น้องน้ำนั่งโม้ EP.1 ปรัชญาเรียนอะไร? - จากใจคนเรียนปรัชญา

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 31 окт 2024

Комментарии • 34

  • @maybemayi
    @maybemayi 2 дня назад +5

    ผมเรียนเพียววิทยาศาสตร์ ปรัชญานี่นามมธรรมไปไกลมาก นึกภาพ 2 สาขานี้นั่งคุยกันน่าสนุกดี

  • @hellbluesboy8669
    @hellbluesboy8669 5 часов назад

    ในความไม่รู้ ความรักดำรงอยู่

  • @TaxxSeries
    @TaxxSeries День назад +1

    เรียนปรัชญา ทำให้มีความกล้าหาญ

  • @Rent_Read
    @Rent_Read 2 дня назад +1

    ชอบอยู่ครับ

  • @chaipat0_0
    @chaipat0_0 3 дня назад

    ขอบคุณครับ

  • @nattapolpunpaen2539
    @nattapolpunpaen2539 День назад

    เรามีทั้งความจริงและความรู้

  • @thanaponnlt6073
    @thanaponnlt6073 2 дня назад +1

    รอคลิปต่อไปคับ

  • @bestworawut1867
    @bestworawut1867 3 дня назад +1

    ทุกสิ่ง ล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป

    • @TheK-f1t
      @TheK-f1t 3 дня назад +1

      ไม่ใช่และ เขาคุยปรัชญาในแง่การศึกษา รากฐานความรู้ตั้งแต่ยุคโบราณ
      อันนี้ก๊อปมาให้ดู
      Philos : Love of หรือ Loving of (ความรัก)
      Sophia : Wisdom หรือ Knowledge (ความรู้, ปัญญา, ความฉลาด)
      คำว่า “Philosophy” จึงหมายถึง “Loving of Wisdom” ความรักในความรู้
      ^จากที่น้องเขาพูด ถ้าตั้งอยู่ดับไป มันดูปลงง่ายๆมันไม่ใช่เว้ย มันต้องหาความหมาย เช่น ที่เป็นๆอยู่เนี่ย เป็นอยู่คืออะไร ดับไปคืออะไร
      เบื่อคนไทยเอาปรัชญามาพวงคำคมศาสนา

    • @ดุ๊กดอนแดง
      @ดุ๊กดอนแดง 2 дня назад +1

      @@TheK-f1t ก็ถูกของเขาแล้วไง แล็วคุณคิดว่าอะไรล่ะที่เกิดที่ดับไป

  • @theosiris1
    @theosiris1 4 дня назад +3

    เลือกหัวข้อยากซะด้วย คำตอบก็ขึ้นอยู่กับว่าใช้หลักการแบบไหนในการตอบ
    .
    ยกตัวอย่างรีโมทนั่น ใช่ มันคือรีโมท และมันเหลืองเพราะมันเก่า
    คำถามคือ แล้วรู้ได้อย่างไรว่ามันคือรีโมท และทำไมมันถึงเหลือง ทำไมมันถึงเก่า
    เราควรใช้ความรู้ของศาสตร์ด้านไหนในการตอบ? สำหรับผมก็ต้องดูเหตุว่าเราตั้งคำถามถึงอะไร
    เมื่อตั้งคำถามถึงสิ่งของชนิดหนึ่งอย่างรีโมท = สิ่งของที่มีหน้าที่ของตัวมันเอง สามัญสำนึกของเราเรียกมันตามที่ผู้สร้างมันขึ้นมาโดยหน้าที่การใช้งานของมัน ว่ามันคือรีโมท ตามภาพก็เอาไว้ควบคุมแอร์ ลดเพิ่มอุณหภูมิให้กับห้อง
    ทำไมมันถึงเก่า ทำไมสีมันถึงเหลือง อันนั้นก็ใช้วิทยาศาสตร์ตอบได้
    หลักความรู้ก็ตามนั้น
    ส่วนหลักความจริงล่ะ? แน่ใจได้ยังไงว่าเราถือรีโมทอยู่ มันเป็นภาพลวงตาหรือเปล่า?
    มีคำพูดนึงที่มีคนเคยพูดไว้
    .
    " ถ้าความเป็นจริงคือสิ่งที่ตาเห็นได้ ดมกลิ่นได้ สัมผัสได้ ได้ยินเสียงได้ หรือลิ้มรสได้ งั้นความเป็นจริงก็คือสัญญาณไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในสมองของเรา "
    .
    หลักพุทธได้เสริมในจุดนี้อีกอย่างนึง สอนให้เรายอมรับ และ ปล่อยวาง ในสิ่งที่ไม่จีรังยั่งยืน สุขหรือทุกข์ในชีวิต ยอมรับที่จะมีมัน และปล่อยมันในวันที่เราไม่สามารถจับมันไว้ได้อีก สุขก็ชั่วครู่ ทุกข์ก็ไม่นาน ชีวิตนึงก็ผ่านไปเช่นนั้น
    .
    อย่าเพิ่งคิดว่าชีวิตไร้ค่า ไม่มีใครอยากมีทุกข์ เพราะงั้นก็ทำตัวเองให้มีความสุข แล้วหลบเลี่ยงความทุกข์ให้ได้มากที่สุดครับ
    .
    อิอิ

    • @natasha_looknam
      @natasha_looknam  4 дня назад +4

      โอ้โห ดีใจมาก มีคนอุตส่าห์มาตอบหนูด้วย
      ใช่ค่ะ การตอบคำถามนี้สามารถตอบได้หลายแบบมากๆขึ้นอยู่กับว่าเราจะใช้กรอบไหนในการตอบ นี่แหละค่ะคือส่วนที่สนุกของปรัชญา
      จริงอยู่ที่ยุคนี้เราสามารถใช้หลักวิทยาศาสตร์มาตอบคำถามในเรื่องสีสัน สัมผัส หรือองค์ประกอบในเชิงวัตถุอื่นๆของมัน ซึ่งคำตอบเหล่านี้ก็เกิดขึ้นได้เพราะเป็นผลลัพธ์จากการตั้งคำถามเหล่านี้ในยุคก่อนหน้า
      ในยุคก่อนหน้าที่คำถามนี้เกิดขึ้น มันเป็นคำถามที่เคยไม่ได้รับคำตอบมาก่อน และนักปรัชญาในยุคนั้นก็เลยตอบคำถามนี้ภายใต้คอนเซปต์ทางปรัชญาของยุคและวิทยาศาสตร์ของยุคนั้น (หรือที่เรียกว่าวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ)
      ส่วนวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่นๆหลังจากนั้นคือสิ่งที่มาเติมเต็มคำถามนี้ให้มีคำตอบในภายหลัง ซึ่งอาจเรียกได้ว่าเป็นการตอบคำถามนี้ใหม่ในกรอบของนักคิดยุคใหม่
      แนวคิดจิตนิยมของเดส์การ์ตก็สามารถโยงกับตัวอย่างประโยคอย่างที่พี่โควทไว้ได้ค่ะ
      ในแง่ของหลักพุทธที่พี่ยกมาก็น่าสนใจไม่แพ้กัน ในปรัชญาตะวันออกและตะวันตกแอบมีส่วนที่เชื่อมโยงและใกล้ชิดกันอย่างน่าทึ่ง
      ยินดีมากๆที่พี่แวะมาคุยในนี้นะคะ

    • @theosiris1
      @theosiris1 4 дня назад

      @@natasha_looknam ​มีแนวคิดนึงที่ว่า "คนที่ชอบตั้งคำถาม คือคนที่ยังไม่เข้าใจตัวเอง" ซึ่งผมก็เห็นด้วยครึ่งนึง เพราะคนเราจะเข้าใจตัวเองได้ยาก หากไม่มีความรู้ในสิ่งที่เกี่ยวข้องเพียงพอ แต่ถ้าลองมองตามแนวคิดที่ว่าบวกกับการใช้ชีวิตที่ผ่านมาแล้ว จะเห็นว่า "เราไม่มีความรู้เกี่ยวกับตัวเองเหรอ?" ทำให้กรณีนี้เกิดขึ้นได้กับคนทุกคนและตลอดเวลา
      .
      ด้วยคำถามว่า "เราไม่เข้าใจตัวเองได้ยังไง ในเมื่อเป็นตัวของเราเอง?" ถ้าอย่างนั้นมันจะก้าวไปสู่อีกแนวคิดนึงที่เคยได้ยินมาก็คือ "หากไม่เข้าใจตัวเอง จะไปเข้าใจคนอื่นได้ยังไง?"
      .
      ในมุมนี้มันเหมือนจะเชื่อมโยงกันอยู่หลายอย่าง มันก็ใช่ที่เมื่อลองพิจารณาดูแล้ว เราที่กำลังนั่งถามตัวเองอยู่ว่า "เราเข้าใจตัวเองรึยัง?" เราจะเจอคำตอบง่ายๆเลยก็คือ " ไม่ " แต่คำว่า " ไม่ " มันจะไม่ใช่ว่าไม่เข้าใจ100% แต่มันหมายถึง เราเข้าใจตัวเองยังไม่ดีพอต่างหาก เช่นนั้นจึงกลายเป็น " ถ้าเรายังเข้าใจตัวเองไม่ดีพอ เราก็คงจะเข้าใจคนอื่นได้ไม่ดีพอเช่นกัน "
      .
      หลักการ+แนวคิดนี้ ถูกรวมไว้ใช้ในกรณีนึงที่ผมยกให้เป็นสัจธรรมบทหนึ่งคือเรื่อง " ใจเขาใจเรา "
      .
      เมื่อเราเข้าใจอีกฝ่าย และอยากให้อีกฝ่ายทำดีกับเราเหมือนที่เราทำดีกับเขา เราจะเอาใจเขามาใส่ใจเรา ซึ่งอันนี้ยาวเกินไป ข้ามไปก่อน
      .
      ที่จริงแล้วคำตอบของผมนั้นต้องการให้มองในมุมของตัวเองมากกว่า เราสามารถคิดตาม ไม่เข้าใจก็ต้องตั้งคำถาม และสามารถหาคำตอบได้เองหรือหาคำตอบจากผู้อื่นซึ่งเราเห็นด้วยกับคำตอบนั้น
      .
      ให้เน้นที่ความสำคัญของคำถาม ว่าเป็นคำถามที่เราต้องการรู้คำตอบ หรือรู้คำตอบอยู่แล้วแต่อยากพิสูจน์คำตอบว่ามันถูกต้องไหม เมื่อกำหนดความสำคัญได้ เราจะไม่หลงไปกับคำถามที่ใช้ประโยชน์ได้ยาก หรือเป็นคำถามที่ไม่ชัดเจน ซึ่งมันสามารถนำไปสู่สิ่งที่จะเปิดคลังความรู้ สร้างความเข้าใจของตัวเราได้
      .
      เพราะงั้นผมจึงขอยกปรัชญาที่ว่า "คำถามที่เกิดขึ้นในตอนที่เราเข้าใจตัวเองมากขึ้น จะนำคำตอบที่เราจะนำไปใช้เข้าใจคนอื่นหรือสิ่งอื่นได้เช่นกัน" โดยไม่แบ่งแยกสิ่งใดๆออกไปแม้แต่ชิ้นเดียว
      .
      ยินดีที่ได้คุยเช่นกันครับ

    • @jiapin8513
      @jiapin8513 День назад

      @@natasha_looknam เดส์การ์ต เป็นเจ้าของทฤษฏีทางคณิตศาสตร์ที่นักเรียนสายวิทย์ต้องเรียนด้วยค่ะ

  • @สุพจน์-ฎ5ห
    @สุพจน์-ฎ5ห 2 дня назад

    ความว่างไม่มีอะไรเลยคือของจริง

  • @ponpuromu
    @ponpuromu 4 дня назад

    รอติดตามตอนหน้าฮะ 🙏

  • @aphiwatbualoi6850
    @aphiwatbualoi6850 2 дня назад +1

    ขยับไมค์ใกล้ๆ แบบ podcast เสียงจะดีขึ้นครับ ขอสมัครเป็น นักเรียนด้วยครับ

  • @l.mrteera
    @l.mrteera 2 дня назад

    ติดตามครับ 🤩

  • @Champ.31
    @Champ.31 3 дня назад +1

    ติดตามครับ

  • @อ.ปฐวชลชูทิพย์

    เสพวิชาการไปก่อน...รอเสพผลงานเพลงนะครับ 😊

  • @dkmaesot340
    @dkmaesot340 9 минут назад

    ปรัชญา คือ... !!!!!! ????
    ความงาม, ความดี, ความจริง !
    ถ้าทอด (ข้าพเจ้าใช้คำว่าทอดนะครับ ไม่ใช่...ถอด) สมการสามข้อนี้ได้...
    ก็จะเห็นเจ้าของคอนเท้นท์
    งาม-ดี-จริงๆ!!!!!!!!!!
    คือเรามองเห็นเธอแล้วน่าทอดกินจริงๆ😂😂😂😂😂(อย่าซีเรียส!) นะครับ
    เชิญโต้แย้งได้ตามแนวทางของนักปรัชญา ได้เลย... หรือใครว่าไม่จริง! ไม่ดี! ไม่งาม! 😅😅😅 งง มะ....

  • @jirayutphonyiam6220
    @jirayutphonyiam6220 2 дня назад +3

    คนที่เรียนแขนงนี้ไป ได้หลักยึดถือในชีวิตไหมครับ หรือยังคงค้นหาต่อไป

    • @philoking4670
      @philoking4670 2 дня назад +1

      ได้สิครับ...เพราะว่าการตั้งคำถามเป็นจุดเริ่มของความรู้..คุณอยากรู้อะไร?

    • @natasha_looknam
      @natasha_looknam  2 дня назад +3

      @@jirayutphonyiam6220 หนูกลับรู้สึกว่าการเรียนปรัชญาไม่ได้ให้คำตอบหรือหลักยึดถือในชีวิตเราเสมอไปค่ะ
      ถูกต้องค่ะ การเรียนปรัชญามันคือการตั้งคำถาม แต่มันก็ไม่แน่ที่ว่าการตั้งคำถามนั้นมันจะได้รับคำตอบเสมอไป คำตอบที่ทุกคนเห็นหรือรู้สึกว่าถูกต้องอาจจะไม่ใช่คำตอบสำหรับเราก็ได้ค่ะ เราอาจจะพยายามหาคำตอบของตัวเองที่ไม่เหมือนคำตอบของคนอื่น แต่สุดท้ายแล้วมันก็อาจจะยังไม่ใช่อยู่ดีก็ได้ค่ะ
      ไม่ได้หมายความว่าการเรียนปรัชญาจะไม่ให้หลักยึดอะไรกับชีวิตเราเลย มันก็เป็นไปได้อีกเช่นกันที่เราจะพบคำตอบจากการเรียนปรัชญาหรือเรียนอะไรอย่างอื่นก็ตาม อาจจะอย่างง่ายดายหรืออย่างยากเย็น ซึ่งนั่นก็น่าจะขึ้นอยู่กับคน
      แต่สำหรับหนูการเรียนปรัชญาเหมือนกันมาเรียนรู้กรอบคิดจากหลายๆมุมมองโดยที่ตัวหนูเองก็ไม่ได้ยึดถือว่าจะต้องมีคำตอบใดเป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุดหรือสมควรยึดถือมากที่สุดขนาดนั้น ทุกๆทฤษฎีทางปรัชญามีจุดแข็งและจุดอ่อน ดังนั้นจึงยังไม่มีทฤษฎีไหนที่สามารถยึดถือเป็นหลักแห่งความจริงเพียงหนึ่งเดียวได้
      ถ้าถามถึงหลักยึดในชีวิตจริงๆ หนูไม่ได้มีหลักยึดอะไรชัดเจนขนาดนั้น หรืออีกนัยหนึ่งอาจจะกล่าวได้ว่า หลักยึดของหนูก็คือไม่ได้ยึดถืออะไรเป็นพิเศษมั้งคะ55
      ขอบคุณที่มาร่วมพูดคุยด้วยกันค่ะ

    • @jirayutphonyiam6220
      @jirayutphonyiam6220 День назад

      @@natasha_looknam ขอบคุณสำหรับคำตอบครับ แสดงว่ามันขึ้นอยู่กับบุคคล และเปลี่ยนแปลงได้ตลอดสินะครับ

  • @theshedthailand8078
    @theshedthailand8078 3 дня назад

    อะไรครับเนี้ย จับทางไปถูกแล้ว😂😂

  • @framee1795
    @framee1795 2 дня назад +2

    ทำไมถึงชอบปรัชญาครับ

    • @natasha_looknam
      @natasha_looknam  2 дня назад +2

      @@framee1795 เดี๋ยวไว้ทำคลิปเกี่ยวกับหัวข้อนี้นะคะ

  • @lumsomegaming
    @lumsomegaming 4 дня назад

  • @to3to3-dr1ed
    @to3to3-dr1ed 2 дня назад

    รีโมทเก่ามากกก

  • @woottichaichangchay2989
    @woottichaichangchay2989 4 дня назад

    นางขาวจัด

  • @user-mf9df9hx1b
    @user-mf9df9hx1b 4 дня назад

    ขอบคุณครับ