พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ตอนที่หนึ่ง สมภาร พรมทา

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 9 фев 2025
  • เจ้าของ : ศูนย์ศึกษาพุทธปรัชญา มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    ผู้บรรยาย : ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา
    บรรยายแก่ : นิสิตปริญญาโทและเอก สาขาปรัชญา มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    บรรยายเมื่อ : ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๖

Комментарии • 24

  • @sriratdecha8809
    @sriratdecha8809 2 месяца назад

    ขอบคุณมากครับ!สำหรับข้อมูลความรู้

  • @inthaphonemeksouvanh2031
    @inthaphonemeksouvanh2031 Год назад +1

    ສະບາຍດີອາຈານ

  • @sownl4272
    @sownl4272 Год назад +1

    รอคลิปอาจารย์มาตลอดครับ

  • @tatsuponsukduangkhen2898
    @tatsuponsukduangkhen2898 Год назад

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @Pluto01095
    @Pluto01095 Год назад

    🙏🙏🙏

  • @yordshanek-un2217
    @yordshanek-un2217 Год назад

    ขอบคุณมาก...ครับอาจารย์🙏

  • @ใบไม้กํามือเดียว

    ขอบคุณค่ะ
    กายเป็นถ่านไฟ
    ใจเป็นเปลวไฟ
    ความคิดเป็นลมโหมไฟให้ลุกโชน
    เมื่อยังมีอวิชชาก็ดับไฟไม่ได้จริง
    อวิชชาคือไม่รู้ว่าทุกข์แห่งอริยสัจคืออะไร
    ทุกข์ที่ว่าคือการมีตัวตนที่เป็นรูปกาย
    ทุกข์ที่ว่าคือการมีตัวตนที่เป็นนามกาย
    ทั้งตัวรูปและตัวนามที่เรายึดถือมาจากสัญญาและสังขารในอดีต การตัดตอนมี 2 วาระคือ
    1. หยุดการเกิดทางกาย
    2. หยุดการเกิดทางใจ
    กรรมในอดีตคือกรรมของเผ่าพันธ์
    1. มันสิ้นสุดสังสารวัฏรูปธรรมเมื่อหยุดสืบพันธ์ พระเถรวาทจึงงดเสพเมถุน หากทำผิดถือว่าปาราชิก
    2. มันสิ้นสุดสังสารวัฏนามธรรมเมื่อถึงมรรคผลนิพพาน จากการเจริญสติปัฏฐาน 4
    ข้อ 1 ทุกคนทำได้แม้เป็นปุถุชน คือการคุมกำเนิด
    ข้อ 2 ไม่ใช่การดับความคิด ปัดทิ้งความคิด แต่เกิดจากรู้แจ้งเห็นไตรลักษณ์ จึงปหานกิเลสแห่งสังโยชน์เป็นลำดับ จนสิ้นอวิชชา

  • @Thelostsoundinthailand
    @Thelostsoundinthailand Год назад +3

    People who attain Dhamma easily partly because they see themselves. Allow yourself to express yourself. Without judging or being afraid of people criticizing you for being a Dhamma practitioner, why is it like this? The words "why is it like this" make many people afraid because they have to maintain their image, want to be good, want to be a person who has attained Dhamma. By focusing too much on other people he looks up to

    • @Thelostsoundinthailand
      @Thelostsoundinthailand Год назад

      Id, Ego, Super Ego exist in every human being in an unequal mixture. Each person therefore has many different personalities. Easterners and Westerners cultivate their identities differently.
      Eastern people tend to express themselves by maintaining their image, having a Super Ego, and concealing their Id to the point of exaggeration. Dhamma crazy people are therefore the type of people who hold rough hands, hold precepts with their mouths, and create a good image that most people admire.
      Westerners tend to express themselves by showing their current position, having their Ego logically, without concealing their Id to the point of exaggeration. Workaholics are therefore serious people. Have a clear goal rather than focusing on people who criticize you.
      The wisdom of the great thief comes from taking the fruit without doing any reasonable cause. So he used his intelligence to pick up the words of the teachers. Or those who have attained Dharma use it in a careless way. To satisfy the self but not see the self
      Trapped in the language that there is no self, people, animals, us, them.
      ☆☆☆People who can see their own identity don't miss it like most people. Because learning from real things Not learning from interpreting language without seeing yourself☆☆☆

    • @Thelostsoundinthailand
      @Thelostsoundinthailand Год назад

      Suffering in the Noble Truth is the existence of the self (concrete, abstract). The cessation of suffering is the realization of the self. attain wisdom liberation (Eastern philosophy) or self-discovery Achieve Ceto Vimutti (Western philosophy) For intellectuals, it is not difficult to understand.
      The identity that humans hold firmly to In Buddhism, it is described as the 5 aggregates of attachment (rupa, feeling, perception, saṅkhāra, consciousness), while many psychologists describe it with mental structures according to Freud's theory of psychology (Id, Ego, Super Ego).
      Most Eastern peoples take identity after death as their main priority. The word sakkai ditthi, in addition to clinging to oneself as an image in the minds of others, I also make merit in hopes that after death I will go to a better world. That is, holding on to the existence of the self that we are to be born again.
      Most Western peoples think of themselves as important. Discovering yourself will help you use your full potential. to accomplish what is intended Worth one life after death The identity of who we are is lost. Keep only the name or work done.
      Satisfying both identities is a struggle. Is there a degree of passion that is small or large? It depends on each person, time, occasion, and self-awareness. Therefore, learning about yourself can help you escape suffering. From general suffering that comes from each person's life problems. Until suffering in the 4 Noble Truths.

    • @Thelostsoundinthailand
      @Thelostsoundinthailand Год назад +1

      Related articles
      Author: Chanthama Changsalak
      When reporters go to interview acquaintances of criminals in various cases, we often hear the offending sentence, "He's a good person," right? And if he's really good, how can he do bad things? Psychology has the answer to this. In the case where the acquaintance or close person of the accused or criminals in violent cases Whether it be physical harm, murder, hijacking, robbery, rape, but also coming out to say through the media that “My son is a good person. There is absolutely no way to do this.” It wasn't because his father and mother closed their eyes and ears. But it's because they don't know the accused or the criminal well enough. Which you can notice from many news events that happen when people are parents or even husbands and wives who live together almost next to each other. Still not aware that someone close to him was the cause of the incident.

    • @Thelostsoundinthailand
      @Thelostsoundinthailand Год назад +2

      in psychology The theory of Sigmund Freud, the father of psychoanalytic psychology, can be used to explain that being a good person in our eyes But why do bad things happen elsewhere? This is because he shows himself only partially according to his mental structure. The mental structure according to Freud's psychological theory states that the human mind consists of three structural parts:
      1. Id is the driving force in the mind driven by basic human instinct. This includes the needs of the body. sexual desire and aggression impulses
      2. Ego is the personality or behavior that we express. It is the result of maintaining a balance between the Id and the Super Ego.
      3. Super Ego is the conscious mind or the good mind that controls following the needs of the Id, which expresses personality.

  • @TasPraram5
    @TasPraram5 Год назад

    ขอบคุณครับ

  • @mniko9145
    @mniko9145 Год назад

    มาแบ้วๆๆๆ😂

  • @Jakkrapardnarasitpitak
    @Jakkrapardnarasitpitak Год назад

    วิทยาศาสตร์สนใจการพัฒนาการคิดค้นความจริงของโลก
    พุทธศาสนา สนใจเรื่องการพ้นทุกข์
    เป็นเส้นขนาน เทียบกันไม่ได้ครับ
    วิทยาศาสตร์ไม่ใช่ที่พึ่ง
    แต่พุทธศาสตร์เป็นที่พึ่ง
    อย่าเทียบกันเลยครับ
    วิทยาศาสตร์ไม่พ้นทุกข์ แต่พุทธศาสตร์ทางไปพ้นทุกข์

  • @ความจริง-ส1น
    @ความจริง-ส1น Год назад +4

    คุณระวี ไม่ใช่นักวิทยาศาสตร์หรอกครับ แค่ทำตามๆวิธีวิทยาศาสตร์แค่นั้น ผมว่านิยามคุณระวีไม่ถูก ของหลวงพ่อพุทธทาสใกล้เคียงกว่าเยอะ(ถูกด้วยซ้ำ)
    ระวีอธิบายถึงวิธีวิทยาศาสตร์เท่านั้นไม่ได้บอกว่าวิทยาศาสตร์คืออะไร? และอธิบายไม่หมดด้วย
    ซึ่งวิทยาศาสตร์เกิดจากความสงสัยแล้วก็ค้นหาความจริงโดยการพิสูจน์(หาความเป็นเหตุเป็นผลของสิ่งต่างๆนั้น)เมื่อพิสูจน์(ค้นหาความจริง)ได้แล้วสามารถใช้ประโยชน์ได้ก็นำมาใช้ประโยชน์ เช่น มนุษย์สงสัยว่าพืชเกิดขึ้นได้อย่างไร จนในที่สุดก็รู้ว่าเอาเมล็ดไปปลูกได้ มนุษย์จึงอาศัยเป็นหลักแหล่ง ซึ่งสิ่งต่างๆที่มนุษย์นำจากธรรมชาติมาใช้ประโยชน์นั้นนำมาโดยหลักการวิทยาศาสตร์ทั้งนั้นเพียงแต่ยังไม่มีใครมาเรียบเรียงเป็นขั้นตอนเท่านั้น
    ส่วนศาสนาพุทธเกิดจากวิธีวิทยาศาสตร์คือเจ้าชายสิทธัตถะเกิดความสงสัยแล้วค้นหาแล้วทำให้พบความจริง(ตรัสรู้)คือความเป็นเหตุเป็นผลของสิ่งต่างๆ ศาสนาพุทธจึงเกิดขึ้นตามหลักการวิทยาศาสตร์ ซึ่งสามารถแยกแยะได้ว่าคำสอนที่พิสูจน์ไม่ได้ที่แทรกอยู่ในไตรปิฎกนั้นไม่ใช่คำสอนของพุทธะแน่นอน

    • @ชุมพรรําไพ
      @ชุมพรรําไพ Год назад

      ที่ว่าคำสอนที่พิสูจน์ได้และไม่ได้นี่เราเอาใครเป็นเกณฑ์ตัดสินหรือแล้วแต่ใครจะพิสูจน์ได้

    • @ever7714
      @ever7714 Год назад +1

      ถ้าเอาแบบ พุทธทาส (ถูกด้วยซ้ำ) มันคือวิทยาศาสตร์แบบเชิงประจักนิยมน่ะ ซึ่งมันไม่เหมือนแนวคิดแบบ ใอสไตร์ที่ใช้เหตุผลเป็นหลัก ถ้าคุณมอง จารระวี แบบใหน เท่ากับคุณมอง ใอสไตร์ แบบนั้นเลยน่ะ

  • @aphiwatbualoi6850
    @aphiwatbualoi6850 Год назад

    คลิปนี้คุณภาพเสียงดีมากๆ ครับ ถ้าไม่ได้ยินเสียงนก คิดว่าอาจารย์อยู่ในสตูดิโอ

  • @เกิด1987
    @เกิด1987 Год назад +1

    อ.แดง ไม่ใช่อรหันต์ ยังเป็นปุถุชน ท้าให้พิสูจน์ครับ

  • @เกิด1987
    @เกิด1987 Год назад

    อกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปนยิโก

  • @ธรรมะคือความจริง

    ผมว่าการที่วิทยาศาสตร์ สามารถ ตรวจสอบได้มันก็ช่วยให้เขาใจคำสอนอยู่เหมือนกันครับ เช่น เรื่อง ธาตุ ในแง่ของวิทยาศาสตร์ จะใช้ปริมาณ หรือ คณิตศาสตร์มาจับ หาองค์กอบของธาตุเราก็รับรู้ได้ แต่ในแง่ของพุทธศาสนา จะเน้นไปจุดสุดท้ายของธาตุ คือ คุณลักษณะ ของธาตุ ซึ่งเราก็รับรู้ได้เช่นกัน และพอเอาไปอธิบาย ในส่วนองค์ ประกอบสิ่งมีชีวิตและ วัตถุ ธาตุในแง่ของพุทธศาสนา พอเอามาใช้ในการอธิบาย มันรู้เลยโดยที่ต้องเห็น แต่ ธาตุ แบบ วิทยาศาสตร์ สำหรับผม คิดว่า วิทยาศาสตร์มันเหมืนเรื่องภายนอกทีจะช่วยให้เข้าธรรมมะที่มันเป็นเรื่องของภายในที่จะสะท้อนออกมาภายนอกให้เราเห็นเป็น วิทยาศาสตร์ ที่มีข้อจำกัด ครับ นี้คือ มุมมองของผมครับ

  • @TanmatapMaximus
    @TanmatapMaximus Месяц назад

    เสียงใกล้เข้าโลงวะะ