RC Design(SDM): การวิเคราะห์กำลังรับแรงอัดประลัยของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ด้วยวิธีกำลัง

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 7 окт 2024
  • ตัวอย่างการวิเคราะห์กำลังรับแรงอัดประลัยของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ด้วยวิธีกำลัง
    สำหรับการเรียนแบบออนไลน์ ในช่วง COVID#2020
    สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
    _____________________________________________
    สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อสนับสนุบช่องการศึกษา
    / civilengineeringsstudio

Комментарии • 36

  • @สมัครฟรี-บ4พ
    @สมัครฟรี-บ4พ 7 месяцев назад +1

    ขอบคุณมากๆ สำหรับการให้ความรู้ครับผม ...ขอให้มีแต่ความเจริญทั้งกายและใจนะครับ.

  • @thawatchaiphaluka436
    @thawatchaiphaluka436 5 месяцев назад +1

    เข้าใจง่ายครับอาจาร์

  • @nangvongdaeun6027
    @nangvongdaeun6027 2 года назад +2

    สะบายดี ท่านอาจาร
    นำเอาการออกแบบเสารับทั้งแรงตามแกน และ โมเมนต์ มาสอนด้วยครับ ขอบพระคุนครับท่าน

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад

      หลักการคร่าวๆ เสา รับ P&M จะทำการออกแบบหน้าตัดเสาแบบรับ P อย่างเดียวก่อนแต่เผื่อค่าเพิ่มขึ้นหน่อย แล้วนำหน้าตัดที่ระบุขนาด+เหล็กเสริมไปทำการวิเคราะห์เขียนแผนภูมิ P&M หลังจากนั้นจะ plot ค่า P&M ที่เสานั้นรับโดยให้อยู่ภายในโซนปลอดภัย
      __ การวิเคราะห์จะใช้เทคนิค trial หาค่าของ P&M คู่ที่เป็นขอบเขต
      ___ ต้องมีพื้นฐานมาจากวิชา Strength ด้วย หัวข้อ Combined-Stress สอนให้เข้าใจยาก ต้องตรวจสอบพื้นฐานผู้เข้าเรียนก่อน

  • @จอห์นนอนเล่น-ฤ3จ

    ชอบแนวเอาจากของจริงมาประยุกต์ย้อนกลับเป็นทฤษฎีให้เห็นภาพมากๆคร้บ ขอบคุณอีกครั้งครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  4 года назад +1

      เอาความจริงนะ! คือขี้เกียจวาดรูปหน้าตัดเสา เลยใช้ inkscape ไปแปลงมาจากไฟล์ pdf นี่คือที่มาครับ 555

  • @tanatsrihanam247
    @tanatsrihanam247 2 года назад

    สวัสดีครับอาจารย์ ผมศิษย์อ.จบปี 46 ครับ

  • @tmobile3469
    @tmobile3469 3 года назад +2

    ผมชอบมากอาจารย์

  • @nangvongdaeun6027
    @nangvongdaeun6027 2 года назад +1

    ขอความกะรุนาให้อาจาร นำเสาเอียงที่รับน้ำหนักตามแนวดิ่งมาสอนด้วยค่า อาจาร
    ขอขพระคุนนะคะ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад +1

      ให้ดูเสารับ P&M เขียนเป็น interaction diagram แล้ว plot
      แต่เสาเอียง ได้ P&M มายังไง ต้องปรึกษา อ.สอนวิเคราะห์โครงสร้างละ

  • @จอห์นนอนเล่น-ฤ3จ

    ขอบคุณมากครับ ติดตามตลอดครับ

  • @นายศฎายุทธกลับรอด

    เข้าใจง่ายมากๆๆครับ...ดีเลยครับอาจารย์

  • @GhGh-tm8jh
    @GhGh-tm8jh 4 года назад +1

    ติดตามทุกคลิปครับ

  • @juraporntongsri121
    @juraporntongsri121 4 года назад +1

    ขอบคุณครับ

  • @maximuxprime3921
    @maximuxprime3921 3 года назад +1

    ขอฝากตัวเป็นลูกศิษย์อาจารย์อีกคนครับ

  • @นัฐพลน้อยตาแสง

    ต้องค่าความชะลูดมาวิเคราะห์ด้วยไหมครับ
    เพราะถึงแม้หน้าตัดเสาเดียวกันแต่ถ้าต้นหนึ่งสูง2เมตรอีกต้นหนึ่งสูง6เมตร แรงpuของเสาคงไม่เท่ากัน

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  3 года назад

      คิดแบบเสาสั้นเป็นหลักไปก่อน งานบ้านไม่ค่อยมี เสายาว
      ก่อนมาวิเคราะห์ ต้องเรื่องนี้ก่อน ใน RUclips เรียงไม่ได้ ใน Google ClassRoom ผมจะเรียงเอาไว้แล้วฝังลิงค์คลิปไป
      .
      ruclips.net/video/h_mym_vIvGo/видео.html

  • @tigerltgf
    @tigerltgf 4 года назад +1

    ❤❤

  • @ประสิทธิ์ชัยพิศุทธิ์

    อาจารย์ ถ้าเสา 15×20cm.หรือ6"×8"จะใช้การได้ดีพอกันมั้ยครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  3 года назад +1

      ใช้ก้บบ้านกี่ชั้น? ครับ แล้วเหตุผลที่ต้องการใช้ 150x200มม ต้องตรวจสอบ L/r ของด้านที่แคบ แล้วก็เรื่องการหล่อคอนกรีตเสาโดยที่ยังคง fc' ไว้ได้(ไม่ควรเติมน้ำ) แล้วก็การตรวจสอบ L/r ของด้านแคบ ถ้ามีลักษณะเป็นเสายาวก็จะดุ้งที่ด้าน 150mm ต้องคูณลดกำลังลง
      ___ อย่างไรก็ต้องควรออกแบบตามข้อกำหนดในการออกแบบของ กรมโยธาธิการ หรือ วสท.

  • @liewza249900
    @liewza249900 9 месяцев назад

    เผื่อการเยื้องศูนย์คิดยังไงให้ได้ 70951 ผมตามไม่ทันหรือผมไม่เข้าใจ หรืออาจารไม่ได้บอกครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  9 месяцев назад

      สำหรับเสาปลอกเดียว
      Pn = 0.80 Po
      ____ ในสมการไม่ได้บอก แต่ตอนเขียน interaction diagram P&M จะลากเส้นนอน = Pn ตัดกราฟ แล้วลากจาก origin ตัดจุดนี้ เรียกค่าความชัน หรือ 1/e ว่า ea

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  9 месяцев назад

      Po คิดตามกำลังหน้าตัด คือ stress คูณ area ตามชนิดวัสดุ คิดแบบแรงลง C.G. assume ว่าจะทำให้ stress กระจายสม่ำเสมอ

    • @liewza249900
      @liewza249900 9 месяцев назад

      @@CivilEngineeringsStudio เราสามารถคำนวณโดยไม่ผ่านการเผื่อการเยื้องศูนย์ได้ไหมครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  9 месяцев назад

      @@liewza249900 การคูณ 0.80 เป็นการเผื่อ คาดว่าจะเกิด ในการวิเคราะห์ถือว่าเป็น ชิ้นส่วน Axial Force ล้วน กรณีบ้านชนิดธรรมดา(ยกเว้นลิ้นส่วนนั้นๆ มีแรงพิเศษที่จะก่อให้เกิด moment) แต่ในการก่อสร้างจริง จะมีการเยื้องศูนย์บ้างเล็กน้อย แต่ไม่เกินค่ากำหนดมาตรฐาน ก็ถือส
      ว่าเป็น Axial member

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  9 месяцев назад

      การออกแบบ ตามข้อกำหนด ACI
      ควรออกแบบตาม code ที่กำหนด
      วิศวกรต้องออกแบบตาม code

  • @fickgure7163
    @fickgure7163 3 года назад

    Fyหายังไงหรอครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  3 года назад +1

      fy ถ้าเป็นข้อสอบจะกำหนดมาจากโจทย์
      fy เป็นคุณสมบัติของเหล็กเสริมที่จะนำมาใช้ในการออกแบบ ผู้ออกแบบจะระบุ แล้วกำหนดในแบบก่อสร้าง หน้า S-01 ในคลิปจะกล้าวไว้นาที 1:33

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  3 года назад +1

      ก่อนจะเรียน RC Design ในหลักสูตรส่วนใหญ่จะกำหนดให้เรียน วิชาวัสดุก่อสร้างก่อน ลองค้นหาดู หมวดเหล็กเสริม จะมีผลิตภัณฑ์เหล็กเส้นชนิดต่างๆ เคยเห็นหนังสือของ Tata Steel เขียนโดยดร.มงคล SUT เล่มนี้ก็อ่านดี

    • @จอนนามฤทธิ์
      @จอนนามฤทธิ์ 3 года назад

      อาจารย์ ครับ เสาต้นนี้ ระยะคอนกรีตหุ้มเหล็ก ประมาณ 3-4 ซม. ได้ไหม ครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  3 года назад

      @@จอนนามฤทธิ์ พอดีคิดแต่ P ไม่ได้คิด Mement เลยไม่ต้องมี ระยะหุ้ม แต่ระยะหุ้ม ใช้ตามมาตรฐานงานคอนกรีตเสริมเหล็กครับ ถ้าติดดิน ก้บ ชั้นบน ใช้ระยะหุ้มไม่เท่ากัน

  • @อนันต์บุตนิตย์

    ิอยากรู้ว่าก็เสาหน้าแปดสูงสามเมตรมันรับได้กี่ตันเสาหล่อครับผมเป็นช่างบ้านๆไม่มีความรู้ทางนี้แต่ทำตามที่เค้าทำกัน

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  Год назад

      ข้อมูลไม่เพียงพอครับ
      ในการคำนวณทางวิศกรรมต้องมีแบบรายละเอียดเพิ่มเติม เนื่องจากเป็นเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก จะต้องพิจารณาปริมาณเหล็กยืนด้วย ต่อมาต้องกำหนดคุณสมบัติของคอนกรีตที่นำมาใช้และต้องใช้ตามกำหนดในแบบก่อสร้าง และต้องระบุชั้นคุณภาพของเหล็กเสริม ส่วนใหญ่ในแบบก่อสร้างจะระบุไว้หน้าแรกของแบบก่อสร้างหน้า S-1