ส่งเบี้ยประกันปีละ 50,000 กลัวส่งไม่ไหว ควรจัดการยังไงดี?

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 2 ноя 2024

Комментарии • 17

  • @จริยากัญหา
    @จริยากัญหา Год назад +2

    หนูฟังโค้ชตอนนี้หนูมีเงินเก็บ ไม่มีหนี้ค่ะ ขอบคุณโค้ชค่ะ

  • @pannipathahan9029
    @pannipathahan9029 Год назад +2

    ขอบคุณมากๆค่ะ กำลังคิดจะซื้อประกันพอดี 😅

  • @01jutatip
    @01jutatip Год назад +1

    ประกันสุขภาพ เลือกตามความเสี่ยงอายุและโรคประจำตัวของคนในครอบครัว พ่อแม่ ญาติเป็นโรคอะไรบ้างที่ส่งต่อมาหาเราได้ เช่น เบาหวาน ความดัน มะเร็ง โรคหัวใจ จะได้เลือกความคุ้มครองที่เหมาะสมกับตัวเราได้ดีขึ้นค่ะ

    • @THEMONEYCOACHTH
      @THEMONEYCOACHTH  Год назад +1

      เห็นด้วยครับ ผมเน้นเรื่องการจัดการความเสี่ยงให้เหมาะกับความเสี่ยง และต้นทุนที่ต้องจัดการครับ

  • @CHtheworld12
    @CHtheworld12 5 месяцев назад

    เราออมในประกันออมทรัพย์มาตลอด แต่ไม่จ่ายเยอะ เอาเท่าที่ไหว จริง ๆก้อดี เป็นการบังคับเก็บเงินภายในตัว เพราะรู้ว่าตัวเองเก็บเงินสดไม่อยู่ ข้อเสียคือ เอาออกมาใช้ไม่ได้ ต้องกู้เงินประกัน เสียดอกเบี้ยไปอีก

  • @zPoPpiNz
    @zPoPpiNz Год назад +2

    โค้ชอย่าลืมเงินเฟ้อค่ารักษาครับ มันขึ้นแรงกว่าค่าข้าวครับ 15ล้านในปีนี้อาจจะเยอะไป แต่เราต้องดูถึงอนาคตด้วยครับ อย่างรักษามะเร็งตอนนี้อาจจะ 2 ล้านแต่อีก30 ปี มันอาจจะพุ่งไปเกิน 15ล้านแน่ๆ อีกอย่าง ถ้าจะไปทำตอนอายุเยอะ มีหมอคนไหนกล้าการันตรีมั้ยว่าโค้ชจะสุขภาพเยี่ยมยอด 100%ไปจนถึงวันนั้น ถ้ารอตอนนั้น ก็สายไปที่จะทำประกันสุขภาพให้ครอบคลุมค่ารักษาตอนนั้นแล้วครับ สุดท้ายขึ้นอยู่กับกำลังจ่ายเบี้ย ข้อนี้เห็นด่วยตามที่โค้ชว่าครับ

    • @woodeternal8162
      @woodeternal8162 Год назад +5

      ประกันสุขภาพมันก็ปรับขึ้นตามอายุตามปีที่เพิ่มขึ้นอยู่แล้วนะครับ ผมมองว่าเอาให้เหมาะกับงบที่เรามีจะเวิร์คกว่านะ เราจะจ่ายเกินไปทำไม อีกอย่าง มีรายได้เพิ่มก็ค่อยๆปรับวงเงินประกันได้ ผมว่าความยืดหยุ่นสำคัญกว่าเราจะไปคิดมากกับเรื่องเงินเฟ้อค่ารักษาพยาบาลนะะครับ

    • @zPoPpiNz
      @zPoPpiNz Год назад

      @@woodeternal8162 ปรับอะไรครับ เบี้ยอ่ะปรับขึ้น แต่วงเงินรักษา ค่าห้องเท่าเดิมนะครับ
      ก็เขียนอยู่สุดท้ายอยู่ที่งบ อ่านไม่หมดหรอครับ ไม่ได้ไม่เห็นด้วยกับโค้ช แต่บอกในแง่เงินเฟ้อ กับความเสี่ยงที่คิดว่าอายุไม่เยอะจะไม่ป่วย

    • @THEMONEYCOACHTH
      @THEMONEYCOACHTH  Год назад +1

      ผมเข้าใจเรื่องเงินเฟ้อค่ารักษาพยาบาลครับ แต่ถ้าทำเกินพอดี ไม่จ่ายให้เหมาะกับความเสี่ยง จะไม่มีกินตั้งแต่วันนี้เลยครับ น้องในคลิปอายุ 26 ปี ผมว่าจ่ายตามความเสี่ยงเค้าก่อนก็ได้ครับ แล้วค่อยปรับเพิ่มเมื่อรายได้เพิ่ม บริษัทประกันก็น่าจะรับนะครับ ผมเน้นเรื่องการจัดการความเสี่ยงให้เหมาะสมกับตัวเอง บาลานซ์ต้นทุนในการประกัน พิจารณา protection ที่พอมีควบคู่กันไปด้วย เรื่องเงินเฟ้อมันก็เฟ้อทุกอย่างแหละครับ แต่ต้องสมเหตุสมผล

    • @THEMONEYCOACHTH
      @THEMONEYCOACHTH  Год назад +3

      ผมก็บรรยายให้บริษัทประกันเยอะนะครับ ก็เห็นมีผลิตภัณฑ์ให้ซื้อและปรับเพิ่มได้ตลอดนะ ถ้าเรามีเงินออม มีกำลัง ผมไม่ค่อยกลัวเรื่องซื้อเพิ่ม
      แต่ก่อนอื่น เรากำลังคุยกันถึงปัญหาของเจ้าของคำถามในคลิปนี้ ซึ่งเขากำลังมีปัญหาเงินส่งประกันไม่พอ กลัวไม่มีเงินส่งประกัน ผมจึงเน้นไปที่เรื่องการบาลานซ์ระหว่าง "ต้นทุน" ที่ส่งจ่ายไหว กับ "ความเสี่ยง"
      3 นาทีนี้ อธิบายแค่ตรงนี้ครับ ส่วนเรื่องการซื้อเพิ่มเติม เรื่องเงินเฟ้อค่ารักษาพยาบาล เข้าใจดีครับ ส่วนเรื่องหมอกล้าการันตี อันนี้ไร้สาระครับ ผมทำงานอยู่ทุกส่วนนะครับ ทั้งระบบรักษาแบบสวัสดิการ และส่วนของประกัน หัวใจสำคัญของการเป็นตัวแทนประกันที่ดี คือ สร้างแผนคุ้มครองความเสี่ยงเหมาะพอเหมาะ และมีต้นทุนอยู่ในวิสัยที่ผู้เอาประกันไหว
      คลิปนี้เราคุยกันตรงนี้ครับ

    • @tohflammablegoods8958
      @tohflammablegoods8958 Год назад

      @@THEMONEYCOACHTH ใช่เลยครับพี่หนุ่ม ❤

  • @therdthaisodchuenpanich8641
    @therdthaisodchuenpanich8641 Год назад

    โค้ชยังไม่เข้าใจเรื่อการทำประกันสุขภาพที่ดีพอครับควรศุกษาให้มากกว่านี้

    • @THEMONEYCOACHTH
      @THEMONEYCOACHTH  Год назад

      ชี้แจงได้เลยครับ ว่าตรงไหนไม่เข้าใจ พูดคุยกันได้ครับ ผมก็บรรยายให้บริษัทประกันน่าจะครบเกือบทุกแห่ง แต่ต้องคุยกันก่อนว่าคลิปนี้ผมคุยบนเรื่องของต้นทุนในการทำประกัน ไม่ได้คุยเรื่องแผนหรือแบบประกัน ที่เจ้าของคำถามมีความกังวล เข้าใจว่าเราสามารถปรับเปลี่ยนเงื่อนไขได้ แต่ผมคุยกันที่จุดตั้งต้น คือ การพิจารณาจัดการความเสี่ยงให้เหมาะสมกับความเสี่ยงที่ตัวเองมีและต้นทุน
      ถ้ามีอะไรเสนอแนะ ยินดีครับ

    • @THEMONEYCOACHTH
      @THEMONEYCOACHTH  Год назад

      บริบทของคำถามในคลิป คือ น้องเค้าอายุ 26 ปี และกำลังกังวลกับเงินส่งประกันที่อาจจะส่งไม่ไหว ผมก็สื่อสารเรื่องการจัดการความเสี่ยงภายใต้เงื่อนไขของงบที่น้องเค้ามี ถ้าจะตั้งต้นคุยคุย ต้องเช็คบริบทกันก่อนว่าตรงกันมั้ยนะครับ ไม่งั้นก็จะเสียเวลาพูดคุยทั้งคู่ เคสนี้เราคุยเรื่องการบาลานซ์ระหว่าง "ต้นทุน" กับ "ความเสี่ยง" ที่น้องเค้ากำลังรับมืออยู่ เข้าใจว่าบางคำแนะนำอาจไม่ถูกใจตัวแทนประกันเท่าไหร่ แต่ตัวแทนประกันที่ดีจะบาลานซ์ 2 สิ่งนี้ให้ลูกค้าได้ครับ ยินดีแลกเปลี่ยนนะครับ

    • @therdthaisodchuenpanich8641
      @therdthaisodchuenpanich8641 Год назад

      ที่ผมไม่เห็นด้วยคือ การที่แนะนำว่า ถ้ามีสวัสดิการบริษัทให้ซื้อประกันสุขภาพเพิ่มขึ้นอีกนิดหน่อย เพีาะคุณทราบไหมว่า อายุ26 เบี้ยสุขภาพแบบเหมาจ่าย เบี้ยแค่ 20000 กว่าเองครับ ได้ทุน 5000000 และ ทุน 1000000 นั้นเบี้ยต่างกันแค่ 1-2000 เท่านั้น ดังนั้น 5 ล้านจะคุ้มกว่า และควรมองว่า ในอีก 10-20 ปีข้างหน้านั้น ทุน 1 ล้านเอาไม่อยู่ครับ แต่ปัจจุบัน 1 ล้านถ้าเป็นโรคใหญ่ ก็หืดจับแล้วครับ ปัจจุบัน มีเคสที่เข้าคั้งเดียวจ่ายเยอะสุด คือ 7000000 บาท นะครับ
      ประเด็นต่อมา ประกันสุขภาพต้องทำตอนสุขภาพดีเท่านั้น ปัจจุบันแบบเหมาจ่าย หากค่าเลือดเกินเกณฑ์ก็โดนยกเว้นแล้วครับ และหากเกณฑ์ที่แต่ละบริษัทกำหนด ก็ไม่ขายประกันสุขภาพแล้วซึ่งจะทำให้ผู้เอาประกันมีความเสี่ยงหากไปทำตอนอายุเยอะๆ ดังนั้นหากผู้เอาประกันมีความสามารถในการจ่ายเบี้ยและสุขภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานก็ควรจะวางแผนการทำประกันสุขภาพไว้แต่เนิ่นๆ ในจำนวนที่เพียงพอสำหรับอนาคตด้วย ไม่ใช่ดูว่าบริษัทมีประกันให้แล้วก็ทำแค่นิดหน่อยเพราะถ้าออกจากบริษัทและเป็นโรค โอกาสในการทำประกันสุขภาพก็หมดไป นั่นก็คือผู้เอาประกันจะต้องรับความเสี่ยงเองไปตลอดชีวิต ต่อให้มีการลงทุนหรือสะสมทรัพย์ในวันอื่นที่เยอะ แต่หากโชคร้ายมีโรคร้ายเงินที่ลงทุนและสะสมก็อาจจะหมดไป ดังนั้นจึงต้องให้ความสำคัญในการทำประกันสุขภาพแต่เนิ่นๆไม่ใช่ทำเล่นๆเพิ่มขึ้นมาอีกนิดหน่อย
      ส่วนที่ผมเห็นด้วย ก็คือการวิเคราะห์ลูกค้าในความสามารถของการชำระเบี้ยและการเสนอแบบประกันที่เหมาะสมปัจจุบันผมก็ยังไม่เห็นด้วย
      กับการขาย un เพราะ ใน un นั้น เป็นผลิตภัณฑ์ที่บริษัทประกันทำขึ้นเพื่อให้ตัวเองเป็นเหมือนเสือนอนกิน อย่าลืมว่า un และ ul มีค่าใช้จ่ายแฝง ที่มักไม่ค่อยได้บอก ในกรมธรรม์ประเภทนี้ มีcoi และถ้าซื้อสุขภาพแบบ udr ก็จะมีcor ด้วย ซึ่งตรงนี้ อัตราค่าความเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นทุกปีและสูงมาก จนในบางครั้งหากผลตอบแทนจากการลงทุนไม่เพียงพอต่ออัตราการเติบโตของ coi และ cor

    • @therdthaisodchuenpanich8641
      @therdthaisodchuenpanich8641 Год назад

      ผลก็คือ กรมธรรม์อาจจะโดน terminate ถ้าตัวแทนไม่ดูแลหรือไม่มีความรู้ที่ดีพอ
      ในส่วนของ udr มันเป็นการเก็บเบี้ยล่วงหน้าโดยหารเฉลี่ยให้เท่ากันทุกปีไปตลอดโดยการเข้าสูตรคำนวณถ้าสังเกตจะแพงกว่าแบบที่traditional ในตอนแรกแล้วจะน้อยลงน้อยกว่าในตอนท้ายแต่นั่นก็คือการคำนวณทั้งอัตราความเสี่ยงและการคิด present value ที่กลับมาแล้วซึ่งจริงๆแล้วการจ่ายเบี้ยโดยรวมก็จะใกล้เคียงกัน แทนที่ลูกค้า จะเอาเงินส่วนที่เพิ่มนี้ไปลงทุนจะดีกว่า และเป็นการเพิ่มศักยภาพในการลงทุนที่จะต้องใช้ไปตลอดชีวิตด้วยตัวเอง ดังนั้นผมจึงขอสรุป ว่าผมมีส่วนที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยในคลิปนี้จากการทำงานเป็นตัวแทนมากกว่า 20 ปี