มันใช้ได้แค่ 1 วินาทีเท่านั้น ดังนั้นจึงไม่คุ้มค่าครับ เวลาเราจ่ายค่าไฟ เราคิดตาม"พลังงานไฟฟ้า" ไม่ใช่"กำลังไฟฟ้า"
ถ้าผมจะพูดว่า เครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าพลังแรงโน้มถ่วงจะผิดไหมนิ ^^
ถ้าไปประยุคไช้กับตึกสูงหรือโรงงานที่ปล่อยของเหลวจากที่สูงเช่นพวกหล่อเย็น น่าจะ work นะ
เป็นการเก็บพลังงานศักย์กลับมาใช้ไหม่ Good Good
Apisit puttasre ความคิดดีคับ แต่ไม่เหนรัฐ วิจัย ส่งเสริม
+sugoi store ขอบคุฯครับ คงเป็นเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าสำหหรับประเทศไม่ได้ครับ แต่ผมคิดว่าเหมาะกับ บางงาน ในอุตสาหกรรมเท่านั้น ถือเป็นกรณีศึกษาครับ อยากให้คนไทยคิดไรออกมาเยอะๆแบบยี่ปุ่น ใช้ได้ไม่ได้ ก้ไม่เปนไร คิดไว้ก่อน ^^
So once the pool up top is empty, how does it get filled? Certainly not by this generator! It is an impressive build but it cannot run on its own. Somehow the pool needs to be filled when it is empty.
Can someone please tell me in English. What the power out is? Volts ? Watts? Amps?
มันสุดยอดเลยครับ
ถ้าเป้นจริงจะฉีกกฎของ เทอร์โมไดนามิค ต้องคำนึงถึงพลังงานที่จ่ายให้กับมอเรอร์ป้็มป์น้ำด้วย แต่ก็เป็นกำลังใจให้ครับ
ความพยายามที่จะสร้างเครื่องปั่นไฟพลังน้ำ โดยมีพลังงานต้นทางจากการไฟฟ้าฯเป็นตัวป้อนให้ ซึ่งในลักษณะนี้ คงทำให้เห็นพอสนุกๆ ถ้าจะขายให้ชาวบ้าน ก็คงแพงกว่าที่ชาวบ้านซื้อจากการไฟฟ้าฯ หรือขายคืนให้การไฟฟ้าฯในราคาที่แพงกว่าซื้อจากการไฟฟ้าฯ น่าสนใจตรงที่ใช้พื้นที่ไม่มากต่อชุด เทียบได้กับเครื่องผลิตไฟแบบ Solar Roof แต่ต้องเทียบต้นทุนกันดูว่าจะคุ้มทุนในกี่ปี
ตอนนี้ก็ยังใช้อยู่ครับแต่ก็ปรับไปใช้ไปครับ
อยากเห็นคลิปที่ ใช้กระแสไฟบ้านขับเคลื่อนระบบ ให้ระบบทำงาน แล้วปลดกระแสไฟบ้านออกให้ระบบมันทำงานของมันเอง แล้วก็วัดกระแสไฟ จะเป็นความรู้อย่างยิ่งครับ
เป็นการคิดค้นที่เอาหลักการแรงโน้มถ่วงและฟันเฟืองมารวมเข้าด้วยกัน สุดยอดคับ แต่จะทำเครื่องใหญ่ๆ ก็ใช้ทุนเยอะนะครับ
Masterayun Phangthong คล้ายๆกับนาฬิกาไขลานเลย แต่ใช้น้ำหนักแทนสปริง
все гениальное простое, nice!
ท่านทำให้เจนหมุนยังทำได้ ขอเสนอแนะให้ท่านต่อสายพานมู่เล่เข้ากับปั้มชักก็ได้เพื่อส่งน้ำขึ้นไป เพื่อจะได้ไม่ต้องนำแหล่งจากที่อื่นเข้ามา หรือท่านจะนำไฟที่ผลิตได้จ่ายให้มอร์เตอร์ปั้มนำ้ก็น่าจะได้ จะได้หมด...เสียทีครับ
Who can build it? With whom talk to? How much it will cost to build? How much power uses and how much power produce?
อยากเห็นการทดลองในระบบปิด มีโหลดสัก5kw ถ้าได้นี่4แสนผมไปซื้อเลยครับถูกมาก ลองคิดดูแค่ 5kw 1วันได้ไฟ 120หน่วย
1เดือน ได้ 3600หน่วย ค่าไฟ 4บ.ค่าไฟ14400
1ปีลดค่าไฟ 170000
3ปีคืนทุน ถ้า20kw รวยตั้งแต่ปีแรกเลยครับ
พงศกร ใจแก้ว ผมก็ซื้อ 5555
พงศกร ใจแก้ว ผมกลัวว่าจะลวงโลกอะดิ
กบ เเดก กะลา ไปดูให้เห็นกับตา การพูดบั่นทอนกำลังใจกันโดยที่เรายังไม่ได้เห็นกับตามันไม่ถูกต้อง รู้ชัดเจนแล้วว่าไม่เป็นไร
จริงๆ เราไม่สามารถผลิตพลังงานได้ เราทำได้แค่เปลี่ยนรูป การที่ input และ output เป็นอย่างเดียวกัน(ไฟฟ้า) ไม่ได้ผลแน่ๆ ผมเข้าใจว่า ต้องการเอาเครื่องนี้ไปประยุคต์ใช้ต่อ เช่น หาวิธีอื่นที่จะเอาน้ำขึ้นไปไว้บนแทงค์ ไม่ก้เอาไปไว้แหล่งน้ำ ให้แรงน้ำช่วยหมุน ซึ่งผมว่าไม่ใช่เรื่องใหม่อะไร
ชอบมากลุงกำไรครับ..เราเอาแค่๒๒๐โวลมาทำ๔๐ๆกว่า...โวลสุดยอด...ไม่จ้องสนใจปากนกปากกา....พระพุทธเจ้าตรัทว่าสิบปากว่าไม่เท่าตาเห็นสิบตาเห็นไม่เท่าลงมือทำ....เหมือนเราพูดกับพวกคนตาบอด..บอกว่าสีขาวเขาจะรู้ไหมบอกว่าสีต่างๆๆละเขาไม่รู้เหมือนเดิมเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า..คนเห่าไม่เท่าคนประสบพยเจอด้วยตัวเอง...ขอเป็นกำลังใจครับ..กับคนที่มีความพยายาม
อย่าอยู่ในตำราอย่างเดียว ออกไปดูโลกกว้างบ้างก็ดี กฎที่คนเขียนขึ้นบางทีก็ไม่ใช่กฎของธรรมชาติ ผมอยากฝากความคิดเล็กน้อยครับ ตำราเป็นแค่ความรู้พื้นฐานที่สืบต่อกันมา ผู้ไม่มีประสบการณ์ย่อมถือตำราเป็นสำคัญ ผู้มีประสบการณ์ย่อมต่อยอดและแสวงหาความจริงที่สุดแล้วเขาผู้รู้ความจริงจะเขียนตำราขึ้นมาใหม่
+Charinya Lescon แต่ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เขาออก ออกกันมาเขามีการพิสูจน์กันแล้วทั้งนั้นนะครับ ว่าเป็นจริง ๆ ถ้ามีใครสามารถหาทฤษฎีมาลบล้างได้ คน ๆ นั้นก็จะได้รับรางวัลโนเบลเลย น่ะเออ แต่เครื่องในคลิปพิสูจน์ง่าย ๆ ครับ เอา output ที่ได้จ่ายให้กับ motor ที่สูบน้ำขึ้นไปด้านบน ถ้าทำได้ แสดงว่าสิ่งประดิษฐ์ นี่อาจจะเป็นเครื่องแรกของโลกเลย ที่สามารถทำได้ และจดเป็นลิขสิทธิ์ รวย ๆๆ เพราะที่ NASA เขาไปนอกโลกได้ก็เพราะทฤษฎีต่าง ๆ นี้แหละ
+วิรยะ จงสุข ทีเห็นนี่ไม่มีการจ่ายกลับครับ ไฟบ้านล้วนๆ
+วิรยะ จงสุข น่าสนครับ อยากให้คุณลองวัดเพิ่มเติมให้หน่อยนะครับอยากรู้ข้อมูลบางอย่างครับ (ใช้แบบออนกริด) อย่างแรกวัดกำลัง W ขาเข้า อันนี้ต้องใช้ แคมป์มิเตอร์ ซึอของ uni-T ก็ได้ครับราคาประมาณ 500 วัดได้ทั้ง V และ A พอได้สองค่าเอามาเข้าสูตร basic W=VI จะได้วัตต์จริงฝั่ง input , จากนั้นฝั่ง output วัดหลัง inverter ก่อนกลับเข้าไปที่ไฟบ้าน โดยวัด V กับ A เหมือนกันแล้วใช้สูตรเดิม W=VI (A ใส่ตรง I) คราวนี้ เราก็จะรู้วัตต์ที่ใช้ขาเข้ากับขาออกครับ ยังไงช่วยแชร์หน่อยนะครับ ผิดถูกไม่ว่ากันช่วย ๆ กันพัฒนา (ผมเอาค่าวัดจริงนะครับ ไม่เอาค่าจาก spec ครับ เพราะสายบู้ครับ)
+วิรยะ จงสุข ผมมี idea อันนึ่งครับ ไม่ต้องสนทฤษฎี ใด ๆ ทั้งสิ้น ทดสอบแล้วทุกคนน่าจะยอมรับด้วยครับ คือ ซื้อมิเตอร์ไฟฟ้าบ้าน ๆ มาสองตัว (ตัวละ 1500- 2000 บาท ซึงมีขายทั้งแบบ 2 เฟส และ 3 เฟส) จากนั้นติดที่ขาเข้ากับขาออกครับ จากนั้นดูการหมุนของมิเตอร์ ถ้าขาเข้าหมุนเร็วกว่าขาออก แสดงว่าไม่ work แต่ถ้าขาออกหมุนเร็วกว่าขาเข้า ระบบ OK
ก็รู้จักน่ะสิครับถึงได้รู้ว่ามันทำไม่ได้ไงครับกะอีแค่กริตอินเวอเตอร์ แล้วคุณแน่ะรู้จักไหมครับหลักการเปลี่ยนรูปพลังงานน่ะครับ
ถ้ามันทำได้จริงเขาทำขายทั่วโลกไปแล้วครับไม่เงียบแบบนี้หรอก
need english or russian subtitles..... do nt understand him but very intresti g(((((
เคยคิดบ้างไหมว่าพวกฝรั่งเป็นนักคิดค้นคว้ากว่าคนไทยหลายเท่านักเขายังไม่คิดที่จะทำแบบนี้เลย เรื่องพลังงานไม่มีคำว่าได้มาฟรีๆ อย่างมากก็เสมอกัน เป็นของที่ทำไว้ดูเล่นๆเหมือนมายากล คนที่มีความรู้จริงจะไม่มาเสียเวลากับเรื่องหล่านี้
+Wattana Polpala ขอแก้ไขนิดนึงนะครับ เค้าพยายามทำอยู่ครับและก็มีหลายอย่างที่ทำได้ดีเลยทีเดียวครับ การประหยัดพลังงาน
การพิสูจน์เป็นหลักของวิทยาศาสตร์ เขารอการพิสูจน์อยู่ ท่านใดมีความรู้ด้านนี้เกิดข้อสงสัย
ควรไปพิสูจน์ให้ทราบถึงที่ เขาทำได้จริงหรือไม่จริง
นาที ที่ 4:20 ฟังการทำงาน ก่อนครับ ไฟจ่ายให้มอเตอร์ ปั๊มน้ำ 280 วัตต์ และไฟมาที่ตัว inverter 2,000 วัตต์ ลองแปลงหน่วยก็ได้ 2 กิโลวัติ
www.rapidtables.com/convert/power/Watt_to_kW.htm
Thanks man I can help you
ขอช่องทางติดต่อหน่อยคับ
อยากเห็นสภาวะขับโหลด ^_^
+Channarong oneway (บอล) ผมก็อยากเห็น แค่คิดก็ตายละผมว่า ใส่โหลดเข้าไปเจนก็ต้องหนืดขึ้น ทีนี้ก็ต้องเพิ่มน้ำหนักของน้ำอีก เพิ่มน้ำ ก็เท่ากับเพิ่มภาระให้เจน เจนก็หนืดไปอีก จบปิ้ง เหอๆ
สร้างมาขนาดนี้แล้ว น่าลองต่อยอดใช้ป๊ำโซล่าเซลมาช่วย ความคิดส่วนตัวน่ะ
เห็นด้วยครับแบบไม่ต้องพึงพาไฟฟ้าบ้าน แบบเอาไฟจากธรรมชาติ
จริงแล้วผมว่าพี่น่าจะขยายทั้งโวลล์และวัตต์เพื่อใช้ประโยชน์ได้มากขึ้นโดยการนำพลังงานACที่ได้มาขยายโดยใช้หม้อแปลงเพื่อเพิ่มทั้งแรงดันไฟฟ้าและวัตต์เหมือนที่การไฟฟ้าทำอยู่ซึ่งการเพิ่มแรงดันในกรณีที่เป็นไฟฟ้ากระแสตรงนี่หรือDCมันจะะเพิ่มถามว่าได้ไหมมันก็ได้แต่ยากกว่าACมากซึ่งDCนั่นจะต้องใช้วงจรไฟฟ้าอิเล็กเข้ามามากต้นทุนสูงแต่กระแสนิ่งโวล์และวัตต์ต่ำเมื่อเทียบกลับการขยายในไฟฟ้าACจะต้นทุนต่ำกว่ามากถ้าจะแพงก็ต้งหม้อแปลงอย่างเดียวผมว่าการไฟฟ้าน่าจะทดลองดู ผมว่าลองต่อยอดอีกนิดครับน่าจะอแดปได้เป็นเมกะวัตต์เลยครับ แล้วพอจะใช้ที่หมู่บ้านไหนก็แปลงไฟฟ้าลงมาใช้ที่220Vผมว่าไม่น่าจะยากที่ยากคือ หาหม้อแปลงขนาดใหญ่ๆมาทดลองสักสองลูก ลูกแรกใช้แปลงขึ้นลูกที่สองใช้แลงลงแล้งลองต่อใช้งาน ผมความรู้น้อย ขอแสดงความคิดเห็นแค่นี้ครับ
มีขายไหมครับ
он делается самостоятельно)))
ผมไม่รู้เรื่องไฟฟ้าครับ แต่อยากถามว่าทำไมไม่ใช้แรงลมช่วยในการหมุนเครื่องสูบน้ำหละครับ แบบเมืองนอกครับกังหันลมอะไรแบบนี้ครับ มันใช้ได้มั้ยครับ
ดูจากมอเตอร์ปั๊มน้ำน่าจะไม่ต่ำกว่า 3 แรงม้าแล้วดูจากท่อดูด-ส่งก็ประมาณ11/2 นิ้ว ที่บ้านท่อดูด 1 นิ้วลึก 1 เมตรท่อส่ง1 นิ้ววางยาวแนวราบยาว12 เมตร ยังกินไฟฯที่ 5 แอมพ์ 220 โวลท์(5x220=1100VA)
เป็นกำลังใจไห้ครับ อย่างน้อยๆก็ได้ทำ เขาอาจจะเป็นคนที่บอกว่าโลกใบนี้กลม ในขณะที่ทุกคนบอกว่าเเบนก็ได้สู้ๆครับ
ممكن ترجمة إلى العربية
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าตัวสีขาว ๆ ใช้ไหมครับ รบกวนโพสต์ สเปคเครื่องกำเนิด
ประสิทธิภาพของเครื่องผลิตไฟฟ้าคือกำลังที่ได้(output)ต้องมากกว่ากำลังที่ป้อน(input)
ใช้ได้ดีไหมครับ
อยากได้รายละเอียดของไฟที่จ่ายให้ปั้มน้ำ กับไฟที่ได้หน่ะคับ
ว่าปั้มน้ำกินไฟไปกี่หน่วยต่อนาที และไฟที่ได้มาสามารถทำได้กี่หน่อยต่อนาที
ขาดเหลือกันแค่ไหน ถ้าแจ้งรายละเอียดออกมาประมาณนี้ จะมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นครับ
เป็นกำลังใจให้สำหรับนักพัฒนาไทยเรา สู้ๆต่อไปคับ
อยากเรียนรู้เรียนรู้ได้ที่ไหนครับ
ผมเพิ่งเห็นคลิปนี้ ผ่านมาเกือบสามปีแล้ว ไม่ทราบว่าพัฒนาไปถึงใหนแล้ว อยากเห็นว่า กังหันน้ำที่เคลื่อนตัวช้าๆนี้ จะให้พลังงานออกมา 20 กิโลวัตต์ได้อย่างไร โครงการนี้ยังทำอยู่หรือเปล่า
อยากจะขออนุญาติไปเยี่ยมชม
ยอดเยี่ยมมากๆ
Ребята-видно что двигатель на насос гдето до 2квт рядом синяя труба идущая на верх.А генератор ват до 0.8--1квт.Генератор на 10-20квт имеет гдето вес 190-350кг.Передвижение тяги 2 тоны на 1 метр за 1 сек.это 20квт.
มีโอกาสเป็นไปได้ครับ เพิ่มเทคนิคเข้าไป