Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
สอนเข้าใจมากเลยครับ
เป็นประโยชน์มากๆ ถ้าเป็นโครงสร้างไม้มีวิธีการคิดการสอนไหมครับ
ขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ อยากรู้มานานแล้ว
ลายมือสวยมากครับ
ทำพรีเซ็นดีมากคับ เข้าใจง่ายมาก ผมมีคำถามเพิ่มเติมคับ แล้วกรณีถ้าเรามีแรงกระทำกับเสาละคับ อาจจะ แรงลม หรือก่อนผนังที่เสาพวกนนี้ สูตรที่ต้องใช้แล้ววิธีคิดจะเป็นยังไงคับ
ขอบคุณครับอาจารย์
สวยมากครับ
present เนียนตาดีครับ แต่ลอง take windload ดูครับ ผ่านไหม และ check deflection แป ด้วยครับ
ก็ได้ความรู้ดี
แป ต้อง check deflection ด้วยไหมครับ
ดีมากๆครับ
ขอช่องทางการติดต่อหน่อยครับ ผมรหัส64ต้องเรียนวิชานี้เทอม2/65ครับ...ม.กรุงเทพธนฯเช่นกันครับ
ทำไมไม่เปลี่ยน point load เป็น Uniform+ กับน้ำหนักแป...ไม่ง่ายกว่ารึ.....ควรห่วิธีง่ายๆมาแนะนำนะ
โครงงานออกแบบเล็กขนาดนี้ ควรใช้นักศึกษาแค่คนเดียวก็พอแล้ว
ขอไฟล์ PDF ไว้ศึกษาได้ไหมครับ เผื่อได้ไป ต่อ ป.ตรี
ถึงแอดมิน.....ผมขอเสนอความคิดเห็นจากประสบการณ์ที่เคยออกแบบมาดังนี้1.ความลึกของแปและจันทันที่ใช้ไม่น่าจะผ่านเกณฑ์ deflection2. reaction จากแปตัวที่ลงหัวเสาโดยตรงจะมีค่าแค่ครึ่งหนึ่งของแปตัวที่อยู่ในช่วงคาน3.แรงที่ลงเป็นจุดในช่วงคานถ้ามีจำนวนประมาณ8ถึง9จุดขึ้นไปเราก็ใช้สูตรง่ายๆแบบ uniform load ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาตอนหาโมเมนต์หรือแรงเฉือนแบบเเรงเป็นจุด 4.เหล็กรูปรางนํ้าไม่นิยมทำโครงสร้างหลักก็เพราะมันทำให้เกิด torsionได้ง่าย เนื่องจากหน้าตัดไม่สมมาตร5.การใส่วงเล็บตอนที่หาโมเมนต์ของเเรงเป็นจุดควรวางให้ถูกต้องตามพีชคณิต
คิดน้ำหนักที่ แปรต้องรับน้ำหนักก็คือ 63 kg/m x 6 เมตร = 378 kgแปรต้องรับน้ำหนัก คือ 378 kgมีจุดรับน้ำหนัก 2 จุด ก็หาร 2
ตรงจันทันทำไมไม่คิดความยาวจริงครับ และ point load ไม่แตกแรงให้ตั้งฉากกับหน้าตัดจันทัน?
สอนเข้าใจมากเลยครับ
เป็นประโยชน์มากๆ ถ้าเป็นโครงสร้างไม้มีวิธีการคิดการสอนไหมครับ
ขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ อยากรู้มานานแล้ว
ลายมือสวยมากครับ
ทำพรีเซ็นดีมากคับ เข้าใจง่ายมาก
ผมมีคำถามเพิ่มเติมคับ แล้วกรณีถ้าเรามีแรงกระทำกับเสาละคับ อาจจะ แรงลม หรือก่อนผนังที่เสาพวกนนี้ สูตรที่ต้องใช้แล้ววิธีคิดจะเป็นยังไงคับ
ขอบคุณครับอาจารย์
สวยมากครับ
present เนียนตาดีครับ แต่ลอง take windload ดูครับ ผ่านไหม และ check deflection แป ด้วยครับ
ก็ได้ความรู้ดี
แป ต้อง check deflection ด้วยไหมครับ
ดีมากๆครับ
ขอช่องทางการติดต่อหน่อยครับ ผมรหัส64ต้องเรียนวิชานี้เทอม2/65ครับ...ม.กรุงเทพธนฯเช่นกันครับ
ทำไมไม่เปลี่ยน point load เป็น Uniform+ กับน้ำหนักแป...ไม่ง่ายกว่ารึ.....ควรห่วิธีง่ายๆมาแนะนำนะ
โครงงานออกแบบเล็กขนาดนี้ ควรใช้นักศึกษาแค่คนเดียวก็พอแล้ว
ขอไฟล์ PDF ไว้ศึกษาได้ไหมครับ เผื่อได้ไป ต่อ ป.ตรี
ถึงแอดมิน.....ผมขอเสนอความคิดเห็นจากประสบการณ์ที่เคยออกแบบมาดังนี้
1.ความลึกของแปและจันทัน
ที่ใช้ไม่น่าจะผ่านเกณฑ์ deflection
2. reaction จากแปตัวที่ลงหัวเสาโดยตรงจะมีค่าแค่ครึ่งหนึ่งของแปตัวที่อยู่ในช่วงคาน
3.แรงที่ลงเป็นจุดในช่วงคานถ้ามีจำนวนประมาณ8ถึง9จุดขึ้นไปเราก็ใช้สูตรง่ายๆแบบ uniform load ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาตอนหาโมเมนต์หรือแรงเฉือนแบบเเรงเป็นจุด
4.เหล็กรูปรางนํ้าไม่นิยมทำโครงสร้างหลักก็เพราะมันทำให้เกิด torsionได้ง่าย เนื่องจากหน้าตัดไม่สมมาตร
5.การใส่วงเล็บตอนที่หาโมเมนต์ของเเรงเป็นจุดควรวางให้ถูกต้องตามพีชคณิต
คิดน้ำหนักที่ แปรต้องรับน้ำหนักก็คือ 63 kg/m x 6 เมตร = 378 kg
แปรต้องรับน้ำหนัก คือ 378 kg
มีจุดรับน้ำหนัก 2 จุด ก็หาร 2
ตรงจันทันทำไมไม่คิดความยาวจริงครับ และ point load ไม่แตกแรงให้ตั้งฉากกับหน้าตัดจันทัน?