Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
ชอบครับ มีสาระและเป็นประโยชน์อย่างมากกับประเทศชาติ ดีกว่ารายการตอนหกโมงเย็นของทุกวันเยอะเลย
syngas ถูกค้นพบตั้งแต่ปี 1609 แล้วพัฒนาให้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อตอนสงครามโลกครั้งที่2 เพราะภาวะขาดแคลนน้ำมันในช่วงนั้นเลยต้องพัฒนาพลังงานทางทดแทน ผมสนใจเรื่องนี้ตั้งแต่เห็นใน RUclips ครั้งแรกเลยศึกษาความเป็นมาคิดว่าเป็นพลังงานทางเลือกที่ดี ดีกว่าเผาถ่านเฉยๆถ้าทำซินแก๊สได้ทั้งถ่านได้ทั้งแก๊สความจริงไม้อะไรก็ได้ไม่จำเป็นต้องเป็นไม้ไผ่เผาในถังในสภาวะที่ไม่มีอากาศหรือยิ่งน้อยยิ่งดี(อากาศทำเป็นส่วนประกอบของการเผาไหม้) ไม้จะปล่อยความชื้นออกมาก่อนในตอนแรกแล้วต่อไปก็จะเริ่มเป็นก๊าสซินแก๊ส+ทา(ยางดำๆ)ทาตัวนี้สามารถนำมาทำเป็นไบโอดีเซลด้วยและยังมีประโยชอีกหลายอย่าง ความรู้ก็มีเท่าหางอึ่งผิดพลาดประการใดขออภัยด้วยครับ
ขอบคุณที่อัปให้ดูนะคะ
ทำไมถึงไม่เป็นที่นิยม1.เราต้องเผาถ่าน ซึ่งถ่านก็มีค่าใช้จ่ายและหุงต้มได้อยู่แล้ว 2.ค่าใช้จ่าย ที่แปลงถ่านให้เป็นแก็ส กล่าวคือต้องมีการเป่าลมเร่งไฟ และเผาใหม่ถ่านให้ได้ความร้อนในระดับที่เปลี่ยนถ่านเป็นแก็ส(หากเข้าใจหลักการ)ค่าไฟฟ้าเครื่องเป่าอีก3.ความสะดวกในการดูแลและใช้งาน4.หากมองง่ายๆ ถ้าเอาถ่านไปหุงอาหารหรือเอาพลังงานที่เผาถ่านและพลังงานที่เปลี่ยนถ่านเป็นแก็สไปต้มไข่หรือทำอาหารคงเสร็จไปนานและได้ปริมาณที่เยอะกว่ามากปรับปรุงอย่างไร1.มุ่งเน้นไปที่แก็สสามารถใช้กับเครื่องยนต์ได้จะดีกว่า2.หาการจัดเก็บแก็สเพื่อไว้ใช้กับเครื่องยนต์เพื่อให้สะดวกยิ่งขึ้น3.มุ่งเน้นไปพัฒนาหาวัสดุเหลือใช้ เช่น เศษไม้ ขยะ ฯลฯ ทดแทนดีกว่า4.ลดขั้นตอนที่ยุ่งยากซับซ้อนให้ง่ายขึ้น
นี่แหละ การคิดที่เป็นระบบนวตกรรม ก็เริ่มจากเรื่องแบบนี้แหละ แล้วค่อยๆ ปรับวิธีการจนมีต้นทุนที่ถูกลง
ติให้เห็นปัญหา เสนอให้เห็นทางออก คอมเมนท์ที่ดีต้องแบบนี้ครับ
✍ @ oat pride, เห็นด้วยคร้บ ไร่ผมไฟฟ้าบ่มี ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องสูบน้ำหลายอยู่ แก๊สจากถ่านตอบโจทย์ได้ดี ... ☘🌷⚘
สุดยอดครับ🌻💞🌻
ฝันกันต่อไป กับอุปกรณ์ที่ใช้ได้จริง
คนไทยนี้เก่งที่สุด
เยี่ยมมากเลยลุงครับ
ชื่นชมกับการก้าวสู่สิ่งใหม่(สำหรับประเทศไทย) แต่อยากจะบอกว่าเมืองนอกประเทศที่เขารู้จักคิดสร้างสรร เขาใช้กันมานมนานแล้วครับ ขอให้สอ่งที่เราเห็นและชอบเรียกว่าประสบการณ์จะกระตุ้นให้เรารู้จักการคิดสร้างสรรหรือการคิดต่อยอดในสิ่งที่มีประโยชน์ครับ
เมื่อที่น้ำมันแพง หรือขาดแคลน เมื่อนั้น เครื่องนี้ จะเป็นที่นิยม
เยี่ยมครับ เหลือเชื่อ อยาดไปดูงานครับ สุดยอด
ขอบคุณมากๆ
จะสั่งซื้อจากที่ไหนคะ
ฉลาดและสร้างสรรค์มากครับ แต่ว่าเครื่องไม้เครื่องมือมันซับซ้อนไหมครับ
"ก๊าซซิไฟเออร์ (Gasifier)" มีมานมนานแล้วแต่ในประเทศไทยองค์ความรู้ยังมีการเผยแพร่กันน้อยมาก อย่างที่ลำปาง นาย Koen Van Looken วิศวกรอิสระชาวเบลเยียม ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบก๊าซซิไฟเออร์ (Gasifier) ได้ร่วมมือกับ มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง คิดและพัมนาการนำถ่านไม้ไผ่มาผลิตเป็นแก๊ส เดิมที นาย Koen Van Looken เคยทำการวิจัยอยู่ที่วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย เมื่อทราบว่ามูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปังทำเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับไผ่และทำเชื้อเพลิงถ่านไม้ไผ่ จึงสนใจเข้ามาร่วมงานกับมูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง เกี่ยวกับการจัดทำระบบก๊าซซิไฟเออร์ (Gasifier) จากถ่านไม้ไผ่ ก๊าซซิไฟเออร์ (Gasifier) เป็นกระบวนการที่นำเชื้อเพลิงแข็งประเภทต่างๆ มาทำให้อยู่ในสถานะก๊าซ ก๊าซที่ได้จากกระบวนการก๊าซซิไฟเออร์นำไปใช้แทนก๊าซเชื้อเพลิงและน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันได้ทุกประเภท แต่ค่าพลังงานต่อปริมาตรจะต่ำกว่าก๊าซธรรมชาติและก๊าซหุงต้ม การเผาถ่านไม้ไผ่เพื่อผลิตก๊าซสะอาดเป็นเชื้อเพลิงให้กับรถมอเตอร์ไซค์ เครื่องสูบน้ำ เครื่องปั่นไฟ และรถบรรทุกเล็ก
ตั้งแต่ดูคลิปทางการเกษตรมามากมาย คลิปนี้คือคลิปที่ยอดเยี่ยมที่สุดครับ อยากให้มีการพัฒนาต่อยอดครับ แต่ ปตท.คงไม่ยอมแน่ๆ
ไม่อึ้งครับเรื่องนี้พ่อผมเล่าให้ฟังตั้งแต่เมื่อ 50 ปีที่แล้ว แล้วครับ พ่อเล่าให้ฟังว่าสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง น้ำมันดีเซลขาดแคลนมากๆ ตอนนั้นจึงมีคนทำอุปกรณ์ที่นำควันจากการเผามาใช้แทนเชื้อเพลิงดีเซลครับ มันมีมานานมากๆ แล้ว
ถูกต้องเลยขบวนการ ก๊าซซิไฟเออร์ (Gasifier) มีมานานมากแล้ว มีมามากกว่า 50ปีเสียด้วยซ้ำ ฝรั่งยุโรปมันเก่งมันสามารถเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาเป็นเชื้อเพลิง
พลังงานเผาถ่าน 600 องศามาจากไหนครับ
ถ้าค่าแก๊สถูกค่าอาหารหรือ,ฯลฯจะถูกลงเพราะค่าขนส่งครับ
ผมคิดว่าโจทย์คือควรนำ Actived Carbon คุณภาพสูงไปต่อยอดออกมาเป็นผลิตภัณฑ์แทนที่จะนำไปเป็นวัตถุดิบทำแก๊สครับ ถ้ามองจากความคุ้มค่าอะนะ ทั้งเวลา,แรงงาน,พลังงาน,วัตถุดิบกว่าจะมาเป็นแก๊สได้ต้องใช้ใช้กระบวนการมากเกินไปและต้องใช้ทักษะเครื่องยนต์กลไกอีกเกษตกรส่วนใหญ่ไม่น่าจะทำตามได้ง่ายนัก
เกษตรตัวจริง ทำแบบนี้กันเยอะแล้วครับ
ปกติเกษตรกรใช้เครื่องยนต์เล็กแบบนี้เป็นอยู่แล้วหรือให้ช่างแนะนำอีกนิดหน่อยก็ได้แล้ว
เศษถ่านอย่างอื่นก็ใช้ได้ครับ...ถ้าให้ดีเป็นถ่านจากส่วนเปลือกไม้แก๊สจะเยอะกว่าถ่านเนื้อไม้
ธรณี เห็นด้วย ดีด้วยค่ะ. ไม่เราเลยว่าอยู่ท่ีใหน. จังหวัดอะไร.
ดีครับน่าชื่นชมมากที่คนไทยรู้จักเรียนรู้ wood gasifier แท้จริงแล้วเทคโนโลยีนี้มีมาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 แล้วครับ และในช่วงสงครามโลกนั้นขาดแคลนเชือเพลิงอย่างหนัก กองทัพเยอรมันจึงใช้เทคโนโลยีนี้ กับเครื่องจักกลสันดาปภายในต่างๆแม้กระทั่งใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถถังฝึกหัดของพลเรือนเพื่อนำไปใช้เป็นทหารประจำการในกองทัพ
พลังงานทดแทนในยามวิกฤติ
ทั้งโลกเค้ารู้ว่าไผ่มีประโยชน์ ไม่ว่าจะปลูกเพื่อกันดินถล่ม ทำเฟอร์นิเจอ ทำบ้าน สร้างสนามบินก็ยังมี ไผ่นี่โครตดี เหมือนกัญชาที่โครตดี แต่คนไทยต่อต้านนนนนนนนนนนนน
ไผ่ที่เป็นเส้นๆๆ เขาทำยังงัยครับ
ใช้กับเครื่องยนต์ในระยะยาวจะมีผลกระทบกับตัวเครื่อง,ปัญหาและอุปสรรค์ มีอะไรบ้างครับ
สุตยอตมากๆๆๆๆๆๆคะ
ขอบคุณที่รับชมครับ
ป๊าดๆเกิดมาไม่เคยทราบ สุดยอด!
จะทำ จะใช้ มันซับซ้อน ต้องมีอุปกรณ์และเครื่องมือ คนทั่วไปคงยากที่จะเข้าถึง
ใช้ไผ่พันธุ์อะไรในการทำค่ะ
ไผ่ซางนวล กับซางหม่นครับ
อยากไปเรียนรู้ ที่ไหนหรอครับขอเบอร์ติดต่อด้วยครับ
มีขั้นตอน การทำเครื่องทำแก๊สมั้ยครับ
ไม่มีครับ ถ้าสนใจคงต้องไปดูงานจากของจริงนะครับ
สุดยอดเลยครับ
อยุ่ที่ใหนคับ
✒🕵️♂️เดี๋ยวก็มีคนบางคน ดัดแปลง นิดๆหน่อยๆ แล้ว ขโมยไปจดสิทธิบัตร แน่ๆ 💡พวกท่านคิดได้ไง สุดยอดครับท่าน ✔✔✔✔✔✔
แบบนี้ รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน หาทุน หาตลาด สนับสนุนให้วิสาหกิจชุมชนทั้งประเทศ สร้าง ผลิต นำไปให้ เกษตรกร ใช้ในทุกครัวเรือน ภายในประเทศ พัฒนา จดลิขสิทธิ์ ผลิต ขายส่งออก ต่างประเทศ รัฐสนับสนุนนอย่างจริงๆจัง ให้เป็นวาระแห่งชาติ ตั้งเป้า ลดดารทำเข้าน้ำมัน แก๊ส กี่% ในกี่ปีก็ว่าไป ลุงต้องทำแแบบนี้ ชาวบ้านจะได้ไม่ด่า ไม่ใช่ไม่เคยทำจริงๆจังๆ พอน้ำมันแพงจะให้ชาวบ้านหันมาใช้เตาถ่าน ใครเขาจะเห็นดีเห็นงามกะ ลุง เขาไม่ตบกะโหลก ก็บุญหัวล่ะ
ฝรั่งเขาทำก่อนเราอีก😂
ของฝรั่งเขา เราเลียนแบบอีกที
ต้องทำไฮเปอร์ลูป หรือ ทำดิจิทัลเถื่อนแจก10,000บาท จึงจะถือว่าดีและถูกใจเหรอจ๊ะ
ผลิตไฟขายได้ไหม
โฮลูง ไสยูนิฟรอม NHK.สปริงไทยไทยแลยเลย
เอามาเผาเหล็กตีมีดได้มั้ยครับ
สุดยอดมากเลยครับ
สำหรับท่านที่มองว่าคุ้มมั๊ยนั้น 1ผมให้มองว่านี่คือเครื่องต้นแบบที่เราผลิตได้น่าภูมิใจมาก 2 หากทำตามเทคนิคอย่างถูกวิธีแล้วตามที่วิศกรจากโลกตะวันตกได้พัฒนามาท่านจะได้ผลลัพธ์คุ้มค่ามากครับ ซึ่งมีเป็นชุดคิทขาย และมี Dvd tuturial จำหน่ายหลากหลาย Inventor ครับ
ที่ไหนคะอยากไปดู
Phannitta Chompubut บ้านผาปัง อ.แม่พริก จ.ลำปาง ค่ะ
@@ลุงโซดา คนธรรมดาเข้าไปดูได้ป่าวคับ
เผาได้COที่สามารถจุดติดไฟได้ หากมการรั่ว COเป็นตรายหากได้รับเข้าลมหายใจจะไปแทนที่ ออกซิเจนทำให้หมดสติหรือถ้าได้รับปริมาณสูงจะอันตรายมาก
สุดยอดครับ
นี่ล่ะ คือ อนาคต ของจริง
มูลค่ามหาศาลครับที่คุณคิดมันจะเปลี่ยนแปรงให้ประเทศเรามีจุดแข็งในด้านพลังงานมากถ้าเเผาไม้ไผ่ให้มีการเผาไหม้สมบูรณ์มันก็ไม่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมแล้วเหมือนท่อไอเสียรถยนต์ครับลองคิดแก๊สนะครับไม่ใช่จะผลิตกันง่ายๆนั่นไงกระทรวงพลังงานเขาถึงยอมรับถ้าไม่จดสิทิบัตรเสียดายความรู้นะครับขนาดนักวิทยาศาสตร์ยังไม่รู้เลยเกี่ยวกับตรงนี้
เอาถ่านไม้อันอื่นเฮ็ดได้บ่ครับ
ปตท.ไม่หนุนหรอกขัดผลประโยชน์
ถ่านไม้อื่นได้มั้ยครับ
ได้ครับ
ถ่านไม้ไผ่ ให้พลังงานสูงที่สุด
Commercial scale ไม่ได้ เพราะ จาดแคลนวัตถุดิบ
ทำไมหลายคนโทษโน่นนี่นั่น กูดีอยู่คนเดียว ปตท จะเก่งขนาดใหน พนักงานเขาก็จ่ายภาษีให้ชาติ คำถามกับตัวเอ็งนะไม่เกี่ยวใคร กูจะเป็นนายทุนได้ไง เขาคิดยังไง แล้วกูจะเป็นแบบซีพี ได้ไง อีกกี่วัน
ต้องชื้ออุปกรณ์เสริมอีกราคาก็คงจะแพงค่าอุปกรณ์
ภาครัฐต้องส่งเสริมทางนี้ ไม่ใช้ซื้อเรือดำน้ำ
สุดยอดคิดได้ไงครับ
สั่งซื้อได้จากทางไหนคับ
วิธีสั่งซิ้อ.ได้ด้วยทางใหน
.....มีทั้งข้อดี และข้อเสีย นะครับ.....ข้อดี ได้แก๊ซ ไว้ใช้ราคาประหยัด ....ข้อเสียก็มี 1.ต้องมีอุปกรณ์เครื่องมือเปลี่ยนถ่านเป็นแก๊ซ 2.กระบวนการทำถ่าน ต้องใช้ฟืน ต้องหาฟืนมาเผาไหม้ให้เป็นถ่าน 3.ซึ่งจะเกิดควันและก๊าซคาร์บอนฯ ทำให้โลกร้อนขึ้น 4.มีหลายขั้นตอนยุ่งยาก จนบางคนไม่สนใจจะทำตาม........แนะนำให้หาเตาที่ใช้เผาถ่านแบบไร้ควันมาใช้ จะได้ช่วยลดโลกร้อนได้ครับ.....
เก่งจริงก็มาช่วยกันผลิตสิอย่าเก่งแต่ปาก
ถ่ายแวบๆเหมือนกะว่ากลัวคนเขาจะทำตาม
มันอันตรายใหม
ผมไม่มีที่ไม่มีโอกาศปลูกไผ่ ทำถ่าน ระบบทนี้จบเลยคับ...กีบชีวิตผม
คนลงมือทำ จะเห็นผลมากมาย จะรู้ว่าปัญหาคือจุดใดบ้าง สร้างและต่อยอดไปเรื่อยๆ เหมือนรถยนต์และเครื่องบิน ก็มีริเริ่มจากจุดเล็กๆเช่นใด ทุกสิ่งอย่างก็เหมือนกันฉันนั้น
อธิบายให้เข้าใจหน่อยได้มั้ย
Super 😊☺🙂🤗🤔😍😘😄😅😆
หลายขั้นตอนน่าดูเลย เผาถ่านไผ่แล้วเอามาบดให้ละเอียดผสมดินเหนียวอัดเป็นก้อนเป็นแท่งไว้ใช้เป็นถ่านหุงต้มน่าจะง่ายกว่า ดีกว่าให้ชาวบ้านไปตัดไม้ยืนต้นมาทำฟืนหรือเอามาเผาถ่านน่าจะดีกว่านะ
ถ่านที่ให้แก็สดี คือ ถ่านไม้ไผ่ไม่ไผ่ที่ลำไม่สวย คือ วัตถุดิบที่ชาวบ้านเลือก
ชาวสวนชาวไร่ จะมีปัญหาแตกต่างกันครับ การแก้ปัญหาก็จำเป็นให้เหมาะกับสภาพของแต่ละท่าน ไร่ของผมมีไผ่มากที่คัดทิ้ง กิ่งไม้แห้งมีเหลือเฟือยามมีพายุ การทำความสะอาดสวนที่ดีที่สุดคือการทำถ่านไบโอชาร์เพื่อนำไปทำปุ๋ยต่อ ส่วนคนที่ทนต่อการที่ต้องซื้อน้ำมันเชื้อเพลิงในราคาสูงเกิ้นก็อาจนำถ่านไปประยุกต์เดินเครื่องสูบน้ำได้ ความจำเป็นคือปัจจัยหลักให้เราตัดสินใจทำกับสิ่งที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ยินดีที่ได้อ่านความเห็นทั้ง pro & con จากทุกฝ่าย ... Cheers! ☘⚘🌷🤟
อยู่ที่ไหนครับ
น่าจะอยู่ แพร่ ครับ โรงงาน ตะเกียบ
อยากรู้รายละเอียดลึกๆอะครับ
คงต้องไปดูงานครับ เพราะหลักการก็ซับซ้อนอยู่ ติดต่อคุณกันต์ระพี 064-2245894
ขอบคุนครับ
เป็นเทคโนโลยีเก่าสมัยสงครามโลกนำมาใช้กับรถยนต์ เพราะขาดแคลนน้ำมัน
เผาก็เกิดมลพิษ pm2.5
เชื่อว่าทําได้ ใประโยชน์เเต่ต้องวิเคราะห์ต้นทุนด้วยครับว่าเท่าไหร่ ต้นทุนบางส่วนเกี่ยวข้องกับเครื่องจักรกลอุปกรณ์ต่างๆ
สนใจครับ
มีเบอติดต่อไหมคับ
อยากให้ดีต้องทำวิธีกรองแก๊สด้วย
จะรอดูอีกคับ
ถามว่าดีมั้ย? ตอบว่าโคตรดีเลยครับ ทุกอย่างคนจะมองแต่ส่วนของความสำเร็จแต่ถามหน่อยเถอะมีใครมองถึงทุนที่จะทำแบบนี้ได้ ผมว่าไม่ต่ำกว่าครึ่งแสนที่จะได้เปนระบบขนาดนี้ ปากหรือสื่อก้อพูดแต่ว่าพอเพียง.. มันพอเพียงตรงไหนว่ะ สำหรับคนที่มีรายได้ต่อวัน300บาทเนี้ยะ แน่จริงภาครัฐ เข้าใาลงทุนให้ดิ พร้อมส่งเสริมทำให่มันเปนจริงเปนจัง เกิดเปนรูปธรรมจริงๆว่ามันสามารถทำกันได้ ทุกพื้นที่ทั่วราชอาณาจักรไทย ซิ
ทำเป็นเครื่องยนต์สูบน้ำ ต้นทุนไม่ถึง 5 พันบาทค่าอบรม 600 บาท ค่าแปลงเครื่องสูบน้ำ ไม่เกิน 3,000 บาท
ถ้าเศษถ่านเหลือ เอามาทำ ใส่เครื่องสูบน้ำ จะคุ้มค่าที่สุดแบบว่า ไม่มีค่าใช้จ่าย แต่ถ้าจะเอามาหุงข้าว ในบ้านบอกเลยไม่คุ้ม
เป็นทางเลือก
ทำขายมีมั้ยครับอยากซื้อไปใช้ที่บ้านครับ
นอกจากถ่านไม้ไผ่แล้ว...ไม้อย่างอื่นก็ใช้ได้เหมือนกันหรือเปล่า....
สฺตยอตมากๆๆๆ
เหมาะกับชนบทเพราะมีเศษไม้ที่เหลือใช้มากสามารถนำมาเผาให้เป็นถ่านไม้เพื่อใช้แทนแก็สก็ยังนำมาใช้แทนน้ำมันให้กับเครื่องยนต์ได้ด้วย สุดยอด..
อ๋อ..เผาขยะให้เป็นแก๊สก็ได้นี่ครับ...คนขายแก๊สจะยอมไหม..
555 ได้แก๊สแต่ต้องแลกด้วยมลพิษทางอากาศอย่างรุนแรง ได้ไม่คุ้มเสีย
นึกว่าผมรู้คนเดียวว่าไม้ไผ่มีก๊าซ..
แต่มันมีมลพิษ
เอาไปปั่นไฟใช้เอง คงจะดีเนาะ
ก็ต้องใช้เชื้อเพลิงเยอะขึ้นนะคับ 1กิโลต่อ1ชัวโมง ผมลงโซล่าเซลจบจับเพราะมันไม่มีที่ปลูกไผ่ทำถ่าน..
@@the-river- อีกหนึ่งทางเลือกครับ.
@@tmzzaa คนไม่มีที่ปลูกไผ่ก็ ต้องใช้ระบบอื่นคับ...มันสำคัญที่ มีที่ดินมากขนาดไหน...
พลังงานทางเลือก
และจะเป็นให้ได้ ตั่งต้นจากอายุ 20 นี้แหละ
อย่าไปมองว่าคุ้มไม่คุ้ม วันนึงแก้สถังละ800 เราจะรู้เอง
ไผ่ลู่ลม
อย่าหาว่าจุ้นเลยนะค่าไฟบาน
ไม่เห็นมีขั้นตอนไหนใช้ไฟบ้านเลย แถมประหยัดไฟด้วยซ้ำ
ตรงไหนคือเกล้ดความรู้ วิธีการขั้นตอนคืออยังไง😑
ผมเอาไปต่อยอด แล้วเอาไปใช้งานจริงได้แล้ว
🤑🤑🤑
Wow!
เงิบเลย อีกหน่อยคงไปอวกาศ
มีใครรู้มั่งว่านี้คือ 1 ในหลาย ๆ พันโครงการ ที่ ร.9 ทรงให้ไว้ ^_^ แล้วนำมาใช้ได้จริง ผมมองว่ามันคุ้มค่านะ
เราจะมาช่วยกันสร้างเรือนกระจกให้โลกร้อนสนับสนุนคับ เพราะบ้านเรามันจน พาม!!!
ต้นทุน ในการเผาแบบนี้ จุดคุ้มทุนหรือไม่
Sj Dio เศษไม้ คือวัสดุที่เผาเอาแก็ส และก็เศษไม้ที่ทำการเผาเช่นกัน
คุณก็ไปซื้อแก๊ส ปตท ใช้เถอะ
ทำตะเกียบไม่ได้ทำไมไม่ไปทำไม้จิ้มฟัน
ดูไม่ค่อยคุ้มเลย เผาตั้งพันองศาเพื่อทำแก๊สมาหุงต้มร้อยสองร้อยองศา ต้นทุนสิ่งแวดล้อมอีก
ถ้าไปตัดไม่ไผ่เพื่อมาเอาแก๊สมันก็ไม่คุ้มหรอก แต่เขาไช่เศษไม้ที่เหลือจากอุตสาหกรรมการผลิตไงคุณ คือมันทำประโยชน์ไม่ได้ก็ขยะนี่เอง ถามว่าเอาไปก่อกองไฟประกอบอาหารได้มั้ย ก็ได้อยู่หรอก แต่ไม้ไผ่มันติดไฟแปบเดียวเขม่าเยอะอีกต่างหาก แถมมาเป็นเศษๆแบบนี้ด้วย
@@ctstudio3342 ขอบคุณครับ แต่เราดูที่ประสิทธิภาพพลังงาน พลังงานที่ใช้ไปคือต้นทุน ส่วนพลังงานที่ได้มาคือรายรับ ในกรณีนี้ต้นทุนน่าจะสูงกว่ารายรับ เสมือนทำธุรกิจขาดทุน แต่หากเป้าหมายคือการกำจัดเศษขยะไม้ไผ่ก็ถือว่าบรรลุเป้าหมายได้ดีครับ
แต่ผมก็ต้องเสริมอีกแง่มุมหนึ่ง แนวคิดของผมก็ใช่ว่าจะสอดคล้องกับความเป็นจริง ความจริงเกี่ยวกับกิจกรรมพลังงานของมนุษย์เรามันคือธุรกิจขาดทุนทั้งหมดในแง่ปริมาณพลังงานเข้าต่อปริมาณพลังงงานออก กิจกรรมพลังงานของเราล้วนแต่เป็นการแปลรูปแบบพลังจากรูปแบบพลังงานที่ใช้ไม่สะดวกเช่นพลังลมหรือน้ำมาเป็นรูปแบบพลังงานที่ใช้ได้สะดวกเช่นพลังงานไฟฟ้า และการแปลรูปพลังงานก็ไม่เคยสมบูรณ์ เช่นเครื่องยนต์สันดาปภายในของเราแปรพลังงานเคมีจากน้ำมันมาเป็นพลังงานขับเคลื่อนได้เพียง30% ถ้าคิดเป็นราคาเงินตราต่อหน่วยพลัง เราต้องซื้อพลังงานเข้า฿1/หน่วยและขายพลังงานออก฿3.33/หน่วยพลังงานถึงจะเท่าทุน จะกำไรได้ต้องขาย฿4-5/หน่วยขึ้นไป นั้นคือกำไรเชิงการเงิน แต่ในเชิงพลังงานแล้วเราขาดทุนไป70% จาก100เราได้แค่30 ตามทฤษฎีเราอย่างเก่งก็เท่าทุน ตามกฏฟิสิกส์ เราไม่สามารถกำไรพลังงานได้
ผมเคยมีพสบการเรื่องเก๊สหุงต้มที่หมักจากเศษขยะพืชสด ตอนดูเขาบรรยายก็บอกว่าหน่อไม้หนึ่งกีโลสามารถผลิตเก๊สได้หนึ่งกีโลเช่นกัน แต่พอเอาเข้าจริงแล้วเก๊สที่ออกมาติดไฟก็ไม่ติดแถมเป็นไอน้ำมากกว่าเก๊ส คนลงมือทำเสียเงินไปเกือบล้านโดยไม่ได้อะไรเลย ความรู้บางอย่างที่คนไทยทำไม่ค่อยสำเร็จเป็นเพราะ ไม่บอกรายละเอียด ไม่ว่าภาพถ่ายหรือขั่นตอนการทำ แต่ทำเพื่อให้ตัวเองดูดีหรือตัวเองเป็นพู้คิดค้นนะจะเก่งคนเดียว ความจริงความรู้อะไรก็แล้วแต่ถ้ามันทำง่ายก็บอกให้คนอื่นทำได้ด้วยเถอะ ส่วนตัวผมทุกวันนี้นักวิชาการอาหารหรือเพื่อสุขภาพผมเลิกฟังมาสิบกว่าปีแล้ว หลังจากเคยหลงตาม ที่สุดก็ไม่เห็นมีอะไรแถมสุขภาพแย่อีกต่างหาก
goodๆๆๆๆ
เผาตอนนี่แม่งโดนจับปรับนอนคุก555
บ้านนอกเผาถ่านไม่ได้นี่เผาสภ.เอาถ่านดีไหม
อธิบายตัดต่อไม่ดี มั่วๆ
น่าสิ้นเปลืองมากกว่า..มั่ง
เกษตรกรที่ไม่ง้อน้ำมัน เริ่มนำไปใช้งานแล้ว
ขี้ช้างจับตักแตนรึปล่าว
อ่อนว่ะ
นี้แค่การตดแล้วละเหยไปในอากาส ไม่มีการนำมาใช้ในชีวิตปะจำวัน
ของแบบนี้ควรทำเพื่อพึ่งตนเองไม่ใช่คิดฝันไปเข้าตลาดหุ้นออกIPO มันจึงเปนตด
ดูแล้วไม่เข้าใจ
การถ่ายทำดูเหมือนว่า กลัวคนอื่นจะเอาไปทำนะ แล้วถ่ายทำทำไม
ชอบครับ มีสาระและเป็นประโยชน์อย่างมากกับประเทศชาติ ดีกว่ารายการตอนหกโมงเย็นของทุกวันเยอะเลย
syngas ถูกค้นพบตั้งแต่ปี 1609 แล้วพัฒนาให้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อตอนสงครามโลกครั้งที่2 เพราะภาวะขาดแคลนน้ำมันในช่วงนั้นเลยต้องพัฒนาพลังงานทางทดแทน ผมสนใจเรื่องนี้ตั้งแต่เห็นใน RUclips ครั้งแรกเลยศึกษาความเป็นมาคิดว่าเป็นพลังงานทางเลือกที่ดี ดีกว่าเผาถ่านเฉยๆถ้าทำซินแก๊สได้ทั้งถ่านได้ทั้งแก๊สความจริงไม้อะไรก็ได้ไม่จำเป็นต้องเป็นไม้ไผ่เผาในถังในสภาวะที่ไม่มีอากาศหรือยิ่งน้อยยิ่งดี(อากาศทำเป็นส่วนประกอบของการเผาไหม้) ไม้จะปล่อยความชื้นออกมาก่อนในตอนแรกแล้วต่อไปก็จะเริ่มเป็นก๊าสซินแก๊ส+ทา(ยางดำๆ)ทาตัวนี้สามารถนำมาทำเป็นไบโอดีเซลด้วยและยังมีประโยชอีกหลายอย่าง ความรู้ก็มีเท่าหางอึ่งผิดพลาดประการใดขออภัยด้วยครับ
ขอบคุณที่อัปให้ดูนะคะ
ทำไมถึงไม่เป็นที่นิยม
1.เราต้องเผาถ่าน ซึ่งถ่านก็มีค่าใช้จ่ายและหุงต้มได้อยู่แล้ว
2.ค่าใช้จ่าย ที่แปลงถ่านให้เป็นแก็ส กล่าวคือต้องมีการเป่าลมเร่งไฟ และเผาใหม่ถ่านให้ได้ความร้อนในระดับที่เปลี่ยนถ่านเป็นแก็ส(หากเข้าใจหลักการ)ค่าไฟฟ้าเครื่องเป่าอีก
3.ความสะดวกในการดูแลและใช้งาน
4.หากมองง่ายๆ ถ้าเอาถ่านไปหุงอาหารหรือเอาพลังงานที่เผาถ่านและพลังงานที่เปลี่ยนถ่านเป็นแก็สไปต้มไข่หรือทำอาหารคงเสร็จไปนานและได้ปริมาณที่เยอะกว่ามาก
ปรับปรุงอย่างไร
1.มุ่งเน้นไปที่แก็สสามารถใช้กับเครื่องยนต์ได้จะดีกว่า
2.หาการจัดเก็บแก็สเพื่อไว้ใช้กับเครื่องยนต์เพื่อให้สะดวกยิ่งขึ้น
3.มุ่งเน้นไปพัฒนาหาวัสดุเหลือใช้ เช่น เศษไม้ ขยะ ฯลฯ ทดแทนดีกว่า
4.ลดขั้นตอนที่ยุ่งยากซับซ้อนให้ง่ายขึ้น
นี่แหละ การคิดที่เป็นระบบ
นวตกรรม ก็เริ่มจากเรื่องแบบนี้แหละ แล้วค่อยๆ ปรับวิธีการจนมีต้นทุนที่ถูกลง
ติให้เห็นปัญหา เสนอให้เห็นทางออก คอมเมนท์ที่ดีต้องแบบนี้ครับ
✍ @ oat pride, เห็นด้วยคร้บ ไร่ผมไฟฟ้าบ่มี ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องสูบน้ำหลายอยู่ แก๊สจากถ่านตอบโจทย์ได้ดี ... ☘🌷⚘
สุดยอดครับ🌻💞🌻
ฝันกันต่อไป กับอุปกรณ์ที่ใช้ได้จริง
คนไทยนี้เก่งที่สุด
เยี่ยมมากเลยลุงครับ
ชื่นชมกับการก้าวสู่สิ่งใหม่(สำหรับประเทศไทย) แต่อยากจะบอกว่าเมืองนอกประเทศที่เขารู้จักคิดสร้างสรร เขาใช้กันมานมนานแล้วครับ ขอให้สอ่งที่เราเห็นและชอบเรียกว่าประสบการณ์จะกระตุ้นให้เรารู้จักการคิดสร้างสรรหรือการคิดต่อยอดในสิ่งที่มีประโยชน์ครับ
เมื่อที่น้ำมันแพง หรือขาดแคลน เมื่อนั้น เครื่องนี้ จะเป็นที่นิยม
เยี่ยมครับ เหลือเชื่อ อยาดไปดูงานครับ สุดยอด
ขอบคุณมากๆ
จะสั่งซื้อจากที่ไหนคะ
ฉลาดและสร้างสรรค์มากครับ แต่ว่าเครื่องไม้เครื่องมือมันซับซ้อนไหมครับ
"ก๊าซซิไฟเออร์ (Gasifier)" มีมานมนานแล้วแต่ในประเทศไทยองค์ความรู้ยังมีการเผยแพร่กันน้อยมาก อย่างที่ลำปาง นาย Koen Van Looken วิศวกรอิสระชาวเบลเยียม ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบก๊าซซิไฟเออร์ (Gasifier)
ได้ร่วมมือกับ มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง คิดและพัมนาการนำถ่านไม้ไผ่มาผลิตเป็นแก๊ส เดิมที นาย Koen Van Looken เคยทำการวิจัยอยู่ที่วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย เมื่อทราบว่ามูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปังทำเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับไผ่และทำเชื้อเพลิงถ่านไม้ไผ่ จึงสนใจเข้ามาร่วมงานกับมูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง เกี่ยวกับการจัดทำระบบก๊าซซิไฟเออร์ (Gasifier) จากถ่านไม้ไผ่ ก๊าซซิไฟเออร์ (Gasifier) เป็นกระบวนการที่นำเชื้อเพลิงแข็งประเภทต่างๆ มาทำให้อยู่ในสถานะก๊าซ ก๊าซที่ได้จากกระบวนการก๊าซซิไฟเออร์นำไปใช้แทนก๊าซเชื้อเพลิงและน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันได้ทุกประเภท แต่ค่าพลังงานต่อปริมาตรจะต่ำกว่าก๊าซธรรมชาติและก๊าซหุงต้ม การเผาถ่านไม้ไผ่เพื่อผลิตก๊าซสะอาดเป็นเชื้อเพลิงให้กับรถมอเตอร์ไซค์ เครื่องสูบน้ำ เครื่องปั่นไฟ และรถบรรทุกเล็ก
ตั้งแต่ดูคลิปทางการเกษตรมามากมาย คลิปนี้คือคลิปที่ยอดเยี่ยมที่สุดครับ อยากให้มีการพัฒนาต่อยอดครับ แต่ ปตท.คงไม่ยอมแน่ๆ
ไม่อึ้งครับ
เรื่องนี้พ่อผมเล่าให้ฟังตั้งแต่เมื่อ 50 ปีที่แล้ว แล้วครับ พ่อเล่าให้ฟังว่าสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง น้ำมันดีเซลขาดแคลนมากๆ ตอนนั้นจึงมีคนทำอุปกรณ์ที่นำควันจากการเผามาใช้แทนเชื้อเพลิงดีเซลครับ มันมีมานานมากๆ แล้ว
ถูกต้องเลยขบวนการ ก๊าซซิไฟเออร์ (Gasifier) มีมานานมากแล้ว มีมามากกว่า 50ปีเสียด้วยซ้ำ ฝรั่งยุโรปมันเก่งมันสามารถเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาเป็นเชื้อเพลิง
พลังงานเผาถ่าน 600 องศามาจากไหนครับ
ถ้าค่าแก๊สถูกค่าอาหารหรือ,ฯลฯ
จะถูกลงเพราะค่าขนส่งครับ
ผมคิดว่าโจทย์คือควรนำ Actived Carbon คุณภาพสูงไปต่อยอดออกมาเป็นผลิตภัณฑ์
แทนที่จะนำไปเป็นวัตถุดิบทำแก๊สครับ ถ้ามองจากความคุ้มค่าอะนะ ทั้งเวลา,แรงงาน,พลังงาน,วัตถุดิบ
กว่าจะมาเป็นแก๊สได้ต้องใช้ใช้กระบวนการมากเกินไปและต้องใช้ทักษะเครื่องยนต์กลไกอีก
เกษตกรส่วนใหญ่ไม่น่าจะทำตามได้ง่ายนัก
เกษตรตัวจริง ทำแบบนี้กันเยอะแล้วครับ
ปกติเกษตรกรใช้เครื่องยนต์เล็กแบบนี้เป็นอยู่แล้วหรือให้ช่างแนะนำอีกนิดหน่อยก็ได้แล้ว
เศษถ่านอย่างอื่นก็ใช้ได้ครับ...ถ้าให้ดีเป็นถ่านจากส่วนเปลือกไม้แก๊สจะเยอะกว่าถ่านเนื้อไม้
ธรณี เห็นด้วย ดีด้วยค่ะ. ไม่เราเลยว่าอยู่ท่ีใหน. จังหวัดอะไร.
ดีครับน่าชื่นชมมากที่คนไทยรู้จักเรียนรู้ wood gasifier แท้จริงแล้วเทคโนโลยีนี้มีมาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 แล้วครับ และในช่วงสงครามโลกนั้นขาดแคลนเชือเพลิงอย่างหนัก กองทัพเยอรมันจึงใช้เทคโนโลยีนี้ กับเครื่องจักกลสันดาปภายในต่างๆแม้กระทั่งใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถถังฝึกหัดของพลเรือนเพื่อนำไปใช้เป็นทหารประจำการในกองทัพ
พลังงานทดแทนในยามวิกฤติ
ทั้งโลกเค้ารู้ว่าไผ่มีประโยชน์ ไม่ว่าจะปลูกเพื่อกันดินถล่ม ทำเฟอร์นิเจอ ทำบ้าน สร้างสนามบินก็ยังมี ไผ่นี่โครตดี เหมือนกัญชาที่โครตดี แต่คนไทยต่อต้านนนนนนนนนนนนน
ไผ่ที่เป็นเส้นๆๆ เขาทำยังงัยครับ
ใช้กับเครื่องยนต์ในระยะยาวจะมีผลกระทบกับตัวเครื่อง,ปัญหาและอุปสรรค์ มีอะไรบ้างครับ
สุตยอตมากๆๆๆๆๆๆคะ
ขอบคุณที่รับชมครับ
ป๊าดๆเกิดมาไม่เคยทราบ สุดยอด!
จะทำ จะใช้ มันซับซ้อน ต้องมีอุปกรณ์และเครื่องมือ คนทั่วไปคงยากที่จะเข้าถึง
ใช้ไผ่พันธุ์อะไรในการทำค่ะ
ไผ่ซางนวล กับซางหม่นครับ
อยากไปเรียนรู้ ที่ไหนหรอครับขอเบอร์ติดต่อด้วยครับ
มีขั้นตอน การทำเครื่องทำแก๊สมั้ยครับ
ไม่มีครับ ถ้าสนใจคงต้องไปดูงานจากของจริงนะครับ
สุดยอดเลยครับ
อยุ่ที่ใหนคับ
✒🕵️♂️เดี๋ยวก็มีคนบางคน ดัดแปลง นิดๆหน่อยๆ แล้ว ขโมยไปจดสิทธิบัตร แน่ๆ
💡พวกท่านคิดได้ไง สุดยอดครับท่าน ✔✔✔✔✔✔
แบบนี้ รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน หาทุน หาตลาด สนับสนุนให้วิสาหกิจชุมชนทั้งประเทศ สร้าง ผลิต นำไปให้ เกษตรกร ใช้ในทุกครัวเรือน ภายในประเทศ พัฒนา จดลิขสิทธิ์ ผลิต ขายส่งออก ต่างประเทศ รัฐสนับสนุนนอย่างจริงๆจัง ให้เป็นวาระแห่งชาติ ตั้งเป้า ลดดารทำเข้าน้ำมัน แก๊ส กี่% ในกี่ปีก็ว่าไป ลุงต้องทำแแบบนี้ ชาวบ้านจะได้ไม่ด่า ไม่ใช่ไม่เคยทำจริงๆจังๆ พอน้ำมันแพงจะให้ชาวบ้านหันมาใช้เตาถ่าน ใครเขาจะเห็นดีเห็นงามกะ ลุง เขาไม่ตบกะโหลก ก็บุญหัวล่ะ
ฝรั่งเขาทำก่อนเราอีก😂
ของฝรั่งเขา เราเลียนแบบอีกที
ต้องทำไฮเปอร์ลูป หรือ ทำดิจิทัลเถื่อนแจก10,000บาท จึงจะถือว่าดีและถูกใจเหรอจ๊ะ
ผลิตไฟขายได้ไหม
โฮลูง ไสยูนิฟรอม NHK.สปริงไทยไทยแลยเลย
เอามาเผาเหล็กตีมีดได้มั้ยครับ
สุดยอดมากเลยครับ
สำหรับท่านที่มองว่าคุ้มมั๊ยนั้น 1ผมให้มองว่านี่คือเครื่องต้นแบบที่เราผลิตได้น่าภูมิใจมาก 2 หากทำตามเทคนิคอย่างถูกวิธีแล้วตามที่วิศกรจากโลกตะวันตกได้พัฒนามาท่านจะได้ผลลัพธ์คุ้มค่ามากครับ ซึ่งมีเป็นชุดคิทขาย และมี Dvd tuturial จำหน่ายหลากหลาย Inventor ครับ
ที่ไหนคะอยากไปดู
Phannitta Chompubut บ้านผาปัง อ.แม่พริก จ.ลำปาง ค่ะ
@@ลุงโซดา คนธรรมดาเข้าไปดูได้ป่าวคับ
เผาได้COที่สามารถจุดติดไฟได้ หากมการรั่ว COเป็นตรายหากได้รับเข้าลมหายใจจะไปแทนที่ ออกซิเจนทำให้หมดสติหรือถ้าได้รับปริมาณสูงจะอันตรายมาก
สุดยอดครับ
นี่ล่ะ คือ อนาคต ของจริง
มูลค่ามหาศาลครับ
ที่คุณคิดมันจะเปลี่ยนแปรง
ให้ประเทศเรามีจุดแข็ง
ในด้านพลังงานมาก
ถ้าเเผาไม้ไผ่ให้มีการเผาไหม้
สมบูรณ์มันก็ไม่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว
เหมือนท่อไอเสียรถยนต์ครับ
ลองคิดแก๊สนะครับไม่ใช่จะผลิตกันง่ายๆ
นั่นไงกระทรวงพลังงานเขาถึงยอมรับ
ถ้าไม่จดสิทิบัตรเสียดายความรู้นะครับ
ขนาดนักวิทยาศาสตร์ยังไม่รู้เลยเกี่ยวกับ
ตรงนี้
เอาถ่านไม้อันอื่นเฮ็ดได้บ่ครับ
ปตท.ไม่หนุนหรอกขัดผลประโยชน์
ถ่านไม้อื่นได้มั้ยครับ
ได้ครับ
ถ่านไม้ไผ่ ให้พลังงานสูงที่สุด
Commercial scale ไม่ได้ เพราะ จาดแคลนวัตถุดิบ
ทำไมหลายคนโทษโน่นนี่นั่น กูดีอยู่คนเดียว ปตท จะเก่งขนาดใหน พนักงานเขาก็จ่ายภาษีให้ชาติ คำถามกับตัวเอ็งนะไม่เกี่ยวใคร กูจะเป็นนายทุนได้ไง เขาคิดยังไง แล้วกูจะเป็นแบบซีพี ได้ไง อีกกี่วัน
ต้องชื้ออุปกรณ์เสริมอีกราคาก็คงจะแพงค่าอุปกรณ์
ภาครัฐต้องส่งเสริมทางนี้ ไม่ใช้ซื้อเรือดำน้ำ
สุดยอดคิดได้ไงครับ
สั่งซื้อได้จากทางไหนคับ
วิธีสั่งซิ้อ.ได้ด้วยทางใหน
.....มีทั้งข้อดี และข้อเสีย นะครับ.....ข้อดี ได้แก๊ซ ไว้ใช้ราคาประหยัด ....ข้อเสียก็มี 1.ต้องมีอุปกรณ์เครื่องมือเปลี่ยนถ่านเป็นแก๊ซ 2.กระบวนการทำถ่าน ต้องใช้ฟืน ต้องหาฟืนมาเผาไหม้ให้เป็นถ่าน 3.ซึ่งจะเกิดควันและก๊าซคาร์บอนฯ ทำให้โลกร้อนขึ้น 4.มีหลายขั้นตอนยุ่งยาก จนบางคนไม่สนใจจะทำตาม........แนะนำให้หาเตาที่ใช้เผาถ่านแบบไร้ควันมาใช้ จะได้ช่วยลดโลกร้อนได้ครับ.....
เก่งจริงก็มาช่วยกันผลิตสิอย่าเก่งแต่ปาก
ถ่ายแวบๆเหมือนกะว่ากลัวคนเขาจะทำตาม
มันอันตรายใหม
ผมไม่มีที่ไม่มีโอกาศปลูกไผ่ ทำถ่าน ระบบทนี้จบเลยคับ...กีบชีวิตผม
คนลงมือทำ จะเห็นผลมากมาย จะรู้ว่าปัญหาคือจุดใดบ้าง สร้างและต่อยอดไปเรื่อยๆ เหมือนรถยนต์และเครื่องบิน ก็มีริเริ่มจากจุดเล็กๆเช่นใด ทุกสิ่งอย่างก็เหมือนกันฉันนั้น
อธิบายให้เข้าใจหน่อยได้มั้ย
Super 😊☺🙂🤗🤔😍😘😄😅😆
หลายขั้นตอนน่าดูเลย เผาถ่านไผ่แล้วเอามาบดให้ละเอียดผสมดินเหนียวอัดเป็นก้อนเป็นแท่งไว้ใช้เป็นถ่านหุงต้มน่าจะง่ายกว่า ดีกว่าให้ชาวบ้านไปตัดไม้ยืนต้นมาทำฟืนหรือเอามาเผาถ่านน่าจะดีกว่านะ
ถ่านที่ให้แก็สดี คือ ถ่านไม้ไผ่
ไม่ไผ่ที่ลำไม่สวย คือ วัตถุดิบที่ชาวบ้านเลือก
ชาวสวนชาวไร่ จะมีปัญหาแตกต่างกันครับ การแก้ปัญหาก็จำเป็นให้เหมาะกับสภาพของแต่ละท่าน ไร่ของผมมีไผ่มากที่คัดทิ้ง กิ่งไม้แห้งมีเหลือเฟือยามมีพายุ การทำความสะอาดสวนที่ดีที่สุดคือการทำถ่านไบโอชาร์เพื่อนำไปทำปุ๋ยต่อ ส่วนคนที่ทนต่อการที่ต้องซื้อน้ำมันเชื้อเพลิงในราคาสูงเกิ้นก็อาจนำถ่านไปประยุกต์เดินเครื่องสูบน้ำได้ ความจำเป็นคือปัจจัยหลักให้เราตัดสินใจทำกับสิ่งที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ยินดีที่ได้อ่านความเห็นทั้ง pro & con จากทุกฝ่าย ... Cheers! ☘⚘🌷🤟
อยู่ที่ไหนครับ
น่าจะอยู่ แพร่ ครับ โรงงาน ตะเกียบ
อยากรู้รายละเอียดลึกๆอะครับ
คงต้องไปดูงานครับ เพราะหลักการก็ซับซ้อนอยู่ ติดต่อคุณกันต์ระพี 064-2245894
ขอบคุนครับ
เป็นเทคโนโลยีเก่าสมัยสงครามโลกนำมาใช้กับรถยนต์ เพราะขาดแคลนน้ำมัน
เผาก็เกิดมลพิษ pm2.5
เชื่อว่าทําได้ ใประโยชน์เเต่ต้องวิเคราะห์ต้นทุนด้วยครับว่าเท่าไหร่ ต้นทุนบางส่วนเกี่ยวข้องกับเครื่องจักรกลอุปกรณ์ต่างๆ
สนใจครับ
มีเบอติดต่อไหมคับ
อยากให้ดีต้องทำวิธีกรองแก๊สด้วย
จะรอดูอีกคับ
ถามว่าดีมั้ย? ตอบว่าโคตรดีเลยครับ ทุกอย่างคนจะมองแต่ส่วนของความสำเร็จแต่ถามหน่อยเถอะมีใครมองถึงทุนที่จะทำแบบนี้ได้ ผมว่าไม่ต่ำกว่าครึ่งแสนที่จะได้เปนระบบขนาดนี้ ปากหรือสื่อก้อพูดแต่ว่าพอเพียง.. มันพอเพียงตรงไหนว่ะ สำหรับคนที่มีรายได้ต่อวัน300บาทเนี้ยะ แน่จริงภาครัฐ เข้าใาลงทุนให้ดิ พร้อมส่งเสริมทำให่มันเปนจริงเปนจัง เกิดเปนรูปธรรมจริงๆว่ามันสามารถทำกันได้ ทุกพื้นที่ทั่วราชอาณาจักรไทย ซิ
ทำเป็นเครื่องยนต์สูบน้ำ ต้นทุนไม่ถึง 5 พันบาท
ค่าอบรม 600 บาท ค่าแปลงเครื่องสูบน้ำ ไม่เกิน 3,000 บาท
ถ้าเศษถ่านเหลือ เอามาทำ ใส่เครื่องสูบน้ำ จะคุ้มค่าที่สุดแบบว่า ไม่มีค่าใช้จ่าย แต่ถ้าจะเอามาหุงข้าว ในบ้านบอกเลยไม่คุ้ม
เป็นทางเลือก
ทำขายมีมั้ยครับอยากซื้อไปใช้ที่บ้านครับ
นอกจากถ่านไม้ไผ่แล้ว...ไม้อย่างอื่นก็ใช้ได้เหมือนกันหรือเปล่า....
สฺตยอตมากๆๆๆ
เหมาะกับชนบทเพราะมีเศษไม้ที่เหลือใช้มากสามารถนำมาเผาให้เป็นถ่านไม้เพื่อใช้แทนแก็สก็ยังนำมาใช้แทนน้ำมันให้กับเครื่องยนต์ได้ด้วย สุดยอด..
อ๋อ..เผาขยะให้เป็นแก๊สก็ได้นี่ครับ...
คนขายแก๊สจะยอมไหม..
555 ได้แก๊สแต่ต้องแลกด้วยมลพิษทางอากาศอย่างรุนแรง ได้ไม่คุ้มเสีย
นึกว่าผมรู้คนเดียวว่าไม้ไผ่มีก๊าซ..
แต่มันมีมลพิษ
เอาไปปั่นไฟใช้เอง คงจะดีเนาะ
ก็ต้องใช้เชื้อเพลิงเยอะขึ้นนะคับ 1กิโลต่อ1ชัวโมง ผมลงโซล่าเซลจบจับเพราะมันไม่มีที่ปลูกไผ่ทำถ่าน..
@@the-river- อีกหนึ่งทางเลือกครับ.
@@tmzzaa คนไม่มีที่ปลูกไผ่ก็ ต้องใช้ระบบอื่นคับ...มันสำคัญที่ มีที่ดินมากขนาดไหน...
พลังงานทางเลือก
และจะเป็นให้ได้ ตั่งต้นจากอายุ 20 นี้แหละ
อย่าไปมองว่าคุ้มไม่คุ้ม วันนึงแก้สถังละ800 เราจะรู้เอง
ไผ่ลู่ลม
อย่าหาว่าจุ้นเลยนะค่าไฟบาน
ไม่เห็นมีขั้นตอนไหนใช้ไฟบ้านเลย แถมประหยัดไฟด้วยซ้ำ
ตรงไหนคือเกล้ดความรู้ วิธีการขั้นตอนคืออยังไง😑
ผมเอาไปต่อยอด แล้วเอาไปใช้งานจริงได้แล้ว
🤑🤑🤑
Wow!
เงิบเลย อีกหน่อยคงไปอวกาศ
มีใครรู้มั่งว่านี้คือ 1 ในหลาย ๆ พันโครงการ ที่ ร.9 ทรงให้ไว้ ^_^ แล้วนำมาใช้ได้จริง ผมมองว่ามันคุ้มค่านะ
เราจะมาช่วยกันสร้างเรือนกระจกให้โลกร้อน
สนับสนุนคับ เพราะบ้านเรามันจน พาม!!!
ต้นทุน ในการเผาแบบนี้ จุดคุ้มทุนหรือไม่
Sj Dio เศษไม้ คือวัสดุที่เผาเอาแก็ส และก็เศษไม้ที่ทำการเผาเช่นกัน
คุณก็ไปซื้อแก๊ส ปตท ใช้เถอะ
ทำตะเกียบไม่ได้
ทำไมไม่ไปทำไม้จิ้มฟัน
ดูไม่ค่อยคุ้มเลย เผาตั้งพันองศาเพื่อทำแก๊สมาหุงต้มร้อยสองร้อยองศา ต้นทุนสิ่งแวดล้อมอีก
ถ้าไปตัดไม่ไผ่เพื่อมาเอาแก๊สมันก็ไม่คุ้มหรอก แต่เขาไช่เศษไม้ที่เหลือจากอุตสาหกรรมการผลิตไงคุณ คือมันทำประโยชน์ไม่ได้ก็ขยะนี่เอง
ถามว่าเอาไปก่อกองไฟประกอบอาหารได้มั้ย ก็ได้อยู่หรอก แต่ไม้ไผ่มันติดไฟแปบเดียวเขม่าเยอะอีกต่างหาก แถมมาเป็นเศษๆแบบนี้ด้วย
@@ctstudio3342 ขอบคุณครับ แต่เราดูที่ประสิทธิภาพพลังงาน พลังงานที่ใช้ไปคือต้นทุน ส่วนพลังงานที่ได้มาคือรายรับ ในกรณีนี้ต้นทุนน่าจะสูงกว่ารายรับ เสมือนทำธุรกิจขาดทุน แต่หากเป้าหมายคือการกำจัดเศษขยะไม้ไผ่ก็ถือว่าบรรลุเป้าหมายได้ดีครับ
แต่ผมก็ต้องเสริมอีกแง่มุมหนึ่ง แนวคิดของผมก็ใช่ว่าจะสอดคล้องกับความเป็นจริง ความจริงเกี่ยวกับกิจกรรมพลังงานของมนุษย์เรามันคือธุรกิจขาดทุนทั้งหมดในแง่ปริมาณพลังงานเข้าต่อปริมาณพลังงงานออก กิจกรรมพลังงานของเราล้วนแต่เป็นการแปลรูปแบบพลังจากรูปแบบพลังงานที่ใช้ไม่สะดวกเช่นพลังลมหรือน้ำมาเป็นรูปแบบพลังงานที่ใช้ได้สะดวกเช่นพลังงานไฟฟ้า และการแปลรูปพลังงานก็ไม่เคยสมบูรณ์ เช่นเครื่องยนต์สันดาปภายในของเราแปรพลังงานเคมีจากน้ำมันมาเป็นพลังงานขับเคลื่อนได้เพียง30% ถ้าคิดเป็นราคาเงินตราต่อหน่วยพลัง เราต้องซื้อพลังงานเข้า฿1/หน่วยและขายพลังงานออก฿3.33/หน่วยพลังงานถึงจะเท่าทุน จะกำไรได้ต้องขาย฿4-5/หน่วยขึ้นไป นั้นคือกำไรเชิงการเงิน แต่ในเชิงพลังงานแล้วเราขาดทุนไป70% จาก100เราได้แค่30 ตามทฤษฎีเราอย่างเก่งก็เท่าทุน ตามกฏฟิสิกส์ เราไม่สามารถกำไรพลังงานได้
ผมเคยมีพสบการเรื่องเก๊สหุงต้มที่หมักจากเศษขยะพืชสด ตอนดูเขาบรรยายก็บอกว่าหน่อไม้หนึ่งกีโลสามารถผลิตเก๊สได้หนึ่งกีโลเช่นกัน แต่พอเอาเข้าจริงแล้วเก๊สที่ออกมาติดไฟก็ไม่ติดแถมเป็นไอน้ำมากกว่าเก๊ส คนลงมือทำเสียเงินไปเกือบล้านโดยไม่ได้อะไรเลย ความรู้บางอย่างที่คนไทยทำไม่ค่อยสำเร็จเป็นเพราะ ไม่บอกรายละเอียด ไม่ว่าภาพถ่ายหรือขั่นตอนการทำ แต่ทำเพื่อให้ตัวเองดูดีหรือตัวเองเป็นพู้คิดค้นนะจะเก่งคนเดียว ความจริงความรู้อะไรก็แล้วแต่ถ้ามันทำง่ายก็บอกให้คนอื่นทำได้ด้วยเถอะ ส่วนตัวผมทุกวันนี้นักวิชาการอาหารหรือเพื่อสุขภาพผมเลิกฟังมาสิบกว่าปีแล้ว หลังจากเคยหลงตาม ที่สุดก็ไม่เห็นมีอะไรแถมสุขภาพแย่อีกต่างหาก
goodๆๆๆๆ
เผาตอนนี่แม่งโดนจับปรับนอนคุก555
บ้านนอกเผาถ่านไม่ได้นี่เผาสภ.เอาถ่านดีไหม
อธิบายตัดต่อไม่ดี มั่วๆ
น่าสิ้นเปลืองมากกว่า..มั่ง
เกษตรกรที่ไม่ง้อน้ำมัน เริ่มนำไปใช้งานแล้ว
ขี้ช้างจับตักแตนรึปล่าว
อ่อนว่ะ
นี้แค่การตดแล้วละเหยไปในอากาส ไม่มีการนำมาใช้ในชีวิตปะจำวัน
ของแบบนี้ควรทำเพื่อพึ่งตนเองไม่ใช่คิดฝันไปเข้าตลาดหุ้นออกIPO มันจึงเปนตด
ดูแล้วไม่เข้าใจ
การถ่ายทำดูเหมือนว่า กลัวคนอื่นจะเอาไปทำนะ แล้วถ่ายทำทำไม