Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
พี่หลามยังเล่าไม่ครบครับ เจ้าของบัตรเขาแจ้งอายัดบัตรเครดิตทันที แต่ธนาคารเพิกเฉย ศาลเลยตัดสินให้เป็นหน้าที่ของธนาคารรับผิดชอบ เนื่องจากการตัดผ่านบัตรเครดิตยังมีเวลาให้อายัดอยู่
อ๋อแบบนี้นี่เอง ผมก็คิดอยู่ว่ามันแปลกๆ ถ้าแบบนั้นเราก็โกงธนาคารเป็นว่าเล่นน่ะสิ 😅
ถ้าบอกแบบนี้ก็ชัดเจนแล้ว แบงฟ้องงอแงเองแล้วแบบนี้ จะตัดสินแบบนั้นก็ไม่แปลก
@@tong1mon198 เนื้อข่าวไม่ได้บอกเรื่องนี้ครับ ผมรู้เท่าที่อ่าน
อ่อแบบนี้สมควรครับ
ใช่ เล่าไม่ครบ ความหมายเปลี่ยนหมด
คนไทยต่างกับฝรั่งที่ขาดจิตสำนึกในการปกป้องสิทธิตนเองอยู่ เห็นว่าศาลตัดสินถูกต้องแล้ว เพราะ ธนาคารมีศักยภาพมากกว่าผู้ใช้บริการธนาคารต้องรับผิดในความประมาทที่ไม่ทำระบบป้องกันให้ดีเอง ถ้าบอกปัดให้เป็นความรับผิดของผู้ใช้บริการ ธนาคารก็จะละเลยไม่ป้องกัน เป็นการลงโทษธนาคารที่ผลักภาระให้ผู้อื่นถ้าไม่ปรากฎว่าผู้ใช้บริการประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงหรือทุจริตเสียเอง ก็ต้องตัดสินให้เป็นคุณแก่ผู้บริโภคที่อ่อนแอกว่า
ดาบ 2 คม
@@kittanakit856 ไปไม่เสมอไป ก็ให้รัฐบาล เข้าไปจัดการเองทั้งหมดแล้ว ทำการประมูลเจ้าของ ท่าธนาคารจ่ายไม่ไหว ่่่่่รณ
มืดกนสองเล่ม@@kittanakit856
ธนาคารตัวดีเลยครับ ประชาชนยังใจดีไม่รวมตัวฟ้อง ปล่อยให้ข้อมูลส่วนบุคคลหลุด โดนแฮก แต่ส่วนใหญ่มาจากพนักงานธนาคารเองครับ
พนักงานขายหรือแอบนำข้อมูลไปหาเงิน
ผมว่าควรแก้ที่บัญชีม้าด้วยนะครับ โดยการเพิ่มบทโทษให้แรงกว่าปัจจุบัน10เท่าไม่งั้นมันก็ขายบัญชี300-1000บาทชิวๆ พอโดนจับก็ตีหน้าเศร้าบอกรู้เท่าไม่ถึงการณ์ บ้านจน ลูกป่วย พ่อแม่แก่ อ้างเหตุผลสารพัด พอถึงชั้นกระบวนการยุติธรรม ก็สารภาพ ลดโทษ สุดท้ายก็ออกมาใช้ชีวิตปกติ ประนึงโดนแค่ไม้บรรทัดมาตีมือใครมันจะกลัว
บัญชีม้าบางคนก็ไม่ได้เต็มใจเปิดครับบางคนโดนขโมยข้อมูล บางคนโดนหลอกจากการสมัครงาน หรือสมัครพวกสินเชื่อต่างๆ หรืออะไรก็ตามแต่มันมีหลายปัญจัยครับ
@@TTTivเขาสืบต่อได้ ถ้าคนตั้งใจจริงๆอย่าเห็นใจครับ
ผมเคยโดนคนเอาบัตรประชาชนปลอมไปเปิดบัญชีม้า ได้ด้วยครับ ไม่รู้มีคนโดนมากแค่ไหน ธนาคารพยายามปกปิดความผิดตัวเองด้วย ขอไม่บอกว่าเจ้าไหน เรื่องแดงเพราะผมไปอัพเดทข้อมูลที่ธนาคาร แล้วมีเตือนว่า อีกบัญชีแดง คือ เสี่ยงฟอกเงิน เป็นธนาคารต่างจังหวัด คือมันใช้บัตรปลอมเปิดบัญชีม้าได้ครับ มันเสียบบัตร ชิพมีข้อมูลเลขเราแต่เป็นชื่อคนอื่น ที่อยู่อื่น มันสวมเลขเราเลย
ผมขอ ออกความเห็น ส่วนตัวนะครับ ที่จริง ให้ธนาคาร เป็นคนเสียหาย มีข้อดีที่ดีมากๆนะครับ อะไรที่ว่าดี เพราะปัจจุบัน เท่าที่ผมมีข้อมูล พวกมิจฉาชีพ บ้างกลุ่ม มี api ธนาคาร 😅 เพื่อทำให้ธนาคารตื่นตัวจาก เหตุการนี้มากขึ้น ให้เลิก พัฒนาแอพ ธนาคารจอมปลอม ที่เพิ่มแต่ช่องโหว่ เข้าไปเรื่อยๆโดยเฉพาะธนาคารไทย ให้มาทำช่องโหว่ที่มี ให้หมด เพื่อใช้คนใช้ ปลอดภัยมากขึ้นไม่ใช่เพื่อให้ มันสวยขึ้นแต่ปลอดภัยน้อยลง ให้นักพัฒนาแอพธนาคารมาเถียง ก็ได้ ท่าคุณว่าแอพคุณ ปลอดภัยมากพอจริงๆ ผมจะทดสอบให้ เองว่าปลอดภัยจริงไหม มีช่องโหว่ ไหนอีกไหม ผมกล้าพูดว่ามี และผมรู้ด้วยแต่ ขอเงียบไว้ละกัน
ก็แค่เลือกให้โอนเฉพาะในประเทศ หรือ เลือกบ้นชีที่โอนประจำได้โอนได้ทันที บันชีแปลกบันชีฅ่างประเทศให้ส่งsmsยืนยันสองขั้นฅอนเพื่อยืนยันการโอนเงิน
พี่พูดพี่หลามพูดถูกต้องครับ หลักหมึ่นขั้นไป ต้องทำชะลอไว้ รีเลย์ซัก 10 นาที เพื่อความรักษาของเราของการถูกโกงครับ 👍
ผมว่าช่องโหว่ที่ศาลหมายถึงไม่ใช่แค่ข้อผิดพลาดที่คนร้ายสามารถเจาะหรือแฮคเข้าไปได้นะครับ แต่เป็นตัวภาพรวมของระบบเองที่ยังไม่ปลอดภัยพอ รวมถึงที่พี่หลามพูดเรื่องการชะลอธุรธรรมด้วย 😢 ถ้าระบบดี คนโง่ที่สุดในโลกก็ไม่โดนหลอกหลอกครับ
ในโลกเรานี้ไม่มีหรอกคำว่า ระบบที่ไร้ที่ตินะ ทุกรูปแบบ ทุกระบบมันมีช่องโหว่ทั้งนั้นแหละ อยู่ที่ใครจะมองเห็นช่องนั้น ๆ มองเห็นแล้วจะทำอะไรหรือไม่ บางระบบที่คิดว่าดีที่สุด สุดยอดที่สุด ป้องกันได้แน่ ๆ ช่องโหว่นั้นอาจจะเป็นคำว่า "เวลา" ก็ได้
ขออนญาตตั้งคำถามจากคอมเม้นนี้นะครับ คือ "ภาพรวมระบบ ยังไม่ปลอดภัยพอ" โจร ตั้งเป้าไปโจมตีระบบโดนตรงดีกว่ามั้ยครับ เดิมฟระเดิมกับระบบที่ยังไม่ปลอดภัยพอ ถ้าโดนเจาะได้ โอกาสได้เงินมากกว่าการหลอกลูกค้าแน่นอน "ทุกระบบโดนเจาะได้เสมอ ไม่มีระบบไหนที่จะไม่มีจุดอ่อน"การที่ลูกค้าโดนหลอกโอนเงิน ในมุมมองของผม มันอาจเปรียบเทียบได้กับการที่โจรดักปล้นระหว่างทาง มีโอกาสได้เงินจากลูกค้ามากกว่าการบุกเข้าไปปล้นเงินธนาคารโดยตรงรึป่าวครับ
แล้วข้อมูลที่ธนาคารปล่อยหลุดมา ซื้อขายข้อมูลบุคคลในตัวพนักงานธนาคาร ที่แอบนำข้อมูลส่วนบุคคล ไม่เคยเห็น ธนาคารรับผิดไรเลยครับ
เช็ค ตู้กดที่มีประวัติเสีย ให้มีกล้องเพิ่มขึ้นถ้ามีอีกครั้งก็ปิดตู้สาขานั้นครับ
@@you2ube-v2d คนที่โดนหลอก ก็คือเจ้าของบัตรตัวจริงไปโอนเงินใหคนอื่นเพราะโดนหลอก ติดกล้องเพื่ออะไร
ธนาคารต้องรับผิดชอบ100%ทุกกรณีที่โดนหลอกครับ เพราะเงินเราฝากไว้กับเขา เราอุ่นใจเมื่อเงินอยู่กับธนาคาร แต่ธนาคารจะทำไม่รู้ไม่ชี้ ไม่เดือดไม่ร้อน มันไม่ได้นะ เพราะเดี๋ยวธนาคารจะหาทางป้องกันเงินเราเองครับ
ธนาคารเขา เอาเงินคนฝากไปหมุนไปลงทุนได้กำไลมากมาย ภาระตรงนี้ ธนาคารควรรับผิดชอบโดยตรง ถ้าธนาคารใด ไม่คิดรับผิดชอบ คุณก็ประกาศออกมาเลย ผมจะถอนให้หมดแบงค์และไปฝากธนาคารที่ มั้นใจระบบป้องกันตัวเอง
แบบนี้ผมก็สร้างกลุ่ม ไลน์ แกล้งว่าโดนแอบดูดเงินออก ได้สิครับ เพราะ ธนาคารต้องรับผิดชอบทุกเคส ซึ่ง สาเหตุที่โดนดูดเงิน คนมันโง่เองอะครับ
@@blueeyefin7088 โคตรเห็นแก่ตัวเลยครับคุณ
พอใจในคำตัดสินของศาลในเรื่องบัตรเครดิตเพราะจะทำให้ธนาคารมีความรับผิดชอมต่อลูกค้ามากขึ้นไม่ใช่รับแต่ประโยชน์ฝ่ายเดียว
เป็นความคิดที่ดีและล้ำหน้า
เรื่องแบบนี้คิดง่าย ๆ แต่พวกใหญ่โตมันเข้าข้างกันเองจนกรรมตกอยู่ที่ชาวบ้านที่ไม่มีพวกพ้องปากเสียงอะไร จริง ๆ เงินในบัญชีที่ถูกดูดไปเป็นเงินธนาคารด้วย ไม่ใช่เงินเรา ถือเป็นช่องโหว่ของแอปธนาคาร ไม่ใช่ให้คนใช้แอปต้องมารับผิดชอบแบบนี้
แนวคิดที่ให้ธนาคารเป็นตัวกลางก่อน คือผู้โอนไปให้ปลายทางแต่เงินจะถูกพักที่ธนาคารก่อน แล้วค่อยยืนยันตัวตนถอนเงินได้ก็น่าจะช่วยได้ แต่ก็ยังไม่เข้าใจว่าหลายธนาคาร หลายหน่วยราชการก็มีคนเก่งๆ แต่ทำไมแนวคิดนี้ไม่เกิดตอนที่มีข่าวบัญชีม้าทุกวันผมก็คอมเม้นท์แบบนี้นะ จนวันนี้ได้ยินพี่หลามเสนอแนวคิดนี้คือเป็นการตอกย้ำว่าวิธีนี้มันดูจะปลอดภัยกับทุกฝ่ายระดับนึง
แบบนี้จะคล้ายอเมริกาที่ดู 9arm มา ทำได้แต่ว่าระบบ พร้อมเพย์ จะทำให้เกิดไม่ได้ การจ่ายเงินจะยุ่งยากขึ้น ต้องเลือกอันใดอันหนึ่ง
ถ้าธนาคารต้องรับผิดชอบทุกอย่างอาจจะมีอาชีพล่าค่าหัวมิจฉาชีพในตลาดมืดก็ได้ เเบบอเมริกาที่มีอาชีพนักล่าค่าหัวลูกหนี้ ในกรณีที่ลูกหนี้หนี ไม่ได้ทำอะไรรุนเรง เเค่จับมาขึ้นศาลใช้หนี้
เรื่องโดนหลอก ต้องว่าเป็นกรณีๆไป ในกรณีนี้ชัดเจนว่าธนาคารเป็นผู้ผิด เงินถูกดำเนินการใดๆในขณะที่เจ้าของบัตรได้อายัติบัตรไว้แล้ว แต่ในอีกหลายกรณี อย่างโอนด้วยตัวเอง กรณีแบบนี้คงยากที่โยนความผิดให้ธนาคาร
🎉🎉🎉 ขอขอบคุณสภาผู้บริโภค และทุกๆท่าน ที่ช่วยกันเรียกร้องความเป็นธรรม ครับ...
ใช้วิธีลงทะเบียนดีมั้ย บัญชีที่มีการยืนยันตัวตนการค้าแล้วเมื่อมีเงินโอนเข้าได้ทันที แต่บัญชีที่ไม่ได้ยืนยันตัวตนมีเวลาดีเลย์2-3ชั่วโมง
สงสารธนาคาร ป้องกันจนไม่รู้จะป้องกันยังไงละ เลขหลังบัตร ก็ให้เขาไปเอง Otp กับ pass ก็ไปโหลดแอปนอกโง่ๆให้โดนดักเอง น่าเบื่อ ต่อให้ทำตามพี่หลามว่าแม้งก็มีคนโดนอยู่ดีอ่ะ เพราะเขาขออะไรก็ให้เขาหมด คนโดนหลอกมันไม่รู้ตัวว่าตัวเองโดนหลอก จะวิธีอะไร ต่อให้รอเป็นวัน มันก็ยังไม่รู้ตัวว่าโดนหลอก เพราะมิจฉาชีพมันก็พูดไปเรื่อบอ่อเรื่องนี้ต้องรออนุมัติในวันพรุ่งนี้นะ แม้งก็เชื่อชิลไม่ตรวจไม่เช็คไม่คิด งงเหมือนกันมีปัญญาหาเงินแต่ทำไมโดนหลอกกันได้ง่ายแบบนี้
คิดว่า ระบบไปถูกทางแล้วที่ควรให้ธนาคารเป็นผู้รับผิดชอบ เพราะธนาคารเป็นผู้ที่มีศักยภาพ และออกแบบควบคุมระบบ แตกต่างจากผู้บริโภคผู้ใช้งานที่ไม่สามารถทำในส่วนนี้ได้ ทำได้อย่างเดียวคือขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่าให้เจอมิจฉาชีพพวกนี้เลย. ส่วนไอเดียการแก้ปัญหาของพี่หลามคิด มันจะเป็นความวุ่นวาย อาจทำให้ระบบยุ่งยากซับซ้อนและสับสน ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อปัญหาที่กำลังจะแก้ไข แต่จากไอเดียนี้หากปรับเปลี่ยนนิดหน่อยอาจะใช้งานได้ คือร้านค้าที่ประสงค์จะให้ลูกค้าชำระเงินออนไลน์ต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบการกับธนาคาร และทางธนาคารต้องสกรีนบัญชีเหล่านี้ให้เข้มงวด ลูกค้าชำระเงินปุ๊บ เงินควรเข้าปั๊บ. แต่ถ้าเป็นร้านค้าที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ การชำระเงินจากลูกค้าจะถือเป็นการโอนเงินทั่วไป ธนาคารก็ไปตั้งกฏเกณฑ์เพื่อป้องกันการเสียหาย และให้เป็นระเบียบเดียวกัน ไม่ใช่ให้ลูกค้าเป็นผู้ยินยอมหรือไม่ยินยอม อย่างเช่นการโอนเงินให้ผู้ติดต่อรายใหม่เป็นครั้งแรกระบบจะดีเลย์การโอนเป็นเวลา1-3วัน ในวงเงินที่ผู้ใช้งานกำหนดเองได้ และหากมีการโอนเงินให้กับผู้ติดต่อรายใหม่นี้เกินXครั้ง การทำธุรกรรมครั้งต่อๆไปก็จะเป็นปกติ .สุดท้ายการผลักภาระให้ธนาคารเป็นผู้รับผิดชอบจะเป็นการกระตุ้น ธนาคารได้ดีสุด ที่จะให้ธนาคารให้ทำระบบได้ดีและปลอดภัยยิ่งขึ้นมาใช้งาน
แนวคิดนี้ดีครับ ตั้งระบบตรวจสอบตัวตนความเน่าเขื่อถือที่ชัดเจน
ความคิดของพี่หลามนี้ใช้ได้เลยนะ พี่ฉลาดมากเลยครับ 🙏🏻
ไอเดียนี้น่าสนใจมากครับ
แบบพี่หลาม ทาง DEV ทำได้หมดครับ แต่ต้องให้ทางการอนุมัติ ธนาคาร > แบงค์ชาติ > RIS > รัฐสภา ต้องให้ต้นทางใหญ่เป็นคนกำหนด ส่วนพวก Devไม่เรื่องมาก เงินโปรเจ็ค มาคือทำให้ได้ทุกแบบ
ดีมากครับ
ดีครับ ให้ธนาคารเป็นตัวกลาง เหมือนซิ้อของในแอปออนไลน์เจ้าดัง ไม่ต้องกลัวโดนโกง เงินกองไว้ที่ตัวกลางก่อน
เห็นด้วยครับเยี่ยมมาก😊😊😊
พี่หลาม มีไรกับธนาคารไหมครับ แลเข้าข้างจังครับ เรื่องนี้ผิดตั้งแต่ที่ ธนาคาร ปล่อยมี ขายข้อมูล ลูกค้าใน บริษัทร่วมธุรกิจ เช่น ประกัน การลงทุน ระบบหลังบ้าน เช่น พนักงานธนาคารสามารถเข้าถึงข้อมูล แบบส่วนตัวมาก ไม่มีการใช้ รหัส พนักงานธนาคาร 2-3 คน ในการขออนุญาตเข้าข้อมูล เช่น ก็อปปี้ไฟล์ เครื่องมือสื่อสาร ส่วนตัวพนักงานธนาคาร ห้ามใช้ในเวลาทำงาน
ผมว่าเป็นกลางแล้ว คุณแหล่ะครับมองเห็นมุมมองเห็นแก่ตัว เพราะคุณคือคุณใช้มุมมองเด็กน้อยอยู่แสดงว่าคุณไส่เป็นแค่เด็กน้อยขอดงินพ่อแม่ไม่ก็พนักงานเงินเดือน มันต้องเป็นพสกที่เคยค้าขายด้วยถึงจะมีความเป็นกลาง แบบคุณหลามนั่นล่ะ ที่เคยเป็นทั้งลูกจ้างนายจ้างทั้งค้าขาย ความคิดเขาเลยสมดุลแล้วไม่เอียงข้างแบบคุณ
@@Thanks-h9v อ่านคอมเม้นนี้ครับ
ผมว่า พี่หลามแกพูดครอบคลุมนะ ธนาคารเองก็ลำบากใจ คนโดนดูดเงินก็ลำบากใจ ต้องเข้าใจว่าคดีนี้เกิดจากการดูดบัตร แฮคบัตรไป แล้วมีการอาญัติทันที แต่ ธนาคารไม่แอคติ้ง ปล่อยให้ดูดไป อย่างเคส คุณตูน นักข่าวช่องสาม นั่นโดนไปเยอะอยู่ แต่อาญัติได้ แล้วไม่ต้องรับผิดชอบด้วย แต่ ธนาคาร บัตรเครดิตรับจบให้ ที่พี่หลามแนะนำช่วงท้ายนั่นก็ดี เป็น 1 วิธีที่น่าทดลองใช้ การหน่วงสัก 3-4 ชม.
ดีครับ จะได้เป็นมาตรฐานให้ธนาคารหาทางแก้ไขป้องกัน ให้มากกว่านี้
ระบบที่ว่าปัจจุบันมีอยู่แล้ว แต่ส่วนมาใช้กับการซื้อขายระหว่างประเทศในวงเงินสูง เรียกว่า LC (letter of credit) ธนาคารทั้งสองฝั่งจะเป็นคนยืนยันให้ ประเด็นคือมันมีค่าใช้จ่ายในการออก LC ใครจะเป็นคนจ่าย คนโอนยอมจ่ายไหม ไหมคนรับเงินยอมได้เงินช้าไหม คุ้มหรือเปล่าต่างหาก
แม่ผมเคยทำบัตร atm หายที่ต่างประเทศ แล้วโดน คนเอาไปกดเงินมาหมดเลย(บัตรบ้านเขาแค่แตะเงินก็ออกมาเลยครับไม่เหมือนบ้านเรา) แต่ธนาคาร จ่ายเงินคืนที่โดนกดไปให้ทั้งหมดเลยครับ รู้สึกประทับใจมากการดูแลลูกค้าของที่นั้นมาก เพราะเงินที่หายไปเดี๋ยวเขาตามไปจับด้วยตัวเอง ที่อังกฤษนะครับ
ส่วนตัวคิดว่า เมื่อเกิดการถูกหลอกให้โอนเงิน ควรมีการให้รอซักอย่างน้อย 10 นาทีในกรณีโอนเงินจำนวนมากก่อนปลายทางได้เงิน เพื่อให้ผู้โอนมีเวลายกเลิกการโอนได้เผื่อกรณีถูกหลอก
ยังไงผมก็คิดว่าธนาคารต้องอุดช่องโหว่ หรือช่วยผู้บริโภคให้มากที่สุด
ไอเดียพี่ทำให้ผมนึกถึงวิธีซื้อขายผ่านคนกลางตามfbที่คล้ายๆกัน แต่น่าจะต้องปรับหลายอย่าง หรือใช้วิธีแบบเข้าเช็คได้ไหม ยินยอมให้เงินเกินหมื่นเป็นเหมือนฝากเช็คแล้วต้องรอเวลาประมาณนึงก่อนเอาเงินไปใช้ได้ แต่น่าจะต้องมีปรับแก้อะไรเพิ่มเติมอีกหลายส่วนเหมือนกันเพื่อแยกแยะว่าเป็นการโอนเชิงธุรกิจหรือไม่
เมื่อมีการโอนเงินที่กำหนดไว้ ธ. โทรมาสอบถาม ด้วย AI แล้ววิเคราะห์ข้อมูล จาก เสียง, จากคำตอบ, จาก location , จากภาพ กล้อง ได้อีกมากมาย สามารถขอคำยืนยันจากผู้เกี่ยวข้องที่กำหนดไว้
คล้ายๆที่ผมคิดนะวิธีพี่หลาม แต่วิธีผมคือ ให้การโอนเงินทางแอปจำกัดได้แค่วันละไม่เกิน 1 แสน หรือ 5 หมื่นก็แล้วแต่ แล้วจะมีคำถามว่าถ้าจะโอนมากกว่านี้ละจะทำไง ตอบคือไปธนาคารครับ เพราะคนทั่วไป ไม่มีใครจ่ายเงินกันเกินวันละแสนหรอกครับ แต่ถ้าบุคคลหรือหน่วยงานใดๆ มีความจำเป็นต้องต้องมีการโอนเงินจำนวนมากๆบ่อยๆให้ไปยื่นขออนุญาตเปิดการโอนแบบวงเงินสูงๆจากธนาคารเป็นรายบุคคลไป โดยบุคคลผู้นั้นจะต้องยินยอมรับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นเอง แค่นี้เองไม่น่าจะเป็นเรื่องยาก ใครเห็นว่าวิธีของผมมีจุดอ่อนยังไงช่วยเม้นบอกด้วยครับ
พี่หลามคับ ตั้งแต่ผ่านยุคฟองสบู่แตก มีธนาคารใหนขาดทุนบ้างมั๊ยคับ และผลกำไรที่เกิดขึ้นเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์มาจากการเอาเงินลูกค้าไปแสวงหาให้ได้มาซึ่งผลกำไรทั้งสิ้น
ธนาคารเอาเงินลูกค้าไปทำกำไร ถูกต้องแล้วครับ ไม่ได้เรื่องผิดเลย
@@kittanakit856เรียกว่าเห็นแก่ตัวมากดีกว่าครับเอาเงินลูกค้าไปหมุนให้กำไรตั้งเยอะแยะ จ่ายดอกเบี้ยเป็นเศษกระดูก
ก็เป็นเหตุเป็นผลและยุติธรรมดี ธนาคารบกพร่องเองที่ขยายวงเงินให้มิจฉาชีพ โดยที่เจ้าของบัตรไม่ได้เป็นผู้ทำธุรกรรมเรื่องการขยายวงเงิน
ใช้ 2FA สิครับ คือถ้าจะโอนเงินก้อนใหญ่ๆ ต้องไม่ได้ระบุแค่รหัสผ่าน แต่จะต้องส่ง OTP มาที่อีเมลลล์ของเราด้วย ถ้าใครเซฟตี้หน่อยก็แยกเมลล์ที่ใช้รับ OTP กับเมลล์หลักที่ใช้ประจำด้วย แล้วปิดการแจ้งเตือนทคราวนี้มิจก็ไม่รู้ว่าเราใช้เมลล์ไหน โอกาสดูดเงินสำเร็จก็จะมีน้อยลง โดยที่ไม่ต้องใช้วิธีหน่วงเวลา
เป็นการกดดัน ธ.ให้ระมัดระวังตัวมากขึ้น
พี่พูดถูกครับ 2 ฝ่ายคือผู้เสียหาย แต่มือที่3(โจร)ได้ผลประโยชน์ไป *ต้องปราบปราม
พี่หลามพูดเหมือนจะเหมาว่า ระบบธนาคารในโลกนี้ ไม่มีใครดีเลย์การโอนเงินได้ ไม่ว่าจะเป็นแบบไหน เพราะจะทำให้ระบบการเงินมีปัญหา ก็ขอให้พี่หลามไปศึกษาดูระบบในลักษณะนี้ในต่างประเทศก่อนนะครับ ว่าไม่มีธนาคารไหนดีเลย์การโอนเงินเลยจริงๆ ส่วนตัวเชื่อว่า " มีระบบการดีเลย์เงิน ที่ปลายทางยังไม่สามารถถอนเงินได้ในทันที" อย่างแน่นอน เพียงแต่จำในรายละเอียดไม่ได้ แต่บอกได้ว่า เป็นประเทศในยุโรปครับ
ส่วนทฤษฎีพักเงินผมเคยเอาทฤษฎีพี่หลามไปเสนอกับกระทรวงde ตำรวจไซเบอร์แล้วครับเรื่องการพักเงินดีเลย์เงินก้อนเยอะๆออกไป ตอนนั้นจำได้ว่า ให้ดีเลย์ไว้3วันเลยเพราะบางทีกว่าจะรู้ตัวว่าโดนหลอกบางคนโอนจนหมดตัวเป็นเดือนๆก็มีอย่างพี่สาวผมเป็นต้น ซึ่งผมเคยเสนอให้มีการออกกฏหมายพักเงินคุยกับ จนท กระทรวงdeเค้าก็เห็นด้วยกับผม แต่จะมีการแก้กฏหมายนั้นก็ขึ้นอยู่กับ สว สส ในสภา ซึ่งตอนนี่ผมยังมองไม่ออกว่า สส สว ณ ปัจจุบันจะเห็นความเดือดร้อนของปชช มากแค่ไหน แต่ทฤษฏีพี่หลามผมเคยเสนอกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปแล้วแล้วพี่หลามก็ยังออกคลิปมาเพื่อยืนยันทฤษฏีของผมด้วย ขอบคุณครับผมบอกเลยถ้าแก้กฏหมายตรงนี้ได้อุดช่องโหว่มิจฉาชีพได้อยู่หมัดแน่นอน
รู้สึกว่าธนาคารในต่างประเทศ ก็จะมีการดีเลย์เงินโอนลักษณะนี้อยู่นะ ฟังพี่หลามแล้วก็แปลกๆ เหมือนพูดเหมาว่า ในโลกนี้ไม่สามารถมีประเทศไหน ทำระบบดีเลย์ในการโอนเงินได้เลย ซึ่งไม่เป็นความจริง
09:14 หน่วงเวลาได้ครับ เราถอนเงินจากกองทุนต่าง ๆ ยังมี 2 วันทำการเป็นอย่างน้อย ขึ้นเชคหลังบ่ายสองยังต้องรอวันทำการถัดไปเมืองนอกโอนเงินข้ามพื้นที่ก็ต้องรอเป็นวันแต่การหน่วงเวลามันก็แลกมาด้วยความสะดวกที่ลดลงการหน่วงเวลาแบบนี้ ไม่ต่างกับการไปทำธุรกรรมหน้าเคาเตอร์ ทำให้บางประเทศการทำธุรกรรมทาง electronics ถึงไม่โตเท่าบ้านเรา
จริงๆหลายคนยังไม่เข้าใจประเด็นนี้คือประเด็นเรื่องบัตรเครดิตศาลตัดสิน ว่าการดึงเงินสดจากบัตรเครดิตมันคือการกู้เงินจากธนาคารมาใช่ และกระบวนการทำสัญญาในกรณีนี้ไม่สมบูรณ์ เนื่องจากไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ถือบัตร ธนาคารที่เป็นเจ้าของเงินจึงต้องรับผิดชอบส่วนที่เอาจากบัญชีโดยตรงจึงไม่ใช่ความรับผิดชอบจากธนาคารไงครับ
ประเด็นที่ว่า ไม่ควรที่ธนาคารจะต้องรับผิดชอบนั้น ความเสียหายเกิดขึ้น ไม่ว่าธนาคาร หรือ ผู้บริโภค อยู่ที่ใครจะเป็นคนเสียหาย จนกว่าจะเอาผู้กระทำผิดมารับผิดได้ถ้าผลักภาระให้ผู้บริโภครับผิด ผู้บริโภคก็ต้องไปฟ้องร้องกับผู้กระทำผิด ซึ่งมีศักยภาพน้อยกว่าธนาคารแต่ถ้าธนาคารรับผิดก็ไปฟ้องร้องเอากับผู้กระทำผิดได้ง่ายกว่า ผู้บริโภคที่อ่อนแอ
จริงเรามีการควบคุมวงเงินอยู่เเล้วในการโอนเเต่ละรอบต้องเเสกนใบหน้า เเต่กรณีนี้ เกิดอะไรขึ้นถึงเพิ่มวงเงินได้
ไอเดียดีมาก ขอเสริมนะครับ เมื่อเราทำสัญญาพักเงินไว้กับธนาคารแล้ว กำหนดระยะเวลาแล้วสำหรับวงเงินกลักหมื่นขึ้นไป แต่เราสามารถสร้างรหัสปลดล๊อคอีกชั้นเพื่อปลดล๊อคเงินก่อนนี้ให้ปล่อยออกได้ทันที
ปรับวงเงินโอน max ต่อวันให้ยากๆหน่อย ไม่ให้ทำ online ง่ายๆ
ผมเห็นว่า ที่ถูกต้องคือ ถ้าธนาคารมีส่วนรีบผิดชอบ มันจะขยันหาทางแก้ใขระบบให้รัดกุมเอง 😂จริงๆธนาคารมีหลายวิธีในการตรวจสอบก่อนการโอนเงิน แค่ไม่ยอมทำแค่นั้นเอง ถามว่าถ้าธนาคารไม่ร่วมรับผิดชอบ ธนาคารก็จะไม่ยอมลงทุนในเนื่องการป้องกัน 😅 ถามว่าธนาคารคิดไม่ใด้หรอระบบป้องกันอะ มันคิดใด้ครับ แต่มันไม่ยอมลงทุนทำระบบป้องกันครับ
ธนาคารสมควรแล้วครับ ไม่เคยช่วยลูกค้าในการป้องกันเลย ทั้งๆที่ก็รู้อยู่แก่ใจว่าบัญชีไหนมันมีธุรกรรมเข้าข่ายฉ้อโกง แต่ก็ปล่อยให้การโอนเงินเกิดขึ้น ยกตัวอย่างบัญชีที่เปิดได้เงินน้อยๆเช่น 500-1000 แต่มีเงินโอนแต่ละวันเป็นหมื่น มันผิดปกติไหมล่ะครับ แล้วแบงค์ทำอะไรมั่ง เฉย ทั้งๆที่แจ้งไปทาง DSI หรือระงับบัญชีก็ได้ แต่แบงค์ไม่เคยทำเลย
น่าลองดูนะครับความคิดนี้
มีให้ตั้งค่าใน app เลยว่า delay กี่นาที วงเงินทเ่าไหร่ ขึ้นไป หรือ ตอนโอนทุกครั้ง มี check box ให้เลือกว่าจะ delay หรือไม่
มุมมองคุณหลามมีความเป็นกลางแล้วครับ ไม่เหมือนคนเม้นบางคนที่เม้นเข้าข้างตังเองมากเพราะตัวเองยังเคยอยู่แค่ในตำแหน่งขอเงินพ่อแม่ หรือลูกจ้าง ยังไม่เคยค้าขายหรือทำธุรกิจ ทซึ่งทุกอย่างต้องสมดุลกันไม่งั้นระบบพัง
ขอแชร์ไอเดียเพิ่มครับให้ ธ. สร้าง บช ที่เอาไว้เก็บเงินก้อนโดยที่ บช นี้จะโอนเข้าได้อย่างเดียวเวลาถอน ต้องมาที่สาขาเท่านั้นไม่สามารถโอนออกเองได้
ขอแนะนำเพิ่มครับ เราควรมีระบบรวมศูนย์บัญชีธนาคารทั่วประเทศ และให้สามารถมี บช 1บช ในราคาปกติต่อคนเท่านั้น แต่ถ้าไครต้องการมากกว่านั้นจะต้องเสียเงินประกันที่สูงเพื่อป้องกันไม่ให้คนทั่วไปเปิด บช ได้ง่ายๆ แบบนี้น่าจะลดได้เยอะ ส่วนธนาคารก็ไม่ควรรับผิดชอบฝ่ายเดียวแต่ ต้องมีความรับผิดชอบมากกว่านี้ ไม่ใช่ใช้ความเห็นแก่ตัวเองเป็นที่ตั้ง
ถ้ามิตรรู้ว่าขั้นต่ำเราเท่าไหร่เข้าก็ จัดการโอนขั้นต่ำเราซ้ำ ๆได้อีกครับ
ระบบพักเงิน แบบยินยอม น่าสนใจครับ
เห็นด้วยครับ แต่การจำกัดวงเงินมีอยู่แล้วนี่คับ เค้าบังคับให้ไปเซ็ทติ้งในแอพอยู่แล้ว
เพิ่งเจอเมื่อวานซื้อของจากส้มอยู่แพลตฟอร์มเดียว ส่งมาทางเหลือง มีของจ่ายปลายทางมา 350 บาท เป็นเหมือนมุ้งอะไรซักอย่าง ไม่ได้สั่งเลยพนักงานบอกอาจจะมาจากแพลตฟอร์มอื่น มันเป็นไปไม่ได้เพราะใช้อยู่เจ้านี้เจ้าเดียว กำลังสงสัยว่าข้อมูลเราหลุดไปได้ยังไง ดีที่เราไม่ได้ใช้ชื่อจริงสั่งของเลยรู้ว่ามันผิดปกติ
เห็นด้วยกับเฮียจิ๊กโก๋ แต่วงเงินไม่อยากให้มองแค่หลักล้าน คือชีวิตจริง หลักล้านคือคยรวยหรือยักธุรกิจซึ่งจะใช่เช็คมากว่า แต่ที่โดนกันเยอะคือชาวบ้าน หลักหมื่นนี่เรื่องปกติ ถ้าเผลอหมดบัญชีก็หลักแสน
อีกทางหนึ่งคือให้เงินโอนอิเล็กทรอนิกส์ มีตัวระบุว่าโอนให้ใครเพื่อการใดหรือเพื่อชำระค่าอะไรกับใครต่อไป .. ถ้าเงินที่รับไป ผู้รับใช้ไม่ตรงตัวระบุ ก๋จะใช้ไม่ได้ และถูกตั้งข้อสงสัยว่ามีเจตนทุจริต
ถูกต้องที่สุด เงินก้อนใหญ่ รอได้ เช่นจ่ายค่า ดาวน์รถ 200,000 ผมนั่งรอที่โชว์รูมได้ เซล์ขายรถก็รอได้ แค่ 30 นาที
เห็นด้วยเป็นอย่างยิ่งครับ แต่ผมคิดว่าเงินจำนวนมากพักไว้ 30 นาทีเวลาน้อยไปครับ พัก24ชั่วโมงกำลังดีครับ
อยากให้มีบัญชีพักเงินก้อนใหญ่ของเราที่จะไม่ให้มีในแอพธนาคารต้องไปดำเนินการที่ธนาคารเท่านั้นและมีผลอีก 1 วันทำการ เพื่อจำกัดความเสียหายที่เกิดขึ้น ไม่ใช่โดนหลอกแล้วหมดตัวทุกบัญชี ถ้าเราอยากใช้เงินก้อนนี้ต้องวางแผนหน่อยแค่นั้นคร้บ ดีกว่าหมดตัวเพราะโดนหลอก
เห็นด้วยครับ
เห็นด้วยกับพี่หลามในการยินยอมชะลอเงินเพื่อให้เราสามารถยกเลิกการโอนได้ แต่ถ้าโจรก็รู้ว่ามีการชะลอ แล้วทำการปลดล๊อกได้ด้วยแอปก็จะไม่เกิดประโยชน์ ที่ควรทำคือทำอย่างไรให้การปลดล๊อกไม่สามารถทำได้ด้วยแอปธนาคาร แต่จะด้วยวิธีการใดนี่คือเรืองที่ต้องคิด พี่หลามจบ EP นี้แล้วจะทำไอเดียร์ดีๆที่คิดได้แบบนี้ต่อยังไงครับ
น่าจะหน่วงเวลา ถอนเป็นเงินสด หรือ โอนต่างประเทศ ผมว่า ถ้าโอนภายในประเทศ ธนาคารเค้าคงเช็คไม่ยากหรอกว่า ไปถึงไหนต่อไหน แต่ถ้า กดตังออกไปแล้วคือจบ ตามยาก
ถือว่าดีเลยครับ
ธนาคารทำไม่รู้ไม่เห็นเกี่ยวกับบัญชีมิจฉาชีพทั้งๆที่มีข้อมูลเต็มพิกัดสามารถไล่ไปถึงตัวผู้กระทำความผิดได้ด้วยซ้ำ ทำไม่รู้ไม่เห็น และอ้างปกป้องบัญชีลูกค้าควรมีกฎหมายเอาผิดธนาคารด้วยนะ
ส่วนมิจฉาชีพก็ตามจับกันไป หากจะหามาตรการดีเลย์แลเพิสูจน์ทุกธุรกรรมที่มีวงเงินสูง…ต้องใข้เจ้าหน้าที่กี่คร เพร่ะแต่ละวันมีกี่ธุรกรรมครับ
ผมเห็นด้วยกะบวิธีพี่หลามครับ ถ้าจะให้ดีให้เราตั้งได้เองในแอปก็ดีนะครับ หรืิถ้าเงินเยอะๆ ให้มีการกดยืนยันก๋อนอนุมัติให้กดเงิน
ปกติก็ตั้งวงเงินเองในแอพได้นะครับ แล้วก็มีให้กดยืนยันก่อนโอนหลายขั้นตอน
ในเรื่องนี้ปกติขัั้นการ 13:05 ยืนยัน การดำเนินการมีข้อตกลง ไว้อยู่แล้วนะครับ แต่บอกตรงๆว่าคนไทย ไม่เหมือนต่างชาติตรงที่ไม่ว่าจะซื้อของไม่อ่านฉลาก ทำสัญญาต่างๆ คนไทยนิยมไม่สนใจอ่านข้อตกลง เงื่อนไข ใดโดยละเอียดเลย และกรณีนีี้ ทุกการติดต้ังแอพใดบนมือมือ ย่อมมาจากการ เต็มใจดำเนินอยู่แล้ว และการตัดสินใจ ยอมรับในเรื่องใด ก็แล้วแต่ ย่อมต้องยอมรับ ผิดชอบโดยดุษฏี นะผมว่า ผมเสนอว่า คนไทยต้องสร้างระบบจิตสำนึก และตระหนักในสิทธิ ของตน ให้ได้หากทำการใดเกิดผลกระทบก็ต้องรับผิดชอบ
ไม่ใช่ครับ หากมิขฉาชีพแฮ็กเพิ่มวงเงิน กดถอนเอง นั่นคือปัญหาการรักษาความปบอดภัยของธนาคาร ธนาคารต้องรับผิดชอบ เพราะเขารักษาเงินหรือเครดิตเราไม่ได้
ถ้าทำแบบที่พี่ว่า คนรับก็น่าจะคิดเงิน 2 เรต ถ้าจ่ายด้วยเงินที่ต้องพักก่อนก็ + x %
สัปดาห์ที่แล้วดูรายการไหนจำบ่ได้ เหมือนพรรคก้าวไกลจะเสนอข้อเสนอนี้ไปแล้วนะครับ
ง่ายๆ 1. ใครเป็นเจ้าของบัญชีม้า โดนจับจริง ปรับจริง จะได้ไม่กล้าเปิดบัญชีให้มิจฉาชีพ2. ซิมโทรศัพท์ หากตรวจสอบพบเจ้าของเบอร์ก็ให้ดำเนินคดีหนักๆ3. ยอดเงินที่โอนหรือถอนผิดปกติ ต้องมีการยืนยันตัวตนโดยการ call กับเจ้าหน้าที่ หรือถ้าผู้ที่มีการยืนยันตัวตนแล้วไม่ต้องความคิดของผมเอง
ทำอะไรมันก็มีผลกระทบทั้งนั้น ถ้าไปชะลอเงินแล้ว คนขายเขาก็รอเงิน จะทำยังไง มีสติสิครับ ก่อนโอน ไปเชื่ออะไรง่ายๆ ล่ะ คนโดนหลอกโอนเงินมีไม่ถึง 0.1 %แต่จะไปแก้ระบบกระทบคนเป็น อื่น 99.9% สติๆ อย่าเชื่อคนง่าย ๆแค่นั้น
แก้ปัญหาเรื่องบัญชีม้าให้ได้ก่อน โทษมันเบาเกินไป ควรให้ความผิดร้ายแรงพอๆกับการปลอมแปลงเงินหรือหนักกว่า
ลองดูข่าวเรื่องเล่าเช้านี้ครับพี่หลาม มีรายละเอียดค่านข้างชัดเจนครับ ค้นคำนี้ครับ"เปิด 4 เหตุผล ศาลยกฟ้องคดีผู้บริโภค ไม่จ่ายหนี้บัตรเครดิต หลังถูกมิจฉาชีพดูดเงิน"
กรณีนี้ธนาคารผิดเต็มทีกรณีเป็นบัตรเดบิตผู้ใช้รับไปเต็มๆเพราะเป็นเงินของผู้ใช้แต่กรณีบัตรเครดิตเป็นเงินธนาคารยังจะให้ผู้บริโภครับผิดชอบอีกหรือ มันเป็นความรับผิดชอบของธนาคาร ถ้าเจ้าของบัตรเครดิตโกงบัตรเครดิตธนาคารก็ฟ้องเอาผิดได้
เท่าที่ฟังจากทนาย เคสนี้ ศาลยกฟ้อง เพราะ ลูกค้าแจ้งธนาคารแล้ว แต่ธนาคารไม่รีบดำเนินการอะไร แต่ให้ไปแจ้งความก่อน จนเรื่องบานปลาย ศาลจึงเล็งเห็นว่า ลูกค้าพยายามแล้ว แต่ธนาคารกลับไม่รีบทำอะไร จึงให้ยกฟ้อง
ผมว่าถ้าชะลอการโอนเงินได้ หมายถึงว่าเราสามารถดึงเงินกลับได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด แล้วถ้าในกรณีที่เราซื้อของสำเร็จแล้วเราใช้ลูกเล่นนี้ดึงเงินกลับไม่ยุ่งหรอครับ
@@aonlemosean การดึงกลับต้องแจ้งตำรวจครับ
@@techoffside ถ้าเกิดแบบนี้หลายเคสก็แจ้งตำรวจกันเยอะเลยนะครับ และผมก็คิดว่าจะมีคนทำแบบนี้เพิ่มขึ้นด้วย ร้านค้าก็ต้องแจ้งความกันเยอะเลยอะ
ดีๆๆครับ
ตอนนี้เค้าพยายามกดดันให้บรรดาธนาคารต่างๆมีส่วนร่วมในการป้องกันด้วย ธุรกรรมโอนต่อเนื่องข้ามไปมาทำไมอายัดไม่ำด้
เห็นชอบครับ
ฟีงแล้วแปลกๆ ทุกการกระทำผิดยอมมีกระบวนการ ผมว่า ธนาคารกับค่ายโทรศัพท์ต้องรวมรับผิดชอบครับ ที่ปล่อยให้กระบวนกการเหลานั้นเกิดขึ้น ต่อให้เงินอยู่ในบัญชีม้าแล้วเป็นวันๆ ธนาคารก็น่าจะดึงกลับเองไม่ได้นะ
เห็นด้วยครับพี่😊
ผมเห็นด้วยครับถึงจะไม่ครบรอบด้านหรืออย่างไรแต่อย่างน้อยก็ยังเป็นการริเริ่มรูปแบบเพื่อพัฒนาต่อยอดได้#ดีกว่าไม่ได้เริ่มอะไรเลย
สุดยอด ครับ พี่หลาม ผมขอแถมอีกนิด กรณี โอน ต่อกันในยอดเท่าเดิม เช่น กรณี โอน ยอดที่ไม่ต้องยืนยันตัวตน แบบรัวๆๆ ก็น่าทำครับ คนอะไร จะ ต้อง โอน ยอดเดิมติดกัน ขนาดนั้น ครับ โอน ยอดเดิม 3 ครั้ง ก็ น่าสงสัย แล้ว ครับ 55555 ( 100 บาท 100 ครั้ง ภายใน 100 นาที ก็ 1000 บาท แล้ว นะครับ รายได้ดีกว่า ค่าแรงขั้นต่ำ ด้วย ครับ )
แอพ ธนาคารไม่ปลอดภัย ควรสงวนสิทธิ์ การใช้แอพฯ มือถือ สำหรับ ผู้ที่มีความ รอบคอบ เท่านั่น ชาวบ้านทั่วไป ไม่ควรเข้าถึง แอพพวกนี้ ให้เปิด บัญชี ทำ ธุรกิจที่เคาเตอร ตามปกติ บอกเลยว่า ช่วยได้เยอะ
ขออนุญาติสอบถามแนวทางไอเดียที่คอมเม้นนะครับ1. จะใช้เกณฑ์ใด ตัดสินว่า คนไหนควรเข้าถึง หรือ คนไหนไม่ควรเข้าถึงอ่ะครับ 2. หากชาวบ้านทั่วไปที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการออนไลน์ ผ่านแอพ รวมตัวการไปร้องเรียก กรณีไม่สามารถเข้าถึงการใช้บริการเหล่านั้น โดยระบุว่า เป็นการเลือกปฏิบัติ (2มาตรฐาน) จะชี้แจงยังไงครับ
@@AloneSystem002 ข้อ 1 ผมคิดว่า คนที่ เล่นอินเตอร์ เนทไม่คล่อง พลาดดกดลิงค์แปลกๆ ปล่อย ผมคิดว่า ไม่มีความ ระมัดระวังพอ ก่อน ทำการ ใช้งาน ควรมี ตัวอย่าง ให้ กด ทดสอบ หรือลิงค์เทส ให้ทำก่อน รวมถึง เทสความไม่ปลอดภัย เช่นทำตัวอย่าง ว่า คุณได้กด ลิงค์ รีโมทเครื่องเข้าไปแล้ว ระบบ จะหยุให้บริการ ข้อ 2ผมคิดว่า ผู้สูงอายุ ควรไปที่ ธนาคารเท่านั้น ไม่เกี่ยวกับ 2 มาตราฐาน ถ้า เปิดให้โอนผ่าน แอพอาจจะ กดผิด พลาดได้ บางคนอาจจะ มีเงินเป็น 100ล้าน ผูกกับแอพไม่ปลอดภัย
@@yamato00001 ข้อ1 น่าสนใจนะครับ เป็นการช่วยตรวจสอบความปลอดภัยให้เครื่องผู้ใช้งานข้อ 2 ประเด็นยอดความเสียหายสูง เห็นในข่าวผู้เสียหายหลายคนที่โดน หลักแสน หลักล้าน จากการผูกแอฟกับบัญชีหลัก หรือมีบัญชีธนาคารที่เปิดใช้แค่1บัญชี ซึ่งอาจใช้การเปิดบัญชี ไว้สำหรับผูกกับแอพ แยกจากบัญชีหลักให้ชัดเจน แล้วใช้การฝากเงินเข้าบัญชีผูกแอพ โดยยอดสูงสุดในบัญชีผูกแอพ คือ จำนวนเงิน + ความเสี่ยงการหลอกโอนเงิน < or = จำนวนเงินสูงสุดในบัญชีที่ผูกแอพ ยอดเงินในบัญชีผูกแอพต้องมีไม่เกิน ยอดความเสียหายเราสามารถรับได้ขอบคุณสำหรับการตอบกลับ ข้อสงสัยของผมนะครับ เป็นการแลกเปลี่ยนมุมมองความคิดเห็นทำให้รู้สึกดี สำหรับผมครับ🤝
ไม่ใช่ครับ ถ้าคนทำไม่ใช่เรา ธนาคารต้องรับผิดชอบอยู่แล้วตามกฎหมาย!
เปลี่ยนเงินในธนาคารทุกบาทเป็นเหรียนญดิจิตอลครับ 1 บาท = 1 บาท เหรียญทุกเหรียญติดตามได้ครับ ย้ำว่าเปลี่ยนประเภทน่ะครับไม่ใช่ไปกู้มา เงินบาทที่โดนเปลี่ยนส่งกลับไปทำลายครับจะทำให้เงินไม่เฟ้อ ไม่ซ้ำซ้อน ค่าเงินเท่าเดิม ปลอดภัยขึ้น
ผมซื้อ idea นี้ครับพี่หลาม ต้องเปลี่ยนจากพี่หลามเป็น พี่หลามแหลม แล้วครับ good idea
เอาง่ายๆนะพี่หลาม คือตอนนี้ธนาคารทุกธนาคารไม่ทำเชี่ยอะไรเลย
ประเด็นคอลเซ็นเตอร์ต้องช่วยกันทุกฝ่ายคับ รัฐบาล ธนาคาร ค่ายมือถือ ต้องช่วยกัน เช่นเปิดบัญชีได้ไม่เกินคนละ2บัญชีป้องกันบัญชีหน้าม้า หรือดีเลย์การโอน ให้หน่วงไว้ประมาณ2ชม เป็นต้น และควรมีเจ้าภาพเรื่องนี้โดยเฉพาะ เช่นอาจเป็นธนาคารเอง หรือตำรวจ เอาฝั่งเดียวไปเลย
เห็นว่ากรณีนี้เจ้าของบัญชีแจ้งปิดบัตรแล้ว แต่โจรเอาไปทำรายการทีหลัง ดังนั้น bank ผิดเต็มๆ ประเด็นต่อมาคือตอนโจรทำรายการทำรายการแบบมี otp หรือไม่ ถ้าตอนทำมี otp แล้วเหยือก็เอา otp ไปบอกโจร แบบนี้ bank ไม่ผิดนะครับ
สมัยนี้มือถือกันทุกคนแล้ว โอนเงิน ให้ใช้สแกนใบหน้า หรือลายนิ้วมือ หรืออื่นๆ
ก็ดีนะ เงินก้อนนี้เข้า ห้ามโอนออกก่อน 24 ชั่วโมง ก็ดีนะ จำนวนไหนไม่เกิน 24 ชั่วโมงห้ามโอนออก
จริงครับ
พี่หลามยังเล่าไม่ครบครับ เจ้าของบัตรเขาแจ้งอายัดบัตรเครดิตทันที แต่ธนาคารเพิกเฉย ศาลเลยตัดสินให้เป็นหน้าที่ของธนาคารรับผิดชอบ เนื่องจากการตัดผ่านบัตรเครดิตยังมีเวลาให้อายัดอยู่
อ๋อแบบนี้นี่เอง ผมก็คิดอยู่ว่ามันแปลกๆ ถ้าแบบนั้นเราก็โกงธนาคารเป็นว่าเล่นน่ะสิ 😅
ถ้าบอกแบบนี้ก็ชัดเจนแล้ว แบงฟ้องงอแงเองแล้วแบบนี้ จะตัดสินแบบนั้นก็ไม่แปลก
@@tong1mon198 เนื้อข่าวไม่ได้บอกเรื่องนี้ครับ ผมรู้เท่าที่อ่าน
อ่อแบบนี้สมควรครับ
ใช่ เล่าไม่ครบ ความหมายเปลี่ยนหมด
คนไทยต่างกับฝรั่งที่ขาดจิตสำนึกในการปกป้องสิทธิตนเองอยู่ เห็นว่าศาลตัดสินถูกต้องแล้ว เพราะ ธนาคารมีศักยภาพมากกว่าผู้ใช้บริการ
ธนาคารต้องรับผิดในความประมาทที่ไม่ทำระบบป้องกันให้ดีเอง ถ้าบอกปัดให้เป็นความรับผิดของผู้ใช้บริการ ธนาคารก็จะละเลยไม่ป้องกัน เป็นการลงโทษธนาคารที่ผลักภาระให้ผู้อื่น
ถ้าไม่ปรากฎว่าผู้ใช้บริการประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงหรือทุจริตเสียเอง ก็ต้องตัดสินให้เป็นคุณแก่ผู้บริโภคที่อ่อนแอกว่า
ดาบ 2 คม
@@kittanakit856 ไป
ไม่เสมอไป ก็ให้รัฐบาล เข้าไปจัดการเองทั้งหมดแล้ว ทำการประมูลเจ้าของ ท่าธนาคารจ่ายไม่ไหว ่่่่่รณ
มืดกนสองเล่ม@@kittanakit856
ธนาคารตัวดีเลยครับ ประชาชนยังใจดีไม่รวมตัวฟ้อง ปล่อยให้ข้อมูลส่วนบุคคลหลุด โดนแฮก แต่ส่วนใหญ่มาจากพนักงานธนาคารเองครับ
พนักงานขายหรือแอบนำข้อมูลไปหาเงิน
ผมว่าควรแก้ที่บัญชีม้าด้วยนะครับ โดยการเพิ่มบทโทษให้แรงกว่าปัจจุบัน10เท่า
ไม่งั้นมันก็ขายบัญชี300-1000บาทชิวๆ พอโดนจับก็ตีหน้าเศร้าบอกรู้เท่าไม่ถึงการณ์ บ้านจน ลูกป่วย พ่อแม่แก่ อ้างเหตุผลสารพัด
พอถึงชั้นกระบวนการยุติธรรม ก็สารภาพ ลดโทษ สุดท้ายก็ออกมาใช้ชีวิตปกติ ประนึงโดนแค่ไม้บรรทัดมาตีมือใครมันจะกลัว
บัญชีม้าบางคนก็ไม่ได้เต็มใจเปิดครับบางคนโดนขโมยข้อมูล บางคนโดนหลอกจากการสมัครงาน หรือสมัครพวกสินเชื่อต่างๆ หรืออะไรก็ตามแต่มันมีหลายปัญจัยครับ
@@TTTivเขาสืบต่อได้ ถ้าคนตั้งใจจริงๆอย่าเห็นใจครับ
ผมเคยโดนคนเอาบัตรประชาชนปลอมไปเปิดบัญชีม้า ได้ด้วยครับ ไม่รู้มีคนโดนมากแค่ไหน ธนาคารพยายามปกปิดความผิดตัวเองด้วย ขอไม่บอกว่าเจ้าไหน เรื่องแดงเพราะผมไปอัพเดทข้อมูลที่ธนาคาร แล้วมีเตือนว่า อีกบัญชีแดง คือ เสี่ยงฟอกเงิน เป็นธนาคารต่างจังหวัด คือมันใช้บัตรปลอมเปิดบัญชีม้าได้ครับ มันเสียบบัตร ชิพมีข้อมูลเลขเราแต่เป็นชื่อคนอื่น ที่อยู่อื่น มันสวมเลขเราเลย
ผมขอ ออกความเห็น ส่วนตัวนะครับ
ที่จริง ให้ธนาคาร เป็นคนเสียหาย มีข้อดีที่ดีมากๆนะครับ อะไรที่ว่าดี เพราะปัจจุบัน เท่าที่ผมมีข้อมูล พวกมิจฉาชีพ บ้างกลุ่ม มี api ธนาคาร 😅 เพื่อทำให้ธนาคารตื่นตัวจาก เหตุการนี้มากขึ้น ให้เลิก พัฒนาแอพ ธนาคารจอมปลอม ที่เพิ่มแต่ช่องโหว่ เข้าไปเรื่อยๆโดยเฉพาะธนาคารไทย ให้มาทำช่องโหว่ที่มี ให้หมด เพื่อใช้คนใช้ ปลอดภัยมากขึ้นไม่ใช่เพื่อให้ มันสวยขึ้นแต่ปลอดภัยน้อยลง ให้นักพัฒนาแอพธนาคารมาเถียง ก็ได้ ท่าคุณว่าแอพคุณ ปลอดภัยมากพอจริงๆ ผมจะทดสอบให้ เองว่าปลอดภัยจริงไหม มีช่องโหว่ ไหนอีกไหม ผมกล้าพูดว่ามี และผมรู้ด้วยแต่ ขอเงียบไว้ละกัน
ก็แค่เลือกให้โอนเฉพาะในประเทศ หรือ เลือกบ้นชีที่โอนประจำได้โอนได้ทันที บันชีแปลกบันชีฅ่างประเทศให้ส่งsmsยืนยันสองขั้นฅอนเพื่อยืนยันการโอนเงิน
พี่พูดพี่หลามพูดถูกต้องครับ หลักหมึ่นขั้นไป ต้องทำชะลอไว้ รีเลย์ซัก 10 นาที เพื่อความรักษาของเราของการถูกโกงครับ 👍
ผมว่าช่องโหว่ที่ศาลหมายถึงไม่ใช่แค่ข้อผิดพลาดที่คนร้ายสามารถเจาะหรือแฮคเข้าไปได้นะครับ แต่เป็นตัวภาพรวมของระบบเองที่ยังไม่ปลอดภัยพอ รวมถึงที่พี่หลามพูดเรื่องการชะลอธุรธรรมด้วย 😢
ถ้าระบบดี คนโง่ที่สุดในโลกก็ไม่โดนหลอกหลอกครับ
ในโลกเรานี้ไม่มีหรอกคำว่า ระบบที่ไร้ที่ตินะ ทุกรูปแบบ ทุกระบบมันมีช่องโหว่ทั้งนั้นแหละ อยู่ที่ใครจะมองเห็นช่องนั้น ๆ มองเห็นแล้วจะทำอะไรหรือไม่ บางระบบที่คิดว่าดีที่สุด สุดยอดที่สุด ป้องกันได้แน่ ๆ ช่องโหว่นั้นอาจจะเป็นคำว่า "เวลา" ก็ได้
ขออนญาตตั้งคำถามจากคอมเม้นนี้นะครับ
คือ "ภาพรวมระบบ ยังไม่ปลอดภัยพอ" โจร ตั้งเป้าไปโจมตีระบบโดนตรงดีกว่ามั้ยครับ เดิมฟระเดิมกับระบบที่ยังไม่ปลอดภัยพอ ถ้าโดนเจาะได้ โอกาสได้เงินมากกว่าการหลอกลูกค้าแน่นอน
"ทุกระบบโดนเจาะได้เสมอ ไม่มีระบบไหนที่จะไม่มีจุดอ่อน"
การที่ลูกค้าโดนหลอกโอนเงิน ในมุมมองของผม มันอาจเปรียบเทียบได้กับการที่โจรดักปล้นระหว่างทาง มีโอกาสได้เงินจากลูกค้ามากกว่าการบุกเข้าไปปล้นเงินธนาคารโดยตรงรึป่าวครับ
แล้วข้อมูลที่ธนาคารปล่อยหลุดมา ซื้อขายข้อมูลบุคคลในตัวพนักงานธนาคาร ที่แอบนำข้อมูลส่วนบุคคล ไม่เคยเห็น ธนาคารรับผิดไรเลยครับ
เช็ค ตู้กดที่มีประวัติเสีย ให้มีกล้องเพิ่มขึ้น
ถ้ามีอีกครั้งก็ปิดตู้สาขานั้นครับ
@@you2ube-v2d คนที่โดนหลอก ก็คือเจ้าของบัตรตัวจริงไปโอนเงินใหคนอื่นเพราะโดนหลอก ติดกล้องเพื่ออะไร
ธนาคารต้องรับผิดชอบ100%ทุกกรณีที่โดนหลอกครับ เพราะเงินเราฝากไว้กับเขา เราอุ่นใจเมื่อเงินอยู่กับธนาคาร แต่ธนาคารจะทำไม่รู้ไม่ชี้ ไม่เดือดไม่ร้อน มันไม่ได้นะ เพราะเดี๋ยวธนาคารจะหาทางป้องกันเงินเราเองครับ
ธนาคารเขา เอาเงินคนฝากไปหมุนไปลงทุนได้กำไลมากมาย ภาระตรงนี้ ธนาคารควรรับผิดชอบโดยตรง ถ้าธนาคารใด ไม่คิดรับผิดชอบ คุณก็ประกาศออกมาเลย ผมจะถอนให้หมดแบงค์และไปฝากธนาคารที่ มั้นใจระบบป้องกันตัวเอง
แบบนี้ผมก็สร้างกลุ่ม ไลน์ แกล้งว่าโดนแอบดูดเงินออก ได้สิครับ เพราะ ธนาคารต้องรับผิดชอบทุกเคส ซึ่ง สาเหตุที่โดนดูดเงิน คนมันโง่เองอะครับ
@@blueeyefin7088 โคตรเห็นแก่ตัวเลยครับคุณ
พอใจในคำตัดสินของศาลในเรื่องบัตรเครดิต
เพราะจะทำให้ธนาคารมีความรับผิดชอมต่อลูกค้ามากขึ้น
ไม่ใช่รับแต่ประโยชน์ฝ่ายเดียว
เป็นความคิดที่ดีและล้ำหน้า
เรื่องแบบนี้คิดง่าย ๆ แต่พวกใหญ่โตมันเข้าข้างกันเองจนกรรมตกอยู่ที่ชาวบ้านที่ไม่มีพวกพ้องปากเสียงอะไร
จริง ๆ เงินในบัญชีที่ถูกดูดไปเป็นเงินธนาคารด้วย ไม่ใช่เงินเรา ถือเป็นช่องโหว่ของแอปธนาคาร ไม่ใช่ให้คนใช้แอปต้องมารับผิดชอบแบบนี้
แนวคิดที่ให้ธนาคารเป็นตัวกลางก่อน คือผู้โอนไปให้ปลายทางแต่เงินจะถูกพักที่ธนาคารก่อน แล้วค่อยยืนยันตัวตนถอนเงินได้ก็น่าจะช่วยได้ แต่ก็ยังไม่เข้าใจว่าหลายธนาคาร หลายหน่วยราชการก็มีคนเก่งๆ แต่ทำไมแนวคิดนี้ไม่เกิด
ตอนที่มีข่าวบัญชีม้าทุกวันผมก็คอมเม้นท์แบบนี้นะ จนวันนี้ได้ยินพี่หลามเสนอแนวคิดนี้คือเป็นการตอกย้ำว่าวิธีนี้มันดูจะปลอดภัยกับทุกฝ่ายระดับนึง
แบบนี้จะคล้ายอเมริกาที่ดู 9arm มา ทำได้แต่ว่าระบบ พร้อมเพย์ จะทำให้เกิดไม่ได้ การจ่ายเงินจะยุ่งยากขึ้น ต้องเลือกอันใดอันหนึ่ง
ถ้าธนาคารต้องรับผิดชอบทุกอย่างอาจจะมีอาชีพล่าค่าหัวมิจฉาชีพในตลาดมืดก็ได้ เเบบอเมริกาที่มีอาชีพนักล่าค่าหัวลูกหนี้ ในกรณีที่ลูกหนี้หนี ไม่ได้ทำอะไรรุนเรง เเค่จับมาขึ้นศาลใช้หนี้
เรื่องโดนหลอก ต้องว่าเป็นกรณีๆไป ในกรณีนี้ชัดเจนว่าธนาคารเป็นผู้ผิด เงินถูกดำเนินการใดๆในขณะที่เจ้าของบัตรได้อายัติบัตรไว้แล้ว แต่ในอีกหลายกรณี อย่างโอนด้วยตัวเอง กรณีแบบนี้คงยากที่โยนความผิดให้ธนาคาร
🎉🎉🎉 ขอขอบคุณสภาผู้บริโภค และทุกๆท่าน ที่ช่วยกันเรียกร้องความเป็นธรรม ครับ...
ใช้วิธีลงทะเบียนดีมั้ย บัญชีที่มีการยืนยันตัวตนการค้าแล้วเมื่อมีเงินโอนเข้าได้ทันที แต่บัญชีที่ไม่ได้ยืนยันตัวตนมีเวลาดีเลย์2-3ชั่วโมง
สงสารธนาคาร ป้องกันจนไม่รู้จะป้องกันยังไงละ เลขหลังบัตร ก็ให้เขาไปเอง Otp กับ pass ก็ไปโหลดแอปนอกโง่ๆให้โดนดักเอง น่าเบื่อ ต่อให้ทำตามพี่หลามว่าแม้งก็มีคนโดนอยู่ดีอ่ะ เพราะเขาขออะไรก็ให้เขาหมด คนโดนหลอกมันไม่รู้ตัวว่าตัวเองโดนหลอก จะวิธีอะไร ต่อให้รอเป็นวัน มันก็ยังไม่รู้ตัวว่าโดนหลอก เพราะมิจฉาชีพมันก็พูดไปเรื่อบอ่อเรื่องนี้ต้องรออนุมัติในวันพรุ่งนี้นะ แม้งก็เชื่อชิลไม่ตรวจไม่เช็คไม่คิด งงเหมือนกันมีปัญญาหาเงินแต่ทำไมโดนหลอกกันได้ง่ายแบบนี้
คิดว่า ระบบไปถูกทางแล้วที่ควรให้ธนาคารเป็นผู้รับผิดชอบ เพราะธนาคารเป็นผู้ที่มีศักยภาพ และออกแบบควบคุมระบบ แตกต่างจากผู้บริโภคผู้ใช้งานที่ไม่สามารถทำในส่วนนี้ได้ ทำได้อย่างเดียวคือขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่าให้เจอมิจฉาชีพพวกนี้เลย. ส่วนไอเดียการแก้ปัญหาของพี่หลามคิด มันจะเป็นความวุ่นวาย อาจทำให้ระบบยุ่งยากซับซ้อนและสับสน ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อปัญหาที่กำลังจะแก้ไข แต่จากไอเดียนี้หากปรับเปลี่ยนนิดหน่อยอาจะใช้งานได้ คือร้านค้าที่ประสงค์จะให้ลูกค้าชำระเงินออนไลน์ต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบการกับธนาคาร และทางธนาคารต้องสกรีนบัญชีเหล่านี้ให้เข้มงวด ลูกค้าชำระเงินปุ๊บ เงินควรเข้าปั๊บ. แต่ถ้าเป็นร้านค้าที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ การชำระเงินจากลูกค้าจะถือเป็นการโอนเงินทั่วไป ธนาคารก็ไปตั้งกฏเกณฑ์เพื่อป้องกันการเสียหาย และให้เป็นระเบียบเดียวกัน ไม่ใช่ให้ลูกค้าเป็นผู้ยินยอมหรือไม่ยินยอม อย่างเช่นการโอนเงินให้ผู้ติดต่อรายใหม่เป็นครั้งแรกระบบจะดีเลย์การโอนเป็นเวลา1-3วัน ในวงเงินที่ผู้ใช้งานกำหนดเองได้ และหากมีการโอนเงินให้กับผู้ติดต่อรายใหม่นี้เกินXครั้ง การทำธุรกรรมครั้งต่อๆไปก็จะเป็นปกติ .สุดท้ายการผลักภาระให้ธนาคารเป็นผู้รับผิดชอบจะเป็นการกระตุ้น ธนาคารได้ดีสุด ที่จะให้ธนาคารให้ทำระบบได้ดีและปลอดภัยยิ่งขึ้นมาใช้งาน
แนวคิดนี้ดีครับ ตั้งระบบตรวจสอบตัวตนความเน่าเขื่อถือที่ชัดเจน
ความคิดของพี่หลามนี้ใช้ได้เลยนะ พี่ฉลาดมากเลยครับ 🙏🏻
ไอเดียนี้น่าสนใจมากครับ
แบบพี่หลาม ทาง DEV ทำได้หมดครับ แต่ต้องให้ทางการอนุมัติ ธนาคาร > แบงค์ชาติ > RIS > รัฐสภา ต้องให้ต้นทางใหญ่เป็นคนกำหนด ส่วนพวก Devไม่เรื่องมาก เงินโปรเจ็ค มาคือทำให้ได้ทุกแบบ
ดีมากครับ
ดีครับ ให้ธนาคารเป็นตัวกลาง เหมือนซิ้อของในแอปออนไลน์เจ้าดัง ไม่ต้องกลัวโดนโกง เงินกองไว้ที่ตัวกลางก่อน
เห็นด้วยครับเยี่ยมมาก😊😊😊
พี่หลาม มีไรกับธนาคารไหมครับ แลเข้าข้างจังครับ เรื่องนี้ผิดตั้งแต่ที่ ธนาคาร ปล่อยมี ขายข้อมูล ลูกค้าใน บริษัทร่วมธุรกิจ เช่น ประกัน การลงทุน ระบบหลังบ้าน เช่น พนักงานธนาคารสามารถเข้าถึงข้อมูล แบบส่วนตัวมาก ไม่มีการใช้ รหัส พนักงานธนาคาร 2-3 คน ในการขออนุญาตเข้าข้อมูล เช่น ก็อปปี้ไฟล์ เครื่องมือสื่อสาร ส่วนตัวพนักงานธนาคาร ห้ามใช้ในเวลาทำงาน
ผมว่าเป็นกลางแล้ว คุณแหล่ะครับมองเห็นมุมมองเห็นแก่ตัว เพราะคุณคือคุณใช้มุมมองเด็กน้อยอยู่แสดงว่าคุณไส่เป็นแค่เด็กน้อยขอดงินพ่อแม่ไม่ก็พนักงานเงินเดือน มันต้องเป็นพสกที่เคยค้าขายด้วยถึงจะมีความเป็นกลาง แบบคุณหลามนั่นล่ะ ที่เคยเป็นทั้งลูกจ้างนายจ้างทั้งค้าขาย ความคิดเขาเลยสมดุลแล้วไม่เอียงข้างแบบคุณ
@@Thanks-h9v อ่านคอมเม้นนี้ครับ
ผมว่า พี่หลามแกพูดครอบคลุมนะ ธนาคารเองก็ลำบากใจ คนโดนดูดเงินก็ลำบากใจ
ต้องเข้าใจว่าคดีนี้เกิดจากการดูดบัตร แฮคบัตรไป
แล้วมีการอาญัติทันที แต่ ธนาคารไม่แอคติ้ง ปล่อยให้ดูดไป
อย่างเคส คุณตูน นักข่าวช่องสาม นั่นโดนไปเยอะอยู่ แต่อาญัติได้ แล้วไม่ต้องรับผิดชอบด้วย
แต่ ธนาคาร บัตรเครดิตรับจบให้
ที่พี่หลามแนะนำช่วงท้ายนั่นก็ดี เป็น 1 วิธีที่น่าทดลองใช้ การหน่วงสัก 3-4 ชม.
ดีครับ จะได้เป็นมาตรฐานให้ธนาคารหาทางแก้ไขป้องกัน ให้มากกว่านี้
ระบบที่ว่าปัจจุบันมีอยู่แล้ว แต่ส่วนมาใช้กับการซื้อขายระหว่างประเทศในวงเงินสูง เรียกว่า LC (letter of credit) ธนาคารทั้งสองฝั่งจะเป็นคนยืนยันให้ ประเด็นคือมันมีค่าใช้จ่ายในการออก LC ใครจะเป็นคนจ่าย คนโอนยอมจ่ายไหม ไหมคนรับเงินยอมได้เงินช้าไหม คุ้มหรือเปล่าต่างหาก
แม่ผมเคยทำบัตร atm หายที่ต่างประเทศ แล้วโดน คนเอาไปกดเงินมาหมดเลย(บัตรบ้านเขาแค่แตะเงินก็ออกมาเลยครับไม่เหมือนบ้านเรา) แต่ธนาคาร จ่ายเงินคืนที่โดนกดไปให้ทั้งหมดเลยครับ รู้สึกประทับใจมากการดูแลลูกค้าของที่นั้นมาก เพราะเงินที่หายไปเดี๋ยวเขาตามไปจับด้วยตัวเอง ที่อังกฤษนะครับ
ส่วนตัวคิดว่า เมื่อเกิดการถูกหลอกให้โอนเงิน ควรมีการให้รอซักอย่างน้อย 10 นาทีในกรณีโอนเงินจำนวนมากก่อนปลายทางได้เงิน เพื่อให้ผู้โอนมีเวลายกเลิกการโอนได้เผื่อกรณีถูกหลอก
ยังไงผมก็คิดว่าธนาคารต้องอุดช่องโหว่ หรือช่วยผู้บริโภคให้มากที่สุด
ไอเดียพี่ทำให้ผมนึกถึงวิธีซื้อขายผ่านคนกลางตามfbที่คล้ายๆกัน แต่น่าจะต้องปรับหลายอย่าง หรือใช้วิธีแบบเข้าเช็คได้ไหม ยินยอมให้เงินเกินหมื่นเป็นเหมือนฝากเช็คแล้วต้องรอเวลาประมาณนึงก่อนเอาเงินไปใช้ได้ แต่น่าจะต้องมีปรับแก้อะไรเพิ่มเติมอีกหลายส่วนเหมือนกันเพื่อแยกแยะว่าเป็นการโอนเชิงธุรกิจหรือไม่
เมื่อมีการโอนเงินที่กำหนดไว้ ธ. โทรมาสอบถาม ด้วย AI แล้ววิเคราะห์ข้อมูล จาก เสียง, จากคำตอบ, จาก location , จากภาพ กล้อง ได้อีกมากมาย สามารถขอคำยืนยันจากผู้เกี่ยวข้องที่กำหนดไว้
คล้ายๆที่ผมคิดนะวิธีพี่หลาม แต่วิธีผมคือ ให้การโอนเงินทางแอปจำกัดได้แค่วันละไม่เกิน 1 แสน หรือ 5 หมื่นก็แล้วแต่ แล้วจะมีคำถามว่าถ้าจะโอนมากกว่านี้ละจะทำไง ตอบคือไปธนาคารครับ เพราะคนทั่วไป ไม่มีใครจ่ายเงินกันเกินวันละแสนหรอกครับ แต่ถ้าบุคคลหรือหน่วยงานใดๆ มีความจำเป็นต้องต้องมีการโอนเงินจำนวนมากๆบ่อยๆให้ไปยื่นขออนุญาตเปิดการโอนแบบวงเงินสูงๆจากธนาคารเป็นรายบุคคลไป โดยบุคคลผู้นั้นจะต้องยินยอมรับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นเอง แค่นี้เองไม่น่าจะเป็นเรื่องยาก ใครเห็นว่าวิธีของผมมีจุดอ่อนยังไงช่วยเม้นบอกด้วยครับ
พี่หลามคับ ตั้งแต่ผ่านยุคฟองสบู่แตก มีธนาคารใหนขาดทุนบ้างมั๊ยคับ และผลกำไรที่เกิดขึ้นเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์มาจากการเอาเงินลูกค้าไปแสวงหาให้ได้มาซึ่งผลกำไรทั้งสิ้น
ธนาคารเอาเงินลูกค้าไปทำกำไร ถูกต้องแล้วครับ ไม่ได้เรื่องผิดเลย
@@kittanakit856เรียกว่าเห็นแก่ตัวมากดีกว่าครับเอาเงินลูกค้าไปหมุนให้กำไรตั้งเยอะแยะ จ่ายดอกเบี้ยเป็นเศษกระดูก
ก็เป็นเหตุเป็นผลและยุติธรรมดี ธนาคารบกพร่องเองที่ขยายวงเงินให้มิจฉาชีพ โดยที่เจ้าของบัตรไม่ได้เป็นผู้ทำธุรกรรมเรื่องการขยายวงเงิน
ใช้ 2FA สิครับ คือถ้าจะโอนเงินก้อนใหญ่ๆ ต้องไม่ได้ระบุแค่รหัสผ่าน แต่จะต้องส่ง OTP มาที่อีเมลลล์ของเราด้วย ถ้าใครเซฟตี้หน่อยก็แยกเมลล์ที่ใช้รับ OTP กับเมลล์หลักที่ใช้ประจำด้วย แล้วปิดการแจ้งเตือนทคราวนี้มิจก็ไม่รู้ว่าเราใช้เมลล์ไหน โอกาสดูดเงินสำเร็จก็จะมีน้อยลง โดยที่ไม่ต้องใช้วิธีหน่วงเวลา
เป็นการกดดัน ธ.ให้ระมัดระวังตัวมากขึ้น
พี่พูดถูกครับ 2 ฝ่ายคือผู้เสียหาย แต่มือที่3(โจร)ได้ผลประโยชน์ไป *ต้องปราบปราม
พี่หลามพูดเหมือนจะเหมาว่า ระบบธนาคารในโลกนี้ ไม่มีใครดีเลย์การโอนเงินได้ ไม่ว่าจะเป็นแบบไหน เพราะจะทำให้ระบบการเงินมีปัญหา ก็ขอให้พี่หลามไปศึกษาดูระบบในลักษณะนี้ในต่างประเทศก่อนนะครับ ว่าไม่มีธนาคารไหนดีเลย์การโอนเงินเลยจริงๆ ส่วนตัวเชื่อว่า " มีระบบการดีเลย์เงิน ที่ปลายทางยังไม่สามารถถอนเงินได้ในทันที" อย่างแน่นอน เพียงแต่จำในรายละเอียดไม่ได้ แต่บอกได้ว่า เป็นประเทศในยุโรปครับ
ส่วนทฤษฎีพักเงินผมเคยเอาทฤษฎีพี่หลามไปเสนอกับกระทรวงde ตำรวจไซเบอร์แล้วครับเรื่องการพักเงินดีเลย์เงินก้อนเยอะๆออกไป ตอนนั้นจำได้ว่า ให้ดีเลย์ไว้3วันเลยเพราะบางทีกว่าจะรู้ตัวว่าโดนหลอกบางคนโอนจนหมดตัวเป็นเดือนๆก็มีอย่างพี่สาวผมเป็นต้น ซึ่งผมเคยเสนอให้มีการออกกฏหมายพักเงินคุยกับ จนท กระทรวงdeเค้าก็เห็นด้วยกับผม แต่จะมีการแก้กฏหมายนั้นก็ขึ้นอยู่กับ สว สส ในสภา ซึ่งตอนนี่ผมยังมองไม่ออกว่า สส สว ณ ปัจจุบันจะเห็นความเดือดร้อนของปชช มากแค่ไหน แต่ทฤษฏีพี่หลามผมเคยเสนอกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปแล้วแล้วพี่หลามก็ยังออกคลิปมาเพื่อยืนยันทฤษฏีของผมด้วย ขอบคุณครับผมบอกเลยถ้าแก้กฏหมายตรงนี้ได้อุดช่องโหว่มิจฉาชีพได้อยู่หมัดแน่นอน
รู้สึกว่าธนาคารในต่างประเทศ ก็จะมีการดีเลย์เงินโอนลักษณะนี้อยู่นะ ฟังพี่หลามแล้วก็แปลกๆ เหมือนพูดเหมาว่า ในโลกนี้ไม่สามารถมีประเทศไหน ทำระบบดีเลย์ในการโอนเงินได้เลย ซึ่งไม่เป็นความจริง
09:14 หน่วงเวลาได้ครับ เราถอนเงินจากกองทุนต่าง ๆ ยังมี 2 วันทำการเป็นอย่างน้อย ขึ้นเชคหลังบ่ายสองยังต้องรอวันทำการถัดไป
เมืองนอกโอนเงินข้ามพื้นที่ก็ต้องรอเป็นวัน
แต่การหน่วงเวลามันก็แลกมาด้วยความสะดวกที่ลดลง
การหน่วงเวลาแบบนี้ ไม่ต่างกับการไปทำธุรกรรมหน้าเคาเตอร์ ทำให้บางประเทศการทำธุรกรรมทาง electronics ถึงไม่โตเท่าบ้านเรา
จริงๆหลายคนยังไม่เข้าใจประเด็นนี้
คือประเด็นเรื่องบัตรเครดิต
ศาลตัดสิน ว่าการดึงเงินสดจากบัตรเครดิตมันคือการกู้เงินจากธนาคารมาใช่ และกระบวนการทำสัญญาในกรณีนี้ไม่สมบูรณ์ เนื่องจากไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ถือบัตร ธนาคารที่เป็นเจ้าของเงินจึงต้องรับผิดชอบ
ส่วนที่เอาจากบัญชีโดยตรงจึงไม่ใช่ความรับผิดชอบจากธนาคารไงครับ
ประเด็นที่ว่า ไม่ควรที่ธนาคารจะต้องรับผิดชอบนั้น ความเสียหายเกิดขึ้น ไม่ว่าธนาคาร หรือ ผู้บริโภค อยู่ที่ใครจะเป็นคนเสียหาย จนกว่าจะเอาผู้กระทำผิดมารับผิดได้
ถ้าผลักภาระให้ผู้บริโภครับผิด ผู้บริโภคก็ต้องไปฟ้องร้องกับผู้กระทำผิด ซึ่งมีศักยภาพน้อยกว่าธนาคาร
แต่ถ้าธนาคารรับผิดก็ไปฟ้องร้องเอากับผู้กระทำผิดได้ง่ายกว่า ผู้บริโภคที่อ่อนแอ
จริงเรามีการควบคุมวงเงินอยู่เเล้วในการโอนเเต่ละรอบต้องเเสกนใบหน้า เเต่กรณีนี้ เกิดอะไรขึ้นถึงเพิ่มวงเงินได้
ไอเดียดีมาก ขอเสริมนะครับ เมื่อเราทำสัญญาพักเงินไว้กับธนาคารแล้ว กำหนดระยะเวลาแล้วสำหรับวงเงินกลักหมื่นขึ้นไป แต่เราสามารถสร้างรหัสปลดล๊อคอีกชั้นเพื่อปลดล๊อคเงินก่อนนี้ให้ปล่อยออกได้ทันที
ปรับวงเงินโอน max ต่อวันให้ยากๆหน่อย ไม่ให้ทำ online ง่ายๆ
ผมเห็นว่า ที่ถูกต้องคือ ถ้าธนาคารมีส่วนรีบผิดชอบ มันจะขยันหาทางแก้ใขระบบให้รัดกุมเอง 😂
จริงๆธนาคารมีหลายวิธีในการตรวจสอบก่อนการโอนเงิน แค่ไม่ยอมทำแค่นั้นเอง ถามว่าถ้าธนาคารไม่ร่วมรับผิดชอบ ธนาคารก็จะไม่ยอมลงทุนในเนื่องการป้องกัน 😅
ถามว่าธนาคารคิดไม่ใด้หรอระบบป้องกันอะ มันคิดใด้ครับ แต่มันไม่ยอมลงทุนทำระบบป้องกันครับ
ธนาคารสมควรแล้วครับ ไม่เคยช่วยลูกค้าในการป้องกันเลย ทั้งๆที่ก็รู้อยู่แก่ใจว่าบัญชีไหนมันมีธุรกรรมเข้าข่ายฉ้อโกง แต่ก็ปล่อยให้การโอนเงินเกิดขึ้น ยกตัวอย่างบัญชีที่เปิดได้เงินน้อยๆเช่น 500-1000 แต่มีเงินโอนแต่ละวันเป็นหมื่น มันผิดปกติไหมล่ะครับ แล้วแบงค์ทำอะไรมั่ง เฉย ทั้งๆที่แจ้งไปทาง DSI หรือระงับบัญชีก็ได้ แต่แบงค์ไม่เคยทำเลย
น่าลองดูนะครับความคิดนี้
มีให้ตั้งค่าใน app เลยว่า delay กี่นาที วงเงินทเ่าไหร่ ขึ้นไป หรือ ตอนโอนทุกครั้ง มี check box ให้เลือกว่าจะ delay หรือไม่
มุมมองคุณหลามมีความเป็นกลางแล้วครับ ไม่เหมือนคนเม้นบางคนที่เม้นเข้าข้างตังเองมากเพราะตัวเองยังเคยอยู่แค่ในตำแหน่งขอเงินพ่อแม่ หรือลูกจ้าง ยังไม่เคยค้าขายหรือทำธุรกิจ ทซึ่งทุกอย่างต้องสมดุลกันไม่งั้นระบบพัง
ขอแชร์ไอเดียเพิ่มครับ
ให้ ธ. สร้าง บช ที่เอาไว้เก็บเงินก้อน
โดยที่ บช นี้จะโอนเข้าได้อย่างเดียว
เวลาถอน ต้องมาที่สาขาเท่านั้น
ไม่สามารถโอนออกเองได้
ขอแนะนำเพิ่มครับ เราควรมีระบบรวมศูนย์บัญชีธนาคารทั่วประเทศ และให้สามารถมี บช 1บช ในราคาปกติต่อคนเท่านั้น แต่ถ้าไครต้องการมากกว่านั้นจะต้องเสียเงินประกันที่สูงเพื่อป้องกันไม่ให้คนทั่วไปเปิด บช ได้ง่ายๆ แบบนี้น่าจะลดได้เยอะ ส่วนธนาคารก็ไม่ควรรับผิดชอบฝ่ายเดียวแต่ ต้องมีความรับผิดชอบมากกว่านี้ ไม่ใช่ใช้ความเห็นแก่ตัวเองเป็นที่ตั้ง
ถ้ามิตรรู้ว่าขั้นต่ำเราเท่าไหร่เข้าก็ จัดการโอนขั้นต่ำเราซ้ำ ๆได้อีกครับ
ระบบพักเงิน แบบยินยอม น่าสนใจครับ
เห็นด้วยครับ แต่การจำกัดวงเงินมีอยู่แล้วนี่คับ เค้าบังคับให้ไปเซ็ทติ้งในแอพอยู่แล้ว
เพิ่งเจอเมื่อวานซื้อของจากส้มอยู่แพลตฟอร์มเดียว ส่งมาทางเหลือง มีของจ่ายปลายทางมา 350 บาท เป็นเหมือนมุ้งอะไรซักอย่าง ไม่ได้สั่งเลยพนักงานบอกอาจจะมาจากแพลตฟอร์มอื่น มันเป็นไปไม่ได้เพราะใช้อยู่เจ้านี้เจ้าเดียว กำลังสงสัยว่าข้อมูลเราหลุดไปได้ยังไง ดีที่เราไม่ได้ใช้ชื่อจริงสั่งของเลยรู้ว่ามันผิดปกติ
เห็นด้วยกับเฮียจิ๊กโก๋ แต่วงเงินไม่อยากให้มองแค่หลักล้าน คือชีวิตจริง หลักล้านคือคยรวยหรือยักธุรกิจซึ่งจะใช่เช็คมากว่า แต่ที่โดนกันเยอะคือชาวบ้าน หลักหมื่นนี่เรื่องปกติ ถ้าเผลอหมดบัญชีก็หลักแสน
อีกทางหนึ่งคือให้เงินโอนอิเล็กทรอนิกส์ มีตัวระบุว่าโอนให้ใครเพื่อการใดหรือเพื่อชำระค่าอะไรกับใครต่อไป .. ถ้าเงินที่รับไป ผู้รับใช้ไม่ตรงตัวระบุ ก๋จะใช้ไม่ได้ และถูกตั้งข้อสงสัยว่ามีเจตนทุจริต
ถูกต้องที่สุด เงินก้อนใหญ่ รอได้ เช่นจ่ายค่า ดาวน์รถ 200,000 ผมนั่งรอที่โชว์รูมได้ เซล์ขายรถก็รอได้ แค่ 30 นาที
เห็นด้วยเป็นอย่างยิ่งครับ แต่ผมคิดว่าเงินจำนวนมากพักไว้ 30 นาทีเวลาน้อยไปครับ พัก24ชั่วโมงกำลังดีครับ
อยากให้มีบัญชีพักเงินก้อนใหญ่ของเราที่จะไม่ให้มีในแอพธนาคารต้องไปดำเนินการที่ธนาคารเท่านั้นและมีผลอีก 1 วันทำการ เพื่อจำกัดความเสียหายที่เกิดขึ้น ไม่ใช่โดนหลอกแล้วหมดตัวทุกบัญชี ถ้าเราอยากใช้เงินก้อนนี้ต้องวางแผนหน่อยแค่นั้นคร้บ ดีกว่าหมดตัวเพราะโดนหลอก
เห็นด้วยครับ
เห็นด้วยกับพี่หลามในการยินยอมชะลอเงินเพื่อให้เราสามารถยกเลิกการโอนได้ แต่ถ้าโจรก็รู้ว่ามีการชะลอ แล้วทำการปลดล๊อกได้ด้วยแอปก็จะไม่เกิดประโยชน์ ที่ควรทำคือทำอย่างไรให้การปลดล๊อกไม่สามารถทำได้ด้วยแอปธนาคาร แต่จะด้วยวิธีการใดนี่คือเรืองที่ต้องคิด พี่หลามจบ EP นี้แล้วจะทำไอเดียร์ดีๆที่คิดได้แบบนี้ต่อยังไงครับ
น่าจะหน่วงเวลา ถอนเป็นเงินสด หรือ โอนต่างประเทศ ผมว่า ถ้าโอนภายในประเทศ ธนาคารเค้าคงเช็คไม่ยากหรอกว่า ไปถึงไหนต่อไหน แต่ถ้า กดตังออกไปแล้วคือจบ ตามยาก
ถือว่าดีเลยครับ
ธนาคารทำไม่รู้ไม่เห็นเกี่ยวกับบัญชีมิจฉาชีพทั้งๆที่มีข้อมูลเต็มพิกัดสามารถไล่ไปถึงตัวผู้กระทำความผิดได้ด้วยซ้ำ ทำไม่รู้ไม่เห็น และอ้างปกป้องบัญชีลูกค้าควรมีกฎหมายเอาผิดธนาคารด้วยนะ
ส่วนมิจฉาชีพก็ตามจับกันไป หากจะหามาตรการดีเลย์แลเพิสูจน์ทุกธุรกรรมที่มีวงเงินสูง…ต้องใข้เจ้าหน้าที่กี่คร เพร่ะแต่ละวันมีกี่ธุรกรรมครับ
ผมเห็นด้วยกะบวิธีพี่หลามครับ ถ้าจะให้ดีให้เราตั้งได้เองในแอปก็ดีนะครับ หรืิถ้าเงินเยอะๆ ให้มีการกดยืนยันก๋อนอนุมัติให้กดเงิน
ปกติก็ตั้งวงเงินเองในแอพได้นะครับ แล้วก็มีให้กดยืนยันก่อนโอนหลายขั้นตอน
ในเรื่องนี้ปกติขัั้นการ 13:05 ยืนยัน การดำเนินการมีข้อตกลง ไว้อยู่แล้วนะครับ แต่บอกตรงๆว่าคนไทย ไม่เหมือนต่างชาติตรงที่ไม่ว่าจะซื้อของไม่อ่านฉลาก ทำสัญญาต่างๆ คนไทยนิยมไม่สนใจอ่านข้อตกลง เงื่อนไข ใดโดยละเอียดเลย และกรณีนีี้ ทุกการติดต้ังแอพใดบนมือมือ ย่อมมาจากการ เต็มใจดำเนินอยู่แล้ว และการตัดสินใจ ยอมรับในเรื่องใด ก็แล้วแต่ ย่อมต้องยอมรับ ผิดชอบโดยดุษฏี นะผมว่า ผมเสนอว่า คนไทยต้องสร้างระบบจิตสำนึก และตระหนักในสิทธิ ของตน ให้ได้หากทำการใดเกิดผลกระทบก็ต้องรับผิดชอบ
ไม่ใช่ครับ หากมิขฉาชีพแฮ็กเพิ่มวงเงิน กดถอนเอง นั่นคือปัญหาการรักษาความปบอดภัยของธนาคาร ธนาคารต้องรับผิดชอบ เพราะเขารักษาเงินหรือเครดิตเราไม่ได้
ถ้าทำแบบที่พี่ว่า คนรับก็น่าจะคิดเงิน 2 เรต ถ้าจ่ายด้วยเงินที่ต้องพักก่อนก็ + x %
สัปดาห์ที่แล้วดูรายการไหนจำบ่ได้ เหมือนพรรคก้าวไกลจะเสนอข้อเสนอนี้ไปแล้วนะครับ
ง่ายๆ
1. ใครเป็นเจ้าของบัญชีม้า โดนจับจริง ปรับจริง จะได้ไม่กล้าเปิดบัญชีให้มิจฉาชีพ
2. ซิมโทรศัพท์ หากตรวจสอบพบเจ้าของเบอร์ก็ให้ดำเนินคดีหนักๆ
3. ยอดเงินที่โอนหรือถอนผิดปกติ ต้องมีการยืนยันตัวตนโดยการ call กับเจ้าหน้าที่ หรือถ้าผู้ที่มีการยืนยันตัวตนแล้วไม่ต้อง
ความคิดของผมเอง
ทำอะไรมันก็มีผลกระทบทั้งนั้น ถ้าไปชะลอเงินแล้ว คนขายเขาก็รอเงิน จะทำยังไง มีสติสิครับ ก่อนโอน ไปเชื่ออะไรง่ายๆ ล่ะ คนโดนหลอกโอนเงินมีไม่ถึง 0.1 %แต่จะไปแก้ระบบกระทบคนเป็น อื่น 99.9% สติๆ อย่าเชื่อคนง่าย ๆแค่นั้น
แก้ปัญหาเรื่องบัญชีม้าให้ได้ก่อน โทษมันเบาเกินไป ควรให้ความผิดร้ายแรงพอๆกับการปลอมแปลงเงินหรือหนักกว่า
ลองดูข่าวเรื่องเล่าเช้านี้ครับพี่หลาม มีรายละเอียดค่านข้างชัดเจนครับ
ค้นคำนี้ครับ
"เปิด 4 เหตุผล ศาลยกฟ้องคดีผู้บริโภค ไม่จ่ายหนี้บัตรเครดิต หลังถูกมิจฉาชีพดูดเงิน"
กรณีนี้ธนาคารผิดเต็ม
ทีกรณีเป็นบัตรเดบิตผู้ใช้รับไปเต็มๆเพราะเป็นเงินของผู้ใช้
แต่กรณีบัตรเครดิตเป็นเงินธนาคารยังจะให้ผู้บริโภครับผิดชอบอีกหรือ มันเป็นความรับผิดชอบของธนาคาร ถ้าเจ้าของบัตรเครดิตโกงบัตรเครดิตธนาคารก็ฟ้องเอาผิดได้
เท่าที่ฟังจากทนาย เคสนี้ ศาลยกฟ้อง เพราะ ลูกค้าแจ้งธนาคารแล้ว แต่ธนาคารไม่รีบดำเนินการอะไร แต่ให้ไปแจ้งความก่อน จนเรื่องบานปลาย ศาลจึงเล็งเห็นว่า ลูกค้าพยายามแล้ว แต่ธนาคารกลับไม่รีบทำอะไร จึงให้ยกฟ้อง
ผมว่าถ้าชะลอการโอนเงินได้ หมายถึงว่าเราสามารถดึงเงินกลับได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด แล้วถ้าในกรณีที่เราซื้อของสำเร็จแล้วเราใช้ลูกเล่นนี้ดึงเงินกลับไม่ยุ่งหรอครับ
@@aonlemosean การดึงกลับต้องแจ้งตำรวจครับ
@@techoffside ถ้าเกิดแบบนี้หลายเคสก็แจ้งตำรวจกันเยอะเลยนะครับ และผมก็คิดว่าจะมีคนทำแบบนี้เพิ่มขึ้นด้วย ร้านค้าก็ต้องแจ้งความกันเยอะเลยอะ
ดีๆๆครับ
ตอนนี้เค้าพยายามกดดันให้บรรดาธนาคารต่างๆมีส่วนร่วมในการป้องกันด้วย ธุรกรรมโอนต่อเนื่องข้ามไปมาทำไมอายัดไม่ำด้
เห็นชอบครับ
ฟีงแล้วแปลกๆ ทุกการกระทำผิดยอมมีกระบวนการ ผมว่า ธนาคารกับค่ายโทรศัพท์ต้องรวมรับผิดชอบครับ ที่ปล่อยให้กระบวนกการเหลานั้นเกิดขึ้น ต่อให้เงินอยู่ในบัญชีม้าแล้วเป็นวันๆ ธนาคารก็น่าจะดึงกลับเองไม่ได้นะ
เห็นด้วยครับพี่😊
ผมเห็นด้วยครับ
ถึงจะไม่ครบรอบด้านหรืออย่างไร
แต่อย่างน้อยก็ยังเป็นการริเริ่มรูปแบบเพื่อพัฒนาต่อยอดได้
#ดีกว่าไม่ได้เริ่มอะไรเลย
สุดยอด ครับ พี่หลาม ผมขอแถมอีกนิด กรณี โอน ต่อกันในยอดเท่าเดิม เช่น กรณี โอน ยอดที่ไม่ต้องยืนยันตัวตน แบบรัวๆๆ ก็น่าทำครับ คนอะไร จะ ต้อง โอน ยอดเดิมติดกัน ขนาดนั้น ครับ
โอน ยอดเดิม 3 ครั้ง ก็ น่าสงสัย แล้ว ครับ 55555 ( 100 บาท 100 ครั้ง ภายใน 100 นาที ก็ 1000 บาท แล้ว นะครับ รายได้ดีกว่า ค่าแรงขั้นต่ำ ด้วย ครับ )
แอพ ธนาคารไม่ปลอดภัย
ควรสงวนสิทธิ์ การใช้แอพฯ มือถือ สำหรับ ผู้ที่มีความ รอบคอบ เท่านั่น
ชาวบ้านทั่วไป ไม่ควรเข้าถึง แอพพวกนี้ ให้เปิด บัญชี ทำ ธุรกิจที่เคาเตอร ตามปกติ บอกเลยว่า ช่วยได้เยอะ
ขออนุญาติสอบถามแนวทางไอเดียที่คอมเม้นนะครับ
1. จะใช้เกณฑ์ใด ตัดสินว่า คนไหนควรเข้าถึง หรือ คนไหนไม่ควรเข้าถึงอ่ะครับ
2. หากชาวบ้านทั่วไปที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการออนไลน์ ผ่านแอพ รวมตัวการไปร้องเรียก กรณีไม่สามารถเข้าถึงการใช้บริการเหล่านั้น โดยระบุว่า เป็นการเลือกปฏิบัติ (2มาตรฐาน) จะชี้แจงยังไงครับ
@@AloneSystem002
ข้อ 1 ผมคิดว่า คนที่ เล่นอินเตอร์ เนทไม่คล่อง พลาดดกดลิงค์แปลกๆ ปล่อย ผมคิดว่า ไม่มีความ ระมัดระวังพอ ก่อน ทำการ ใช้งาน ควรมี ตัวอย่าง ให้ กด ทดสอบ หรือลิงค์เทส ให้ทำก่อน รวมถึง เทสความไม่ปลอดภัย
เช่นทำตัวอย่าง ว่า คุณได้กด ลิงค์ รีโมทเครื่องเข้าไปแล้ว ระบบ จะหยุให้บริการ
ข้อ 2ผมคิดว่า ผู้สูงอายุ ควรไปที่ ธนาคารเท่านั้น ไม่เกี่ยวกับ 2 มาตราฐาน
ถ้า เปิดให้โอนผ่าน แอพอาจจะ กดผิด พลาดได้ บางคนอาจจะ มีเงินเป็น 100ล้าน ผูกกับแอพไม่ปลอดภัย
@@yamato00001 ข้อ1 น่าสนใจนะครับ เป็นการช่วยตรวจสอบความปลอดภัยให้เครื่องผู้ใช้งาน
ข้อ 2 ประเด็นยอดความเสียหายสูง เห็นในข่าวผู้เสียหายหลายคนที่โดน หลักแสน หลักล้าน จากการผูกแอฟกับบัญชีหลัก หรือมีบัญชีธนาคารที่เปิดใช้แค่1บัญชี ซึ่งอาจใช้การเปิดบัญชี ไว้สำหรับผูกกับแอพ แยกจากบัญชีหลักให้ชัดเจน แล้วใช้การฝากเงินเข้าบัญชีผูกแอพ โดยยอดสูงสุดในบัญชีผูกแอพ คือ
จำนวนเงิน + ความเสี่ยงการหลอกโอนเงิน < or = จำนวนเงินสูงสุดในบัญชีที่ผูกแอพ
ยอดเงินในบัญชีผูกแอพต้องมีไม่เกิน ยอดความเสียหายเราสามารถรับได้
ขอบคุณสำหรับการตอบกลับ ข้อสงสัยของผมนะครับ เป็นการแลกเปลี่ยนมุมมองความคิดเห็นทำให้รู้สึกดี สำหรับผมครับ🤝
ไม่ใช่ครับ ถ้าคนทำไม่ใช่เรา ธนาคารต้องรับผิดชอบอยู่แล้วตามกฎหมาย!
เปลี่ยนเงินในธนาคารทุกบาทเป็นเหรียนญดิจิตอลครับ 1 บาท = 1 บาท เหรียญทุกเหรียญติดตามได้ครับ ย้ำว่าเปลี่ยนประเภทน่ะครับไม่ใช่ไปกู้มา เงินบาทที่โดนเปลี่ยนส่งกลับไปทำลายครับจะทำให้เงินไม่เฟ้อ ไม่ซ้ำซ้อน ค่าเงินเท่าเดิม ปลอดภัยขึ้น
ผมซื้อ idea นี้ครับพี่หลาม ต้องเปลี่ยนจากพี่หลามเป็น พี่หลามแหลม แล้วครับ good idea
เอาง่ายๆนะพี่หลาม คือตอนนี้ธนาคารทุกธนาคารไม่ทำเชี่ยอะไรเลย
ประเด็นคอลเซ็นเตอร์ต้องช่วยกันทุกฝ่ายคับ รัฐบาล ธนาคาร ค่ายมือถือ ต้องช่วยกัน เช่นเปิดบัญชีได้ไม่เกินคนละ2บัญชีป้องกันบัญชีหน้าม้า หรือดีเลย์การโอน ให้หน่วงไว้ประมาณ2ชม เป็นต้น และควรมีเจ้าภาพเรื่องนี้โดยเฉพาะ เช่นอาจเป็นธนาคารเอง หรือตำรวจ เอาฝั่งเดียวไปเลย
เห็นว่ากรณีนี้เจ้าของบัญชีแจ้งปิดบัตรแล้ว แต่โจรเอาไปทำรายการทีหลัง ดังนั้น bank ผิดเต็มๆ ประเด็นต่อมาคือตอนโจรทำรายการทำรายการแบบมี otp หรือไม่ ถ้าตอนทำมี otp แล้วเหยือก็เอา otp ไปบอกโจร แบบนี้ bank ไม่ผิดนะครับ
สมัยนี้มือถือกันทุกคนแล้ว โอนเงิน ให้ใช้สแกนใบหน้า หรือลายนิ้วมือ หรืออื่นๆ
ก็ดีนะ เงินก้อนนี้เข้า ห้ามโอนออกก่อน 24 ชั่วโมง ก็ดีนะ จำนวนไหนไม่เกิน 24 ชั่วโมงห้ามโอนออก
จริงครับ