“เมืองตรังวันเดียว ก็เที่ยวได้” ไปกับ บุ๊คโกะ อิ่ม ฟิน ครบจบถึงตรัง | ตลาดสดพระราม๔ (Full) 7 ก.ย. 67

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 13 дек 2024

Комментарии • 11

  • @PPi-j1t
    @PPi-j1t 3 месяца назад +1

    เยี่ยมจ้า จ้อปู อร่อย นํ้าจิ้มเชื้อง จ้า คนตรัง ค่ะ👪🙇😍💕✌️💕💕

  • @PPi-j1t
    @PPi-j1t 3 месяца назад +1

    เยี่ยมจ้า💕😍👍🙇👪💙👍

  • @chatchalevy9882
    @chatchalevy9882 3 месяца назад +2

    น่ากินทุกร้านทุกเมนูนะค่ะ👍👍😋😋🥰

  • @tarisabinsiri
    @tarisabinsiri 3 месяца назад +2

  • @SopinKronert
    @SopinKronert 28 дней назад

    ดูแล้วคิดถึงเพือนรักเมื่อสามสิบกว่าปีแล้ว เรียนรามด้วย ไม่เจอกันเลยเนอะ ชี้ส เราหวังว่าเพือนชี้สคงสบายดี หนิงนครสวรรค์คิดถึงจ้ะ

  • @น้องมิร่าลภัสรดา

    มีไปกินหมูย่างตรัง มั้ยคะ

  • @อานันท์จิตรไพบูลย์

    หาก กิน คุณไปถูกที่แล้วล่ะ เมืองตรัง

  • @eveabi9911
    @eveabi9911 3 месяца назад

    ชิโนโปรตุกีสนะคะไม่ใช่ยูโรเปี้ยนค่ะ

    • @ANYEAMANEE
      @ANYEAMANEE 3 месяца назад

      เขาเปลี่ยนชื่อเป็นทางการที่ถูกต้องเเล้วค่ะ " ชิโนยูโรเปียน "
      ตึกชิโนทั้ง 3 เเห่ง ตรัง สงขลา ภูเก็ต ได้รับการสำรวจอัตลักษณ์ใหม่โดนมหาวิทยาลัยศิลปกร เเละสภาสถาปนิก สภาสถาปัตยกรรม
      คนไทยเรียกผิดเพี้ยนมาจากคนจีนที่อพยพมาอยู่ทางใต้ของไทย รูปเเบบตัวตึกมีการผสมผสานของจีน มาเลย์ เเละสิงคโปร์หลากหลายวัฒนธรรม ด้วยตัวตึกที่คล้ายกับของชิโนโปรตุกีสจีน จากนั้นก็เรียกติดๆ กันมาโดยที่ยังไม่ได้มีการสำรวจอัตลักษณ์เเละรูปแบบสถาปัตยกรรม
      หลังจากปี 2564 ก็เริ่มมีการเรียกชื่อใหม่ที่ถูกต้องตามอัตลักษณ์ที่เป็นรูปประจักษ์ ยูทูปเบอร์เเละคอลัมน์การท่องเที่ยวก็เรอ่มมีการเรียกชื่อใหม่กันเเล้วตั้งเเต่ 2564 ค่ะ

  • @XD-bc2mq
    @XD-bc2mq 3 месяца назад +2

    สถาปัตยกรรมแบบชิโนโปรตุกีส ไม่ใช่ชิโนยูโรเปี้ยน😂

    • @ANYEAMANEE
      @ANYEAMANEE 3 месяца назад

      ขออนุญาตบอกข้อมูลนะค่ะ มีกา
      รเปลี่ยนชื่อเป็นชื่อเรียกที่เหมาะสมเเละตามอัตลักษณ์ที่ถูกต้องเเล้วค่ะ จากชิโนโปรตุกีส เป็น " ชิโนยูโรเปี้ยน "
      เริ่มจากการสำรวจอัตลักษณ์ของตัวตึกเเละอาคารจากตึกในสงขลาเเละภูเก็ต โดยตึกเเถวที่คนเรียกกันว่าตึกชิโนโปรตุกีส เพราะคนได้เรียกผิดเพี้ยนตามตึกของคนเชื้อสายจีนในปีนัง สิงคโปร์ คนจีนที่อพยพฐานมาอยู่ทางตอนใต้ของไทยเเละในภูเก็ตจึงเรียกตึกลักษณะนี้ว่าชิโนโปรตุกีสตามๆ กัน จนติดปากติดหู เเต่จากการสำรวจอัตลักษณ์ตึกเเถวใหม่ ทำให้ทราบว่า ตึกลักษณะที่สำรวจทั้งหมดไม่ใช่เเนวชิโนโปรตุกีส เป็นเพียงการคล้ายคลึงกัน หลังจากนั้นก็มีการเริ่มเรียกชื่อใหม่ที่ถูกต้องค่ะ
      หากเสริทดูตามโซเชียลปัจจุบัน ได้มีการเริ่มเรียกชื่อใหม่กันเเล้วค่ะ
      อ้างอิงจากการสำรวจโดยมหาวิทยาลัยศิลปากร 2559 ( 2016 )