Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
อยากให้โฆษณาเข้ามากเป็นรายการที่ดีมีทั้งความรู้และสาระแถมยังตลกเข้าถึงง่าย จะบอกว่าเอาภาษามาเล่นก็ไม่ขนาดนั้น ภาษามันคือภาษา แถมความรู้ของภาษาที่เราได้กลับไปก็เยอะมาก
พี่ก็อยากค่ะ
ชาวช่องพร้อมสนับสนุนมากกกกค่ะ รอโฆษณาเข้าอย่างเดียว
16:58 นรเป็นผู้ชาย นารีเป็นผู้หญิง นาราเป็นกะเทยขายเครป
ขำจะตาย 55555555555555
เหมือนทุก Ep. รายการจะยกตัวอย่างรากภาษาตระกูล Indo-European เลยอยากให้ทำ Ep. ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ตระกูลภาษา Indo-European ว่ามันมีความสัมพันธ์กับภาษาอื่นๆ อย่างไรบ้างนะครับ ^^
ดันค่ะ
จริงค่ะ ชอบมากกก อยากให้มีอีพีอธิบายความเชื่อมโยงของตระกูลภาษา Indo-European หลายๆอีพี พอรู้แล้วมันฟินจริงๆ
จริงครับ ถ้าคนไม่มีความรู้หรือผ่านวิชาทางภาษาศาสตร์มาจะงง ไปเลย
ทำให้อยากดูคลิปผ้าอาบน้ำฝนเลย ขอคุณแดงโปรดปล่อยคลิป
+1 ครับ 😂😂😂
อยากดูคลิปผ้าอาบน้ำฝน = อยากดูอิมินา มินา วะกาเอ้เอ....
+1 ค่ะ
ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด😅
+ ล้าน
18:55 มลายเป็นคำไทยแท้ครับ แปลว่า ผ่าออก แยกจากกัน แตก ทำลาย แต่เป็นคำไทยโบราณสมัยสุโขทัย-อยุธยาตอนต้น พวกคำที่มี มล- แบบ มลาย แมลง แมลบ มลื่น เมล็ด เมล็น เป็นคำไทยแท้หมดครับ แต่ก่อนภาษาไทยสมัยนู้น มีเสียงควบกล้ำ มล- ที่ไม่ใช่ มะละ แต่ออกเสียงควบแบบ มล- เหมือน บล- แต่พอสมัยอยุธยาตอนกลางเสียงควบกล้ำหายไปเหลือแค่เสียงเดียว ในภาษาไทยกลางจะกลายเป็นเสียง ล- เช่น ลาย แลบ(แลบลิ้น, ฟ้าแลบ) แลง(แมง ปัจจุบันไม่ใช่แล้ว) ลื่น เล็ด(เม็ด แต่ไม่ใช้แล้ว) เล็น(ตัวเล็น พวกเห็บ เหา หมัด) แต่ถ้าใครรู้ภาษาเหนือ-ลาว-อีสาน จะรู้ว่าเสียง มล- ไม่ได้กลายเป็น ล- แบบภาษาไทยกลาง แต่กลายเป็นเสียง ม- เช่น มาย(ผ่าออก) แมง(ภาษาไทยกลางไปยืมคำจากภาษาถิ่นมาใช้แทนคำตัวเองที่เคยใช้ว่า แลง) แมบ(ฟ้าแลบ แลบลิ้น) มื่น เม็ดส่วนในกรณีที่ภาษาไทยในบางคำยังเห็นใช้ มล- อยู่ เกิดจากการที่คนไทยสมัยใหม่ไปเห็นรูปตัวเขียนจากสมัยอยุธยาตอนต้น แล้วนำรูปนั้นกลับมาใช้ใหม่ อาจจะเพราะมันดูเฟี้ยวดีดูเป็นคำโบราณ เช่น แมลง มลาย อย่างใน ไม้มลาย ไ (แปลว่าผ่าออก แบ่งซีก) แต่ไม่ได้ออกเสียงเหมือนภาษาไทยโบราณแล้ว เพราะภาษาไทยปัจจุบันไม่อนุญาติให้มีเสียงควบกล้ำ มล- แล้ว คนไทยเลยออกเสียงไม่ได้ เลยต้องเติมสระเข้าไปแทรกกลาง แมลง (แมลฺง กลายเป็น มะแลง, มลฺาย กลายเป็น มะลาย)
คนแก่แถวบ้าน ยังพูดคำว่า มาย อยู่เหมือนกัน
ช่วยอธิบายเพิ่มเติมนะครับมลาย (ลาย-มาย) เช่น ไข้มายไปพ่องแล้ว แปลว่า สร่างไข้บ้างแล้ว, แมลง (แลง-แมง) คำนี้ไม่ต้องอธิบายก็ได้เนาะ, แมลบ (แลบ-แมบ) เช่น ฟ้าแมบ, มลื่น (ลื่น-มื่น) พื้นเฮือนมื่นขนาด แปลว่า ใต้ถุนลื่นมาก, เมล็ด (เล็ด-เม็ด) แต่คำนี้คนเหนือจะออกเสียงเป็น แม็ด เช่น เยี่ยวแม็ด ก็คือ ฉี่เล็ด, เมล็น (เล็น-เม็น) หมาเป็นเม็น ก็คือ หมาติดเห็บ ติดเล็นขอแถมให้อีกคำ คือ มล้าง (ล้าง-ม้าง) แปลว่า ทำให้พ่ายแพ้ไป ทำให้ตาย ทำลาย ภาษาไทยกลางน่าจะคุ้นกับคำว่า ล้างโคตร ล้างให้สิ้น ภาษาเหนือ ม้างแปลว่า งัด รื้อ ด้วยก็ได้ ม้างเฮือน
มีคำว่า มลืนตา ด้วยครับ สมัยอยุธยาตอนกลางกลายเป็น ลืนตา แต่พอรัตนโกสินทร์ช่วงไหนไม่รู้ที่ตัวสะกด น กลายเป็น ม แทน กลายเป็น ลืมตา แต่ถ้าภาษาเหนือหรือภาษาลาวจะเป็น มืนตาส่วนถ้าไปดูภาษาโคราช ซึ่งเป็นภาษาที่พัฒนามาจากภาษาไทยยุคกลางสมัยอยุธยาตอนกลาง (เนื่องจากพระนารายณ์มหาราชไปสร้างหัวเมืองใหม่ตรงโคราชปัจจุบันแล้วคนจากภาคกลางอพยพไป) จะเห็นว่าเก็บคำสมัยอยุธยาตอนกลางไว้ได้อยู่ด้วยครับ คำว่า มลืนตา ก็ยังเป็น ลืนตา หรือคำว่า เล็ด ที่แปลว่าเมล็ด ก็ยังใช้อยู่
มลาย คนใต้ปัจจุบันออกเสียงว่า ลาย แปลว่า ทำลาย แยก เอาออก เหมือนกันค่ะ
13:30 ลักษณะอะไรทำนองนี้ในภาษาพม่ามีให้เห็นเลยครับ category ทรงนี้ ภาษาพม่าจัดให้เป็นลักษณะของคำควบไม่แท้ ก็คือ พม่ามีอักษร က และ ဂ (อ่านว่า ก้ะ ทั้งคู่ เทียบเสียงได้ ก.ไก่ ในภาษาไทย) แต่ถ้าเมื่อไหร่รวมกับอักษร ြ- หรือ ตัวอักษร -ျ (เป็นอักษรควบกล้ำเทียบได้เสียงควบกล้ำ ย.ยักษ์) (ขออภัยในรูปวงกลมตัวประ มันพิมพ์เครื่องหมายขีดด้านในตัวนี้ไม่ได้จริงๆ) จะได้คำที่เขียนว่า ကြ และ ဂြ หรือ ကျ และ ဂျ ทั้งหมดนี้อ่านว่า "จ้ะ" ไม่ได้อ่านควบเป็นควบแท้ "กย่ะ" แต่อย่างใดเลยตัวอย่างคำศัพท์ကြာ (อ่านว่า "จ่า") แปลว่า ดอกบัวကျား (อ่านว่า "จา") แปลว่า เสือ(หมายเหตุ: นี่เป็นภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งและมัณฑะเลย์นะครับ)
อยากให้พี่ต่อรีวิวสวรรค์ทั้ง 7 ชั้น วอนทีมงานเอาไปพิจารณาด้วยนะคะ ❤❤
6
แล้วใช้คำว่ารีวิว 555555555555555555555555 เธออออออออ 5555555555555
เพิ่มเติมนิดนึงครับ สวรรค์มีแค่หกชั้นครับ หรือเรียกว่า ฉกามาพจร/ฉกามาวจร คำว่า ฉ (ฉะ) ในที่นี้หมายถึง 6 แหละครับ
สิ่งที่ต้องขอบคุณนอกเหนือจากความรอบรู้ของพี่ต่อ คือพี่พง ที่มีการขมวดปม เป็นตัวแทนของผู้ชมตาดำๆที่ไม่รู้เรื่อง บาลี สันสกฤต แบบเราพี่พง คือทำหน้าที่ได้ดีมสก ช่วยขยายความอีกทีนึงต่อจากะพี่ต่อ และแทรกความเชื่อมโยงภาษาอังกฤษ เข้าไปด้วย ทำให่เราเห็นภาพได้ง่ายขึ้นจริงๆครับขอชื่นชม มากๆเลย
คนไม่ใช่สายอักษรยังฟังง่าย เข้าใจ ความรู้แน่นๆ ฟังแล้วเหมือนสมองเรืองแสง ยิ่งได้อ่านคนที่มาเสริมเนื้อหาในคอมเม้นคือสมองเรืองแสงเจิดจ้าเลยค่ะ555555555 เหมือนได้เห็นพื้นที่ของคนที่มีแพชชั่นทางด้านสายภาษา-อักษรได้ปล่อยพลังสุดๆ
มลาย เป็นคำไทดั้งเดิม แปลว่า หาย สิ้นสุด เช่น ไม้มลาย ไม้(เครื่องหมาย)ที่เส้นปล่อยหายไปยังมีใช้ในภาษาถิ่นภาคเหนือ คือคำว่า มาย แปลว่า คลาย หายมล คำกึ่งควบกล้ำประมาณนี้ เช่น มลาย(มาย) มแลบ(แมบ) มล้าง(ม้าง)
👍
นึกถึงโคลง โคควายวายชีพได้ เขาหนังเป็นสิ่งเป็นอันยัง อยู่ไซร้คนเด็ดดับศูนย์สัง- ขารร่างเป็นชื่อเป็นเสียงได้ แต่ร้ายกลับดี ฯความหมายใกล้เคียงกันมาก
อันนี้เป็นข้อมูลจากราชบัณฑิตปี 2539 (และพจนานุกรมราชบัณฑิตฉบับออนไลน์) มาแลกเปลี่ยนค่ะวสันต์ (วสนฺต) = ฤดูใบไม้ผลิวสฺสาน (วัสสานะ) = ฤดูฝน
แล้วฤดูใบไม้ร่วงใช้คำว่าอะไรเหรอครับ
@@giant7334 สารทฤดูค่ะ
@@giant7334 ศารท, สารท ครับ
@@giant7334สารทค่ะ
@@giant7334 น่าจะ สารท ศราท (สาระทะ)
เสียง จ เพี้ยนเป็น ก ได้จริงๆ ฮะ ในทำนองเดียวกัน ฮอนด้าแก๊ส(แจ๊ส) เก็บ(เจ็บ) เลขเก็ด(เจ็ด) ก็แผลงได้เช่นกันคอนเฟิร์มโดยคนขอนแจ่นที่กำลังจินข้าวแลง :)
โอ๊ยยยยยย ฉันหัวจนว่า😊 5555
ถึงเวลา ทำ Subscriptions เพื่อดู Contents ที่ไม่ได้ Public แล้วครับ
อยากว่างแปะช่วงเวลาแต่ละช็อตให้นะครับ แต่ยังไม่ว่างเลย เป็นเอฟตีรายการนี้จริงๆ
ยิ่งดูแต่ละอีพีก็รู้สึกว่าคุณแดงตัดสินใจถูกมากเลยค่ะที่เปิดช่องนี้ให้คุณพี่จิโต้ ความรู้แบบไหลเป็นน้ำทุกวินาทีแบบนี้ ปล่ิอยไว้เสียดายแย่เลย แล้วพอจับคู่กับพี่พงษ์ที่เนิร์ดแบบศีลเสมอกัน กลายเป็นไม่น่าเบื่อเฉ๊ย ทั้งทีีไม่ต้องใส่ซาวด์อะไร ภาพประกอบแทบไม่มี เป็นความสนุกทางภาษาเพียวๆเลย สนุกที่จะได้รอดูว่าวีคต่อๆไปจะเอาคำว่าอะไรมา ขอบคุณที่ทำให้ในหนึ่งวีคมีอะไรให้รอคอยเพิ่มนะคะ :))
ขอบคุณนะคะ ดีใจมาก
@@jitraphan ดีใจเช่นกันค่าที่ได้ดูได้ฟังงานดีๆ ^^*
จากใจครูภาษาไทย ได้ความเพิ่มเติมเยอะเลยค่ะ ไทยเพียวสุดๆ
เป็นวรรคที่เขียนอยู่บนผนังตึกเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) ของคณะสัตวแพทย์ ม.เกษตรค่ะ วันนี้ได้รู้ความหมายแบบลึกแบบละเอียดซะที ขอบคุณค่ะ❤
เสียดายสมัยก่อนที่ รร. ไม่เคยได้เรียนวิชาภาษาที่สนุกๆแบบนี้เลยค่ะ มีประโยชน์มากๆๆๆเลย ยังดีที่ได้มาเจอช่องนี้ถึงตอนนี้ผมจะเริ่มเปลี่ยนสีแล้วก็ตาม 😂 คือสนุกมาก เนื้อหาดีมาก เป็นกำลังใจให้นะคะ ติดตามค่ะ ❤❤
อยากให้รายการนี้มีกระดาน smart board ด้วยจังค่ะ จะช่วยให้มองเห็นความเชื่อมโยงได้ง่ายขึ้น 😅 เพราะความรู้มีอยู่ทุกพยางค์เลย พี่ต่อช่วยด้วย จดไม่ทันค้าาาาา 😂❤
สัญลักษณ์ของเดือนพฤษภาคม เลยเป็นกลุ่มดาววัวอย่างงี้นี่เองงงงงงงงง
ไปดูช่างเชื่อมตอนราศีใดจะเก็ทมากขึ้นครับ มีครบ 12 ราศีเลยและเอาจริงๆ ชื่อเดือนภาษาไทยคือเก๋ทุกเดือน เพราะทุกเดือนคือชื่อดาวประจำราศีหมดเลยครับ อย่างเช่นมีนาคม = มีน + อาคม และ มีน (มีนะ) แปลว่า ปลา ทำให้ราศีของเดือนที่ 3 เป็นรูปปลา เป็นต้น
กดติดตามทันทีที่เห็นว่าเป็นช่องของพี่ต่อ พี่ต่อน่ารักมาก พี่ต่อดูมีความสุขขึ้นมากเลย ขอให้ช่องเติบโตขึ้นในเร็ววันนะครับ
อันนี้แปลไม่ยากเท่าบทสวดต่างๆ แต่สนุกมากๆ พี่ต่อพี่พงษ์คือคุณค่าที่คุณคู่ควรพรุ่งนี้จะเอาไปใช้เลย "พหูติ ทำเองเลยค่ะขุ่นพรี่" 🤣🤣🤣
อีพีนี้ตั้งใจดูหลายรอบมาก คำศัพท์ใหม่ๆ เยอะเลยค่ะ ขอบคุณสำหรับความรู้ใหม่ๆ นะคะ ทั้งสองคนเล่าสนุกมากๆๆๆๆๆ เลยค่ะ รออีพีต่อไปนะคะ
ทำให้ฟังการแปลภาษาบาลีสันสกฤตสนุกมากมากเลยครับ
พี่ต่อคือ หวานๆ แต่อัดแน่นไปด้วยความรู้ สมกับที่ทำเล่มปอเอกใช้ปกสีชมพู 💖
และมีกลิ่นหอม 5555555
พี่ต่อน่ารักเหมือนลูกพีช
ชอบรายนี้มาก ๆ เลยคับ รู้สึกว่าใจความของบทก็เรื่องหนึ่ง ส่วนในแต่ละคำที่ผู้ประพันธ์คัดสรรมาเขียนนั้นก็มีเรื่องราวของคำเสริมไปอีก สุดยอดไปเลยคับ
ตอนเด็ก อจ ให้ท่องอย่างเดียว ขอบคุณความรู้จากชนีทั้ง 2
ครูภาษาไทยสอนโคลงบทนี้ตอนม.4 ทำให้รักวิชาภาษาไทยมาก แม้เราจะเรียนสายวิทย์ก็ตาม
อาราธนาธรรม นิมนต์ขอรับ🙏🏼🙏🙏🏼
"มันไม่ง่ายน้าาา แต่มันก็ไม่ยากหลอก" เอิ้ก....อ้าก....555
ก
ได้ความรู้เยอะเลยค่ะ เราพอรู้ว่ากลอนนี้มันแปลว่าอะไรบ้าง แต่เพิ่งมารู้รากของแต่ละคำวันนี้นี่แหละค่ะ ว้าวมาก ขอบคุณนะคะ
ดูรายการแล้วได้ความรู้แบบสนุกมากค่ะ เป็นกำลังใจให้ทีมงานทำงานดีๆ แบบนี้ต่อไปนะคะ
ขอบคุณนะคะ ชื่นใจ
ผู้ดำเนินรายการไหลลื่น มากความสามารถด้านภาษา ทำเรื่องยากให้ง่าย และสนุกสนานไม่น่าเบื่อ นับวันรอชมเลยครับ
พี่พง หูยยยยย.....ได้ตื่นเต้นมากๆๆ 🫨🫨🫨
ตอนเรียนภาษาบาลีสันสกฤตยากมากๆ พอมาดูพี่ต่อยากเหมือนเดิมเพิ่มเติมคือสนุกดี
น่ารักจังคะน้องต่อ ได้รับความรู้เยอะเลยคะ❤❤❤
หัวเราะอร่อยมาก ชอบมาก ดูทุกตอน กดไลค์ทุกตอน ขอบคุณนะคะ 😊
สนุกมาก! และชอบสุภาษิตวันนี้สุด ๆ 😂😂
สนุกมากก ชอบที่มีรากศัพท์นี่แหละ
19:56 ลั่นอะ😂😂😂 ขอนุยาตขำไหล่โยกค่ะ
กรี๊ดดดดด เห็นปู๊บ กดปั๊บ รีบเข้ามาเลยค่า
สนุกมากค่ะ ทำออกมาเยอะๆนะคะ ไม่มีใครทำคลิปแนวนี้มาก่อนเลย สุดยอดมากค่ะ
ชอบรายการสนุกมาก อยากดูเทปผ้าอาบน้ำฝนเลยค่ะ (เทปนี้ดูแล้วเหมือนพี่พงษ์กับพี่ต่อนั่งส่องกระจกคุยกะตัวเองเลย 55)
ชอบช่วงท้ายรายการ เปิดโลกด้านภาษามากๆ
2คนนี้เคมีเข้ากันมากๆ
ชอบเสียงหน้าม้าหลังกล้องมาก นึกถึงช่างเชื่อมช่วงแรก ๆ
"กฤษณาสอนน้องคำฉันท์" ถ้าตามในบทร้อยกรองที่เอามาใช้ใน ep. นี้คือส่วนหนึ่งในพระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชช่วงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยช่วงของบทนี้เชื่อว่าเชื้อเดิมมาจากหลายที่ ทั้งจากในกฤษณาสอนน้องคำฉันท์ฉบับกรุงธนบุรี หรือในบทโคลงสี่สุภาพบทนึงของโคลงโลกนิติซึ่งมีการพูดถึงในลักษณะว่า "วัวควายตายไปเหลือเขาหนังไว้ใช้งาน แต่คนตายไปเหลือแต่ความดีความชั่ว" แต่ก็ยังไม่ตายตัวนะครับ เป็นสมมุติฐานล้วนๆสองบทที่ยกมาถกนี้มีความพีคเรื่องนึงคือ ถ้าดูฉันทลักษณ์มันจะขัดแย้งกับชื่อเรื่องมากๆ ก็คือ ลักษณะการใช้คำแบบนี้ที่ไม่มีการบังคับการใช้คำเสียงหนัก-เสียงเบา (คำครุ-ลหุ) ที่ชัดเจน มันจะไม่ใช่ลักษณะของการแต่งฉันท์ แต่มันจะไปในลักษณะของการแต่งกาพย์มากกว่า (แต่ชื่อเรื่องจั่วหัวว่าเป็นคำฉันท์)วรรคหน้า 5 พยางค์ วรรคหลัง 6 พยางค์ และมีสัมผัสตามฉันทลักษณ์นี้ เป็นลักษณะร่วมกันของคำประพันธ์ 2 แบบ- ถ้าไม่มีการบังคับครุ-ลหุ อย่างการแต่งฉันท์ นี่คือ "กาพย์ยานี 11"- ถ้ามีการบังคับคำครุ-ลหุ แบบการแต่งฉันท์ จะกลายเป็น "อินทรวิเชียรฉันท์ 11" (ฉันท์ที่มีลีลาดุจสายฟ้าของพระอินทร์ อินทร = พระอินทร์ , วิเชียร = สายฟ้า)25:36 อีกอย่างที่ทุกคนคุ้นหมดเพราะนี่คือหนึ่งในบทอาขยานที่หลายคนเคยท่องเรียนครับ
จริงครับ ยังงงอยู่ว่าชื่อเรื่องเรียกคำฉันท์ แต่ทำไมบทนี้มาเป็นกาพย์เลย
@@sira1593 ถ้าที่ผมเข้าใจนะ น่าจะเพราะการเลือกใช้คำอะครับ ถ้าแต่งเป็นกาพย์เราจะมีตัวเลือกใช้คำมากกว่า คนอ่านแปลออกมาง่ายกว่า แต่ถ้าแต่งฉันท์การแต่งจะยากขึ้นทันที การเลือกใช้คำก็จะมามีผลอย่างมากๆ และโอกาสที่คนอ่านจะอ่านแล้วรู้เรื่องทันทีก็จะน้อยลงไปด้วยครับ
@@sira1593คำฉันท์ เป็นรูปแบบหนึ่งของวรรณคดีครับ เช่นเดียวกันกับพวก คำโคลง คำกลอน เพลงยาว กลอนสวด กลอนสุภาพ หลักของการเรียกมักจะใช้ฉันทลักษณ์หลักของวรรณกรรมนั้นๆ มาเป็นตัวกำหนดชื่อครับ เช่น กากีคำโคลง เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน จริงๆของพวกนี้เป็นรสของวรรณกรรมครับ ถ้าหากเขียนด้วยฉันทลักษณ์เดิมซ้ำๆ บางครั้งจะทำให้น่าเบื่อ ไม่น่าติดตาม และให้อารมณ์ไม่พอ
วัฒนธรรมการเสพที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย ทำให้ข้อบังคับเเละนิยามของความเป็นฉันท์มันต่างกันครับ ฉะนั้น เราไปติคนโบราณว่าแต่งไม่ถูกฉันทลักษณ์ก็ไม่ใช่เพราะถ้าเอาไปวัดอย่างนั้น สมุทรโฆษ เสือโค อนิรุทก็เป็นเรื่องที่แต่งผิดหมด ครุ ลหุ ในสมัยก่อนอยู่ที่การออกเสียงหนักเบาที่เรียกว่าจังหวะ เพราะธรรมชาติของภาษาไทยไม่ได้มีคำที่เป็นคณะลหุ ครุตรง ๆ อย่างบาลี สันสกฤตที่เป็นต้นทาง การตัดสินแข่งขันฉันท์ในปัจจุบัน บางสำนักก็ยังนำ -ำ เป็นลหุอยู่ แต่บางสำนักก็ถือว่าผิดไป การยกตัวอย่างคณะฉันท์ที่เห็นได้ชัดคือในจินดามณี เรากินแตงโม ลูกไอ้กระโต จำเภาะเจาะนาน ทำหง่อยอยู่ใย กูจะใคร่ราน ไม้ระพะภาน ฉิฉะสงสาร แนะให้เกาะชาย มี 8 คณะฉันท์ตามบาลีคือสพฺพญฺญู โม สุมุนิ โนสุคโต โส มุนินฺท โชมาราริ โต มารชิ โภนายโก โร มเหสี โย
@@fc-kf4btขอบคุณสำหรับคอมเม้นต์นะครับ
ยอดเยี่ยมมากค่ะ 🎉🎉🎉
23:27 ช่วงนี้กำลังหาอ่านไซอิ๋ว เจอคำคุ้นหูพอดีเลยค่ะ 🥺
❤❤สนุกความรู้จุกๆๆๆๆจร้า
ชอบรายการนี้มาก
เพิ่ง9วันเองอ่ะ รู้สึกเหมือนของขาดมาเดือนนึง อยากเติมบาลีสันสกฤตแล้วค่ะะะ
ย้อนดูตอนเก่าๆ เพิ่มวิวให้ก่อนนะคะ
ชอบมากคับ ได้คำศัพท์ใหม่ๆไปแต่งกลอนเยอะมาก
6:06 ช่วงแถบๆ นี้มีใครมาตอบให้ผมได้บ้างป่ะครับว่า "พระโคนนทิ" เกี่ยวกับอะไรตรงนี้ยังงัยบ้างครับ ขอสัก 2-3 เรื่องก็ได้ครับ ขอบคุณล่วงหน้าครับ
สนุกกกก พร้อมคลิปถัดไปแล้ววว ขอให้สปอนไหลมาเทมาค่ะ
สนุกจังเลย. ฟังเพลินมาก
ภาษาเขมรที่พี่ต่อบอก น่าจะเป็น ภาษาขอมมากว่านะคะ จากงานวิจัยล่าสุดเขมรไม่ได้คิดค้น แต่ได้รับจากชาวขอม(กลุ่มคนแถบภาคอีสานในไทยในอดีต) มาอีกที จากศิลาจากรึต่างๆ ใช้อักษรเขมรแปล แต่ไม่มีความหมาย แต่ใช้อักษร ขอม ถึงแปลความหมายได้
เห็นปุ๊บดูปั๊บfcค่ะ
9:26 มิน่าแหละ แอบเชื่อมโยงกับจีนญี่ปุ่นนิดนึงนะ คือเราก็แอบสงสัยตอนเรียนญี่ปุ่นว่า ทำไมถึงเรียกควายว่า 水牛 (ญ: ซุยกิว | จ: ซุ่ยหนิว) อาจจะมาจากตรงนี้รึป่าวนะ แอบเดา ตอนเราเรียนแรก ๆ ก็เอ๊ะ อะไรคือวัวน้ำ 😂
เกาหลีก็เรียกควายว่า มุลโซ (มุล=น้ำ) เหมือนกันค่ะ วัฒนธรรมร่วมแน่ ๆ เลย 😂
อยากให้พี่ต่อไปfeatในทูตธรรมของหมอบีค่ะ หมอบีแอบอยากชวนพี่ต่อมานั่งคุยกัน ถ้าได้จัดรายการด้วยกันคงคุยกันสนุกมากๆๆและได้ความรู้อีกเยอะแน่เลยค่า❤
เอาล่ะ คาใจเรื่องผ้าอาบน้ำฝนแล้วทีนี้ อยากฟังบทอิมินา เอ๊ะเอ~ 😂
สปอนเซอร์เข้าเยอะๆน้าาาา รายการคุณภาพพพพ
สปอนเข้าด่วนนนน อยากดูรายการนี้นานๆค่า
17:53 เอาละ หลังจากนี้เวลาเรียกผู้หญิงว่าชนี แล้วนางโกรธ หรือคิดว่าเราด่า ฉันก็จะเปิดตรงนี้ให้นางดู 😂 / เปิดโลกมากกก สปอนเข้าเถอะ อยากดูนานๆ เพลินทุก EP ❤
สนุกค่า.❤
6:38 คือพระแม่โคกามเทนุ ไม่ใช่พระอินทร์ นะคะ❤
ดูจบแล้วค่ะ ลงคริปใหม่ได้เลย
รอตอนใหม่อยู่เด้อ พ้าวลง
ชอบทุกตอนเลย รอตอนต่อไปเลยค่ะ
ขอบคุณนะคะ
สนุกมากๆ
ดิน น้ำ ลม ไฟ รวม(จิ) เป็น กาย
รอนานมากกกกก
สนุกมากค่าา
พี่ต่อขาน่ารักกกก
อยากให้ทำสไลด์สรุปคำต่างๆ ที่เสนอไปในรายการ ไว้ตอนท้ายคลิปด้วย สัก เฟรมละ 30-45 วินาที น่าจะดีครับ
ชอบมากคาาาา🎉
รอนานมากก
ชอบมากๆ ครับ
มีคำถามค่ะตรงคำแปลคำอ่านภาษาบาลี √ มีหลักการอ่านยังไงคะ ขอคีย์เวิร์คที่ค้นต่อได้ ขอบคุณค่ะ
ปรบมืออออ มาแล้วว
เป็นรายการที่เปิดโลกคำศัพท์ไทยมากๆ ไม่เคยคิดเลยว่าคำว่า กาย กับ เจดีย์ จะมีที่มาจากคำเดียวกัน เป็นรายการที่เด็กเตรียมสอบA-levelควรดูมากๆ
แต่ได้คะแนนเท่าไหร่ก็อีกเรื่องนะคะ
พอร้อง อิมินา วากะวากะ เอ๊ะ เอ๊ะ อยากดูเลยค่ะ ฮ่าๆ
รอครับ
ชอบมาก
ชอบมากครับ อยากให้ทำเรื่องเดือนครับ
สนุกมากกกกกก
สนุก
โลกะแล้วค่ะ อัพepต่อไปได้เลย
ขอบท อาราธนาศ๊ล อาราธนาธรรม อาราธนาพระปริตร ชุมนุมเทวดา หน่อยครับ
อยากดูEP.ผ้าอาบน้ำฝนทำไมไม่ผ่าน555555😂😂😂
ชอบประโยคสุดท้าย พหูติ มาทำเองเลยค่ะ อิอิ
อยากได้บท ชินบัญชรแบบย่อ ที่ใช้ไล่ผี แล้วความหมายมันไล่ผี ปีศาจจริงไหมคะ
*-* ท่องโลกกว้าง เปิดโลก
รบกวนย่อย สวรรค์เป็นEP หน่อยครับ
จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว
งั้น Avalanche ที่แปลว่า“ทลายลงมา”มาจากรากศัพท์ อว- เหมือนกันมั้ยคะ
อยากสอบถาม คำว่า ทำแผล ทำไมแปลว่ารักษาแผลครับทำ คือการสร้าง การก่อ ทำไมถึงไม่แปลว่าคือการสร้างแผลครับ
ชอบรายการนี้มากครับ 😂
รอร๊อรออออ นิมนต์เจ้าค่ะท่าน😂
พหูติ = รู้มาก = มิงทำเองเลยค่าาาาาาาาาาาาาาาาาาาา
ควายน้ำ คือควายทาม แถวบ้านจะมีควายทาม น้องชอบลงไปอยู่ในน้ำแล้วกินดอกบัวในน้ำ น่ารักดี
อยากให้โฆษณาเข้ามากเป็นรายการที่ดีมีทั้งความรู้และสาระแถมยังตลกเข้าถึงง่าย จะบอกว่าเอาภาษามาเล่นก็ไม่ขนาดนั้น ภาษามันคือภาษา แถมความรู้ของภาษาที่เราได้กลับไปก็เยอะมาก
พี่ก็อยากค่ะ
ชาวช่องพร้อมสนับสนุนมากกกกค่ะ รอโฆษณาเข้าอย่างเดียว
16:58 นรเป็นผู้ชาย นารีเป็นผู้หญิง นาราเป็นกะเทยขายเครป
ขำจะตาย 55555555555555
เหมือนทุก Ep. รายการจะยกตัวอย่างรากภาษาตระกูล Indo-European เลยอยากให้ทำ Ep. ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ตระกูลภาษา Indo-European ว่ามันมีความสัมพันธ์กับภาษาอื่นๆ อย่างไรบ้างนะครับ ^^
ดันค่ะ
จริงค่ะ ชอบมากกก อยากให้มีอีพีอธิบายความเชื่อมโยงของตระกูลภาษา Indo-European หลายๆอีพี พอรู้แล้วมันฟินจริงๆ
จริงครับ ถ้าคนไม่มีความรู้หรือผ่านวิชาทางภาษาศาสตร์มาจะงง ไปเลย
ทำให้อยากดูคลิปผ้าอาบน้ำฝนเลย ขอคุณแดงโปรดปล่อยคลิป
+1 ครับ 😂😂😂
อยากดูคลิปผ้าอาบน้ำฝน = อยากดูอิมินา มินา วะกาเอ้เอ....
+1 ค่ะ
ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด😅
+ ล้าน
18:55 มลายเป็นคำไทยแท้ครับ แปลว่า ผ่าออก แยกจากกัน แตก ทำลาย แต่เป็นคำไทยโบราณสมัยสุโขทัย-อยุธยาตอนต้น พวกคำที่มี มล- แบบ มลาย แมลง แมลบ มลื่น เมล็ด เมล็น เป็นคำไทยแท้หมดครับ แต่ก่อนภาษาไทยสมัยนู้น มีเสียงควบกล้ำ มล- ที่ไม่ใช่ มะละ แต่ออกเสียงควบแบบ มล- เหมือน บล- แต่พอสมัยอยุธยาตอนกลางเสียงควบกล้ำหายไปเหลือแค่เสียงเดียว ในภาษาไทยกลางจะกลายเป็นเสียง ล- เช่น ลาย แลบ(แลบลิ้น, ฟ้าแลบ) แลง(แมง ปัจจุบันไม่ใช่แล้ว) ลื่น เล็ด(เม็ด แต่ไม่ใช้แล้ว) เล็น(ตัวเล็น พวกเห็บ เหา หมัด) แต่ถ้าใครรู้ภาษาเหนือ-ลาว-อีสาน จะรู้ว่าเสียง มล- ไม่ได้กลายเป็น ล- แบบภาษาไทยกลาง แต่กลายเป็นเสียง ม- เช่น มาย(ผ่าออก) แมง(ภาษาไทยกลางไปยืมคำจากภาษาถิ่นมาใช้แทนคำตัวเองที่เคยใช้ว่า แลง) แมบ(ฟ้าแลบ แลบลิ้น) มื่น เม็ด
ส่วนในกรณีที่ภาษาไทยในบางคำยังเห็นใช้ มล- อยู่ เกิดจากการที่คนไทยสมัยใหม่ไปเห็นรูปตัวเขียนจากสมัยอยุธยาตอนต้น แล้วนำรูปนั้นกลับมาใช้ใหม่ อาจจะเพราะมันดูเฟี้ยวดีดูเป็นคำโบราณ เช่น แมลง มลาย อย่างใน ไม้มลาย ไ (แปลว่าผ่าออก แบ่งซีก) แต่ไม่ได้ออกเสียงเหมือนภาษาไทยโบราณแล้ว เพราะภาษาไทยปัจจุบันไม่อนุญาติให้มีเสียงควบกล้ำ มล- แล้ว คนไทยเลยออกเสียงไม่ได้ เลยต้องเติมสระเข้าไปแทรกกลาง แมลง (แมลฺง กลายเป็น มะแลง, มลฺาย กลายเป็น มะลาย)
คนแก่แถวบ้าน ยังพูดคำว่า มาย อยู่เหมือนกัน
ช่วยอธิบายเพิ่มเติมนะครับ
มลาย (ลาย-มาย) เช่น ไข้มายไปพ่องแล้ว แปลว่า สร่างไข้บ้างแล้ว, แมลง (แลง-แมง) คำนี้ไม่ต้องอธิบายก็ได้เนาะ, แมลบ (แลบ-แมบ) เช่น ฟ้าแมบ, มลื่น (ลื่น-มื่น) พื้นเฮือนมื่นขนาด แปลว่า ใต้ถุนลื่นมาก, เมล็ด (เล็ด-เม็ด) แต่คำนี้คนเหนือจะออกเสียงเป็น แม็ด เช่น เยี่ยวแม็ด ก็คือ ฉี่เล็ด, เมล็น (เล็น-เม็น) หมาเป็นเม็น ก็คือ หมาติดเห็บ ติดเล็น
ขอแถมให้อีกคำ คือ มล้าง (ล้าง-ม้าง) แปลว่า ทำให้พ่ายแพ้ไป ทำให้ตาย ทำลาย ภาษาไทยกลางน่าจะคุ้นกับคำว่า ล้างโคตร ล้างให้สิ้น ภาษาเหนือ ม้างแปลว่า งัด รื้อ ด้วยก็ได้ ม้างเฮือน
มีคำว่า มลืนตา ด้วยครับ สมัยอยุธยาตอนกลางกลายเป็น ลืนตา แต่พอรัตนโกสินทร์ช่วงไหนไม่รู้ที่ตัวสะกด น กลายเป็น ม แทน กลายเป็น ลืมตา แต่ถ้าภาษาเหนือหรือภาษาลาวจะเป็น มืนตา
ส่วนถ้าไปดูภาษาโคราช ซึ่งเป็นภาษาที่พัฒนามาจากภาษาไทยยุคกลางสมัยอยุธยาตอนกลาง (เนื่องจากพระนารายณ์มหาราชไปสร้างหัวเมืองใหม่ตรงโคราชปัจจุบันแล้วคนจากภาคกลางอพยพไป) จะเห็นว่าเก็บคำสมัยอยุธยาตอนกลางไว้ได้อยู่ด้วยครับ คำว่า มลืนตา ก็ยังเป็น ลืนตา หรือคำว่า เล็ด ที่แปลว่าเมล็ด ก็ยังใช้อยู่
มลาย คนใต้ปัจจุบันออกเสียงว่า ลาย แปลว่า ทำลาย แยก เอาออก เหมือนกันค่ะ
13:30 ลักษณะอะไรทำนองนี้ในภาษาพม่ามีให้เห็นเลยครับ category ทรงนี้ ภาษาพม่าจัดให้เป็นลักษณะของคำควบไม่แท้ ก็คือ พม่ามีอักษร က และ ဂ (อ่านว่า ก้ะ ทั้งคู่ เทียบเสียงได้ ก.ไก่ ในภาษาไทย) แต่ถ้าเมื่อไหร่รวมกับอักษร ြ- หรือ ตัวอักษร -ျ (เป็นอักษรควบกล้ำเทียบได้เสียงควบกล้ำ ย.ยักษ์) (ขออภัยในรูปวงกลมตัวประ มันพิมพ์เครื่องหมายขีดด้านในตัวนี้ไม่ได้จริงๆ) จะได้คำที่เขียนว่า ကြ และ ဂြ หรือ ကျ และ ဂျ ทั้งหมดนี้อ่านว่า "จ้ะ" ไม่ได้อ่านควบเป็นควบแท้ "กย่ะ" แต่อย่างใดเลย
ตัวอย่างคำศัพท์
ကြာ (อ่านว่า "จ่า") แปลว่า ดอกบัว
ကျား (อ่านว่า "จา") แปลว่า เสือ
(หมายเหตุ: นี่เป็นภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งและมัณฑะเลย์นะครับ)
อยากให้พี่ต่อรีวิวสวรรค์ทั้ง 7 ชั้น วอนทีมงานเอาไปพิจารณาด้วยนะคะ ❤❤
6
แล้วใช้คำว่ารีวิว 555555555555555555555555 เธออออออออ 5555555555555
เพิ่มเติมนิดนึงครับ สวรรค์มีแค่หกชั้นครับ หรือเรียกว่า ฉกามาพจร/ฉกามาวจร คำว่า ฉ (ฉะ) ในที่นี้หมายถึง 6 แหละครับ
สิ่งที่ต้องขอบคุณนอกเหนือจากความรอบรู้ของพี่ต่อ คือ
พี่พง ที่มีการขมวดปม เป็นตัวแทนของผู้ชมตาดำๆที่ไม่รู้เรื่อง บาลี สันสกฤต แบบเรา
พี่พง คือทำหน้าที่ได้ดีมสก ช่วยขยายความอีกทีนึงต่อจากะพี่ต่อ และแทรกความเชื่อมโยงภาษาอังกฤษ เข้าไปด้วย ทำให่เราเห็นภาพได้ง่ายขึ้นจริงๆครับ
ขอชื่นชม มากๆเลย
คนไม่ใช่สายอักษรยังฟังง่าย เข้าใจ ความรู้แน่นๆ ฟังแล้วเหมือนสมองเรืองแสง ยิ่งได้อ่านคนที่มาเสริมเนื้อหาในคอมเม้นคือสมองเรืองแสงเจิดจ้าเลยค่ะ555555555 เหมือนได้เห็นพื้นที่ของคนที่มีแพชชั่นทางด้านสายภาษา-อักษรได้ปล่อยพลังสุดๆ
มลาย เป็นคำไทดั้งเดิม แปลว่า หาย สิ้นสุด เช่น ไม้มลาย ไม้(เครื่องหมาย)ที่เส้นปล่อยหายไป
ยังมีใช้ในภาษาถิ่นภาคเหนือ คือคำว่า มาย แปลว่า คลาย หาย
มล คำกึ่งควบกล้ำประมาณนี้ เช่น มลาย(มาย) มแลบ(แมบ) มล้าง(ม้าง)
👍
นึกถึงโคลง
โคควายวายชีพได้ เขาหนัง
เป็นสิ่งเป็นอันยัง อยู่ไซร้
คนเด็ดดับศูนย์สัง- ขารร่าง
เป็นชื่อเป็นเสียงได้ แต่ร้ายกลับดี ฯ
ความหมายใกล้เคียงกันมาก
อันนี้เป็นข้อมูลจากราชบัณฑิตปี 2539 (และพจนานุกรมราชบัณฑิตฉบับออนไลน์) มาแลกเปลี่ยนค่ะ
วสันต์ (วสนฺต) = ฤดูใบไม้ผลิ
วสฺสาน (วัสสานะ) = ฤดูฝน
แล้วฤดูใบไม้ร่วงใช้คำว่าอะไรเหรอครับ
@@giant7334 สารทฤดูค่ะ
@@giant7334 ศารท, สารท ครับ
@@giant7334สารทค่ะ
@@giant7334 น่าจะ สารท ศราท (สาระทะ)
เสียง จ เพี้ยนเป็น ก ได้จริงๆ ฮะ ในทำนองเดียวกัน ฮอนด้าแก๊ส(แจ๊ส) เก็บ(เจ็บ) เลขเก็ด(เจ็ด) ก็แผลงได้เช่นกัน
คอนเฟิร์มโดยคนขอนแจ่นที่กำลังจินข้าวแลง :)
โอ๊ยยยยยย ฉันหัวจนว่า😊 5555
ถึงเวลา ทำ Subscriptions เพื่อดู Contents ที่ไม่ได้ Public แล้วครับ
อยากว่างแปะช่วงเวลาแต่ละช็อตให้นะครับ แต่ยังไม่ว่างเลย เป็นเอฟตีรายการนี้จริงๆ
ยิ่งดูแต่ละอีพีก็รู้สึกว่าคุณแดงตัดสินใจถูกมากเลยค่ะที่เปิดช่องนี้ให้คุณพี่จิโต้ ความรู้แบบไหลเป็นน้ำทุกวินาทีแบบนี้ ปล่ิอยไว้เสียดายแย่เลย แล้วพอจับคู่กับพี่พงษ์ที่เนิร์ดแบบศีลเสมอกัน กลายเป็นไม่น่าเบื่อเฉ๊ย ทั้งทีีไม่ต้องใส่ซาวด์อะไร ภาพประกอบแทบไม่มี เป็นความสนุกทางภาษาเพียวๆเลย สนุกที่จะได้รอดูว่าวีคต่อๆไปจะเอาคำว่าอะไรมา ขอบคุณที่ทำให้ในหนึ่งวีคมีอะไรให้รอคอยเพิ่มนะคะ :))
ขอบคุณนะคะ ดีใจมาก
@@jitraphan ดีใจเช่นกันค่าที่ได้ดูได้ฟังงานดีๆ ^^*
จากใจครูภาษาไทย ได้ความเพิ่มเติมเยอะเลยค่ะ ไทยเพียวสุดๆ
เป็นวรรคที่เขียนอยู่บนผนังตึกเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) ของคณะสัตวแพทย์ ม.เกษตรค่ะ วันนี้ได้รู้ความหมายแบบลึกแบบละเอียดซะที ขอบคุณค่ะ❤
เสียดายสมัยก่อนที่ รร. ไม่เคยได้เรียนวิชาภาษาที่สนุกๆแบบนี้เลยค่ะ มีประโยชน์มากๆๆๆเลย ยังดีที่ได้มาเจอช่องนี้ถึงตอนนี้ผมจะเริ่มเปลี่ยนสีแล้วก็ตาม 😂 คือสนุกมาก เนื้อหาดีมาก เป็นกำลังใจให้นะคะ ติดตามค่ะ ❤❤
อยากให้รายการนี้มีกระดาน smart board ด้วยจังค่ะ จะช่วยให้มองเห็นความเชื่อมโยงได้ง่ายขึ้น 😅 เพราะความรู้มีอยู่ทุกพยางค์เลย พี่ต่อช่วยด้วย จดไม่ทันค้าาาาา 😂❤
สัญลักษณ์ของเดือนพฤษภาคม เลยเป็นกลุ่มดาววัวอย่างงี้นี่เองงงงงงงงง
ไปดูช่างเชื่อมตอนราศีใดจะเก็ทมากขึ้นครับ มีครบ 12 ราศีเลย
และเอาจริงๆ ชื่อเดือนภาษาไทยคือเก๋ทุกเดือน เพราะทุกเดือนคือชื่อดาวประจำราศีหมดเลยครับ อย่างเช่น
มีนาคม = มีน + อาคม และ มีน (มีนะ) แปลว่า ปลา ทำให้ราศีของเดือนที่ 3 เป็นรูปปลา เป็นต้น
กดติดตามทันทีที่เห็นว่าเป็นช่องของพี่ต่อ พี่ต่อน่ารักมาก พี่ต่อดูมีความสุขขึ้นมากเลย ขอให้ช่องเติบโตขึ้นในเร็ววันนะครับ
อันนี้แปลไม่ยากเท่าบทสวดต่างๆ แต่สนุกมากๆ พี่ต่อพี่พงษ์คือคุณค่าที่คุณคู่ควร
พรุ่งนี้จะเอาไปใช้เลย "พหูติ ทำเองเลยค่ะขุ่นพรี่" 🤣🤣🤣
อีพีนี้ตั้งใจดูหลายรอบมาก คำศัพท์ใหม่ๆ เยอะเลยค่ะ ขอบคุณสำหรับความรู้ใหม่ๆ นะคะ ทั้งสองคนเล่าสนุกมากๆๆๆๆๆ เลยค่ะ รออีพีต่อไปนะคะ
ทำให้ฟังการแปลภาษาบาลีสันสกฤตสนุกมากมากเลยครับ
พี่ต่อคือ หวานๆ แต่อัดแน่นไปด้วยความรู้ สมกับที่ทำเล่มปอเอกใช้ปกสีชมพู 💖
และมีกลิ่นหอม 5555555
พี่ต่อน่ารักเหมือนลูกพีช
ชอบรายนี้มาก ๆ เลยคับ รู้สึกว่าใจความของบทก็เรื่องหนึ่ง ส่วนในแต่ละคำที่ผู้ประพันธ์คัดสรรมาเขียนนั้นก็มีเรื่องราวของคำเสริมไปอีก สุดยอดไปเลยคับ
ตอนเด็ก อจ ให้ท่องอย่างเดียว ขอบคุณความรู้จากชนีทั้ง 2
ครูภาษาไทยสอนโคลงบทนี้ตอนม.4 ทำให้รักวิชาภาษาไทยมาก แม้เราจะเรียนสายวิทย์ก็ตาม
อาราธนาธรรม นิมนต์ขอรับ🙏🏼🙏🙏🏼
"มันไม่ง่ายน้าาา แต่มันก็ไม่ยากหลอก" เอิ้ก....อ้าก....555
ก
ได้ความรู้เยอะเลยค่ะ เราพอรู้ว่ากลอนนี้มันแปลว่าอะไรบ้าง แต่เพิ่งมารู้รากของแต่ละคำวันนี้นี่แหละค่ะ ว้าวมาก ขอบคุณนะคะ
ดูรายการแล้วได้ความรู้แบบสนุกมากค่ะ เป็นกำลังใจให้ทีมงานทำงานดีๆ แบบนี้ต่อไปนะคะ
ขอบคุณนะคะ ชื่นใจ
ผู้ดำเนินรายการไหลลื่น มากความสามารถด้านภาษา ทำเรื่องยากให้ง่าย และสนุกสนานไม่น่าเบื่อ นับวันรอชมเลยครับ
พี่พง หูยยยยย.....ได้ตื่นเต้นมากๆๆ 🫨🫨🫨
ตอนเรียนภาษาบาลีสันสกฤตยากมากๆ พอมาดูพี่ต่อยากเหมือนเดิมเพิ่มเติมคือสนุกดี
น่ารักจังคะน้องต่อ ได้รับความรู้เยอะเลยคะ❤❤❤
หัวเราะอร่อยมาก ชอบมาก ดูทุกตอน กดไลค์ทุกตอน ขอบคุณนะคะ 😊
สนุกมาก! และชอบสุภาษิตวันนี้สุด ๆ 😂😂
สนุกมากก ชอบที่มีรากศัพท์นี่แหละ
19:56 ลั่นอะ😂😂😂 ขอนุยาตขำไหล่โยกค่ะ
กรี๊ดดดดด เห็นปู๊บ กดปั๊บ รีบเข้ามาเลยค่า
สนุกมากค่ะ ทำออกมาเยอะๆนะคะ ไม่มีใครทำคลิปแนวนี้มาก่อนเลย สุดยอดมากค่ะ
ชอบรายการสนุกมาก อยากดูเทปผ้าอาบน้ำฝนเลยค่ะ (เทปนี้ดูแล้วเหมือนพี่พงษ์กับพี่ต่อนั่งส่องกระจกคุยกะตัวเองเลย 55)
ชอบช่วงท้ายรายการ เปิดโลกด้านภาษามากๆ
2คนนี้เคมีเข้ากันมากๆ
ชอบเสียงหน้าม้าหลังกล้องมาก นึกถึงช่างเชื่อมช่วงแรก ๆ
"กฤษณาสอนน้องคำฉันท์" ถ้าตามในบทร้อยกรองที่เอามาใช้ใน ep. นี้คือส่วนหนึ่งในพระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชช่วงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยช่วงของบทนี้เชื่อว่าเชื้อเดิมมาจากหลายที่ ทั้งจากในกฤษณาสอนน้องคำฉันท์ฉบับกรุงธนบุรี หรือในบทโคลงสี่สุภาพบทนึงของโคลงโลกนิติซึ่งมีการพูดถึงในลักษณะว่า "วัวควายตายไปเหลือเขาหนังไว้ใช้งาน แต่คนตายไปเหลือแต่ความดีความชั่ว" แต่ก็ยังไม่ตายตัวนะครับ เป็นสมมุติฐานล้วนๆ
สองบทที่ยกมาถกนี้มีความพีคเรื่องนึงคือ ถ้าดูฉันทลักษณ์มันจะขัดแย้งกับชื่อเรื่องมากๆ ก็คือ ลักษณะการใช้คำแบบนี้ที่ไม่มีการบังคับการใช้คำเสียงหนัก-เสียงเบา (คำครุ-ลหุ) ที่ชัดเจน มันจะไม่ใช่ลักษณะของการแต่งฉันท์ แต่มันจะไปในลักษณะของการแต่งกาพย์มากกว่า (แต่ชื่อเรื่องจั่วหัวว่าเป็นคำฉันท์)
วรรคหน้า 5 พยางค์ วรรคหลัง 6 พยางค์ และมีสัมผัสตามฉันทลักษณ์นี้ เป็นลักษณะร่วมกันของคำประพันธ์ 2 แบบ
- ถ้าไม่มีการบังคับครุ-ลหุ อย่างการแต่งฉันท์ นี่คือ "กาพย์ยานี 11"
- ถ้ามีการบังคับคำครุ-ลหุ แบบการแต่งฉันท์ จะกลายเป็น "อินทรวิเชียรฉันท์ 11" (ฉันท์ที่มีลีลาดุจสายฟ้าของพระอินทร์ อินทร = พระอินทร์ , วิเชียร = สายฟ้า)
25:36 อีกอย่างที่ทุกคนคุ้นหมดเพราะนี่คือหนึ่งในบทอาขยานที่หลายคนเคยท่องเรียนครับ
จริงครับ ยังงงอยู่ว่าชื่อเรื่องเรียกคำฉันท์ แต่ทำไมบทนี้มาเป็นกาพย์เลย
@@sira1593 ถ้าที่ผมเข้าใจนะ น่าจะเพราะการเลือกใช้คำอะครับ ถ้าแต่งเป็นกาพย์เราจะมีตัวเลือกใช้คำมากกว่า คนอ่านแปลออกมาง่ายกว่า แต่ถ้าแต่งฉันท์การแต่งจะยากขึ้นทันที การเลือกใช้คำก็จะมามีผลอย่างมากๆ และโอกาสที่คนอ่านจะอ่านแล้วรู้เรื่องทันทีก็จะน้อยลงไปด้วยครับ
@@sira1593คำฉันท์ เป็นรูปแบบหนึ่งของวรรณคดีครับ เช่นเดียวกันกับพวก คำโคลง คำกลอน เพลงยาว กลอนสวด กลอนสุภาพ หลักของการเรียกมักจะใช้ฉันทลักษณ์หลักของวรรณกรรมนั้นๆ มาเป็นตัวกำหนดชื่อครับ เช่น กากีคำโคลง เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน จริงๆของพวกนี้เป็นรสของวรรณกรรมครับ ถ้าหากเขียนด้วยฉันทลักษณ์เดิมซ้ำๆ บางครั้งจะทำให้น่าเบื่อ ไม่น่าติดตาม และให้อารมณ์ไม่พอ
วัฒนธรรมการเสพที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย ทำให้ข้อบังคับเเละนิยามของความเป็นฉันท์มันต่างกันครับ ฉะนั้น เราไปติคนโบราณว่าแต่งไม่ถูกฉันทลักษณ์ก็ไม่ใช่เพราะถ้าเอาไปวัดอย่างนั้น สมุทรโฆษ เสือโค อนิรุทก็เป็นเรื่องที่แต่งผิดหมด ครุ ลหุ ในสมัยก่อนอยู่ที่การออกเสียงหนักเบาที่เรียกว่าจังหวะ เพราะธรรมชาติของภาษาไทยไม่ได้มีคำที่เป็นคณะลหุ ครุตรง ๆ อย่างบาลี สันสกฤตที่เป็นต้นทาง
การตัดสินแข่งขันฉันท์ในปัจจุบัน บางสำนักก็ยังนำ -ำ เป็นลหุอยู่ แต่บางสำนักก็ถือว่าผิดไป การยกตัวอย่างคณะฉันท์ที่เห็นได้ชัดคือในจินดามณี เรากินแตงโม ลูกไอ้กระโต จำเภาะเจาะนาน ทำหง่อยอยู่ใย กูจะใคร่ราน ไม้ระพะภาน ฉิฉะสงสาร แนะให้เกาะชาย มี 8 คณะฉันท์ตามบาลีคือ
สพฺพญฺญู โม
สุมุนิ โน
สุคโต โส
มุนินฺท โช
มาราริ โต
มารชิ โภ
นายโก โร
มเหสี โย
@@fc-kf4btขอบคุณสำหรับคอมเม้นต์นะครับ
ยอดเยี่ยมมากค่ะ 🎉🎉🎉
23:27 ช่วงนี้กำลังหาอ่านไซอิ๋ว เจอคำคุ้นหูพอดีเลยค่ะ 🥺
❤❤สนุกความรู้จุกๆๆๆๆจร้า
ชอบรายการนี้มาก
เพิ่ง9วันเองอ่ะ รู้สึกเหมือนของขาดมาเดือนนึง อยากเติมบาลีสันสกฤตแล้วค่ะะะ
ย้อนดูตอนเก่าๆ เพิ่มวิวให้ก่อนนะคะ
ชอบมากคับ ได้คำศัพท์ใหม่ๆไปแต่งกลอนเยอะมาก
6:06 ช่วงแถบๆ นี้มีใครมาตอบให้ผมได้บ้างป่ะครับว่า "พระโคนนทิ" เกี่ยวกับอะไรตรงนี้ยังงัยบ้างครับ ขอสัก 2-3 เรื่องก็ได้ครับ ขอบคุณล่วงหน้าครับ
สนุกกกก พร้อมคลิปถัดไปแล้ววว ขอให้สปอนไหลมาเทมาค่ะ
สนุกจังเลย. ฟังเพลินมาก
ภาษาเขมรที่พี่ต่อบอก น่าจะเป็น ภาษาขอมมากว่านะคะ จากงานวิจัยล่าสุดเขมรไม่ได้คิดค้น แต่ได้รับจากชาวขอม(กลุ่มคนแถบภาคอีสานในไทยในอดีต) มาอีกที จากศิลาจากรึต่างๆ ใช้อักษรเขมรแปล แต่ไม่มีความหมาย แต่ใช้อักษร ขอม ถึงแปลความหมายได้
เห็นปุ๊บดูปั๊บfcค่ะ
9:26 มิน่าแหละ แอบเชื่อมโยงกับจีนญี่ปุ่นนิดนึงนะ คือเราก็แอบสงสัยตอนเรียนญี่ปุ่นว่า ทำไมถึงเรียกควายว่า 水牛 (ญ: ซุยกิว | จ: ซุ่ยหนิว) อาจจะมาจากตรงนี้รึป่าวนะ แอบเดา ตอนเราเรียนแรก ๆ ก็เอ๊ะ อะไรคือวัวน้ำ 😂
เกาหลีก็เรียกควายว่า มุลโซ (มุล=น้ำ) เหมือนกันค่ะ วัฒนธรรมร่วมแน่ ๆ เลย 😂
อยากให้พี่ต่อไปfeatในทูตธรรมของหมอบีค่ะ หมอบีแอบอยากชวนพี่ต่อมานั่งคุยกัน ถ้าได้จัดรายการด้วยกันคงคุยกันสนุกมากๆๆและได้ความรู้อีกเยอะแน่เลยค่า❤
เอาล่ะ คาใจเรื่องผ้าอาบน้ำฝนแล้วทีนี้ อยากฟังบทอิมินา เอ๊ะเอ~ 😂
สปอนเซอร์เข้าเยอะๆน้าาาา รายการคุณภาพพพพ
สปอนเข้าด่วนนนน อยากดูรายการนี้นานๆค่า
17:53 เอาละ หลังจากนี้เวลาเรียกผู้หญิงว่าชนี แล้วนางโกรธ หรือคิดว่าเราด่า ฉันก็จะเปิดตรงนี้ให้นางดู 😂 / เปิดโลกมากกก สปอนเข้าเถอะ อยากดูนานๆ เพลินทุก EP ❤
สนุกค่า.❤
6:38 คือพระแม่โคกามเทนุ
ไม่ใช่พระอินทร์ นะคะ❤
ดูจบแล้วค่ะ ลงคริปใหม่ได้เลย
รอตอนใหม่อยู่เด้อ พ้าวลง
ชอบทุกตอนเลย รอตอนต่อไปเลยค่ะ
ขอบคุณนะคะ
สนุกมากๆ
ดิน น้ำ ลม ไฟ รวม(จิ) เป็น กาย
รอนานมากกกกก
สนุกมากค่าา
พี่ต่อขาน่ารักกกก
อยากให้ทำสไลด์สรุปคำต่างๆ ที่เสนอไปในรายการ ไว้ตอนท้ายคลิปด้วย สัก เฟรมละ 30-45 วินาที น่าจะดีครับ
ชอบมากคาาาา🎉
รอนานมากก
ชอบมากๆ ครับ
มีคำถามค่ะตรงคำแปลคำอ่านภาษาบาลี √ มีหลักการอ่านยังไงคะ ขอคีย์เวิร์คที่ค้นต่อได้ ขอบคุณค่ะ
ปรบมืออออ มาแล้วว
เป็นรายการที่เปิดโลกคำศัพท์ไทยมากๆ ไม่เคยคิดเลยว่าคำว่า กาย กับ เจดีย์ จะมีที่มาจากคำเดียวกัน เป็นรายการที่เด็กเตรียมสอบA-levelควรดูมากๆ
แต่ได้คะแนนเท่าไหร่ก็อีกเรื่องนะคะ
พอร้อง อิมินา วากะวากะ เอ๊ะ เอ๊ะ
อยากดูเลยค่ะ ฮ่าๆ
รอครับ
ชอบมาก
ชอบมากครับ อยากให้ทำเรื่องเดือนครับ
สนุกมากกกกกก
สนุก
โลกะแล้วค่ะ อัพepต่อไปได้เลย
ขอบท อาราธนาศ๊ล อาราธนาธรรม อาราธนาพระปริตร ชุมนุมเทวดา หน่อยครับ
อยากดูEP.ผ้าอาบน้ำฝนทำไมไม่ผ่าน555555😂😂😂
ชอบประโยคสุดท้าย พหูติ มาทำเองเลยค่ะ อิอิ
อยากได้บท ชินบัญชรแบบย่อ ที่ใช้ไล่ผี แล้วความหมายมันไล่ผี ปีศาจจริงไหมคะ
*-* ท่องโลกกว้าง เปิดโลก
รบกวนย่อย สวรรค์เป็นEP หน่อยครับ
จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว จิตเป็นกาย นายเป็นบ่าว
งั้น Avalanche ที่แปลว่า“ทลายลงมา”มาจากรากศัพท์ อว- เหมือนกันมั้ยคะ
อยากสอบถาม คำว่า ทำแผล ทำไมแปลว่ารักษาแผลครับ
ทำ คือการสร้าง การก่อ ทำไมถึงไม่แปลว่าคือการสร้างแผลครับ
ชอบรายการนี้มากครับ 😂
รอร๊อรออออ นิมนต์เจ้าค่ะท่าน😂
พหูติ = รู้มาก = มิงทำเองเลยค่าาาาาาาาาาาาาาาาาาาา
ควายน้ำ คือควายทาม แถวบ้านจะมีควายทาม น้องชอบลงไปอยู่ในน้ำแล้วกินดอกบัวในน้ำ น่ารักดี