Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
จาก คน เคยรวยนะครับ . . . อย่าไปอะไรกับเรื่องรถยนต์ให้มันมากเกินพอดี . . . . เพราะ รถ = ลด . . . . แนะนำให้ทำทุกอย่างเป็นปกติ กับ รถยนต์อย่างที่ คนทั่วไป ปุถุชนเขาทำกัน . . . เอาเวลา กับ เงินทองที่หาได้ ไปช่วยทำให้ชีวิตมีความมั่งคั่งในระยะยาว และ อยู่กับสมาชิกครอบครัวอย่างอบอุ่น จะดีกว่า . . . ว่างมาก . . ก็ควรจะไปช่วยสอนการบ้านลูกบ้าง . . .
มีปมไรป่าว
@@reload5561น่าจะครับ😂😂
จริงที่สุดเลยครับ ลมเทพยางไม่ดีก็ระเบิด ลมเทพเหยียบตัปูก็รั่ว
จริงครับ
จิง เซอวิสไรปกติก็พอละ
ในอดีตยางล้อเครื่องบินก็เติมด้วยอากาศปกติ แต่หลังจากเครื่องบินมีน้ำหนักมากขึ้น เบรคทำงานที่อุณหภูมิสูงขึ้น เกินจุดเดือดของน้ำ ไอน้ำจะขยายตัวรุนแรง ความดันลมยางเพิ่มขึ้นจนเป็นอันตราย จึงมีข้อกำหนดให้เติมลมยางด้วยอากาศแห้ง (dry air) ที่มีความชื้นสัมพัทธ์ไม่เกินร้อยละสิบ ซึ่งไม่สะดวกในการจัดหา จึงมีการอนุญาตให้นำไนโตรเจนมาเติมลมล้อเครื่องบินแทนอากาศแห้งได้ ทำไปทำมาไนโตรเจนจึงกลายเป็นก๊าซมาตรฐานที่ใช้เติมลมล้อเครื่องบินไปโดยปริยาย พ่อค้าหัวใส เห็นว่าล้อเครื่องบินเติมด้วยไนโตรเจนจึงนำมาสร้างภาพว่าเป็นก๊าซวิเศษ ให้บริการเติมล้อรถยนต์ ทั้งที่ในความเป็นจริงไม่มีความจำเป็นแต่ประการใดเลยครับ หลายๆท่านจึงหลงเชื่อด้วยความรักรถ ยอมควักเงินจ่ายเติมไนโตรเจนในล้อรถยนต์กันครับ
ผู้ใช้รถคนไทยโดนหลอกในหลายๆเรื่องมาเป็นเวลานาน จากการที่ไม่ศึกษาหาความรู้ก่อนใช้ เอาแต่ใช้ความเชื่อบวกกับการฟังเค้าเล่ามาซะส่วนใหญ่มีช่องรายการแบบนี้เกิดขึ้นมา เป็นประโยชน์มากครับ ได้บุญกุศล ทำให้ผู้ใช้รถโดนหลอกน้อยลงครับ
ซื้อรถมา 5 ปี เติมลมธรรมดาตลอด ไม่เคยรั่ว ไม่เคยแตก ทุกวันนี้ยังใช้อยู่ แค่เช็คลมยางทุก 1 เดือน
ลมธรรมดากับไนโตรเจนไม่ต่างกันเลยเรื่องความร้อนแต่อาจต่างเรื่องการซึมในระยะยาวกับคนที่ไม่ค่อยดูแลเรื่องลมยาง แต่ตอนเติมลมผมแนะนำให้เติมตอนร้อน เพราะเวลารถวิ่งไม่ว่ากลางวันกลางคืนยางมันก็ร้อน แล้วคุณจะได้ขับในแรงดันที่คุณต้องการ แต่ถ้าเติมตอนเย็น พอวิ่งไปแล้วร้อนยางคุณจะแข็งขึ้น2-4ปอนด์
ใช้ลมธรรมดาถ้ารู้เรื่องอากาศจะรู้ว่ามันอยู่ทั่วโลกใบนี้เพียงแค่ไนโตเอาอ็อกซิเจนออก แต่ถ้าจะเติมได้ผลจริงๆผมว่าต้องแว็กออกให้หมด รถบ้านๆเติมฟรีตามปั้มดีกว่า
@@น่ะจ๊ะสวัสดี-ฅ5พ ไนโตรเติมบุฟเฟ่ 9บาท shopee เยอะแยะ ทั่วประเทศด้วย ซึมน้อยกว่า
มั่วแหล่ะท่าน
ส่วนตัวแล้วคิดว่า เมื่อสมัย 50 กว่าปีที่ผ่ามาเราเติมลมยางด้วยอะไร ? แล้วมีปัญหาหรือป่าว ของใหม่ย่อมดีกว่า . . . แต่มันมีผลจนกระทั่งจะเป็นนัยยะสำคัญของชีวิตหรือไม่ . . . เราไม่ได้แข่งฟอร์มูลาวัน รถร้อยคัน พันคัน วิ่งจากกรุงเทพ ไปเชียงใหม่ ก้อใช่ว่าจะเติมลมไนโตรเจนเหมือนกันหมดทุกคัน แต่ก้อพร้อมที่จะไปถึงเชียงใหม่ . . . เอาเป็นว่าสะดวกใครสะดวกมัน ส่วนตัวแล้วเจอปั๊มน้ำมันที่จุดเติมลมเสียก้อปวดหัวแล้ว แต่ถ้าจะต้องตะเวนหาร้านเติมลมที่มี ไนโตรหรือ อาร์กอนโดยเฉพาะก้อคงจะมึนไปอีกแบบแหระครับ
จริงๆยางเขาถูกออกแบยมาใช้กับลมธรรมดาอยู่แล้ว ไม่ว่าจะแรงดันหรือความร้อนต่างๆที่เกิดขึ้นขณะขับเขาคำนวณเผื่อมาแล้ว แค่เช็คลมยางตามกำหนด เปลี่บนตามอายุก็เพียงพอแล้ว 😊
ต้องรู้จัก dry air คือ อากาศที่ผ่านการเอาความชื้นออกไปแล้วคุณจะเติม N2 Ar ผลก็ไม่ต่างกันเพราะมันคือก๊าซที่ผ่านกระบวนการดูดควบชื้นออกไปแล้ว จริงๆ O2 บริสุทธิ์ที่ใช้ตามโรงพยาบาล ก็เป็น dry gas แต่ที่ไม่เอามาเติมลมเพราะ O2 เป็นก๊าซตัวทำปฏิกริยา หากไปสัมผัสเชื้อเพลิงและมีความร้อนเหมาะสมจะลุกติดไฟได้ง่าย เขาถึงใช้ก๊าซเฉื่อยแทน สรุปให้เติม dry inert gas เพราะ gas ที่ชื้น ชื้น= น้ำเมื่อร้อนน้ำจะเปลี่ยนสถานะเป็นไอน้ำ และแรงดันก็จะสูงขึ้น
Dry Air ก็แค่ ผ่าน Dryer ครับ . . . ส่วน Dryer จะมีกี่ประเภท นั่นค่อยไปว่ากันในรายละเอียด . . . จะเติมทำไม Dry Air ไร้สาระ เติมลมธรรมดาปกติ ก็พอแล้ว . . . เอาเวลากับเงินที่หาได้ไปทำอย่างอื่นดีกว่า
ชื่นชมพิธีกรที่ชี้แจงและให้ข้อคิดให้ชาวบ้านทั่วไปได้รู้และเข้าใจ ในด้านพื้นฐานวิศวกรรม P*V/T = ตัวคงที่P คือแรงดันลมในยาง หน่วยเป็นแรงดันใดๆหน่วยหนึ่ง จะเป็น psi เป็น barV คือปริมาตรที่ว่างเพื่อลมหรืออากาศใดๆที่อยู่ภายในล้อยางT คืออุณหภูมิภายในของลมหรืออากาศใดๆยาง ที่อุณหภูมิสัมบูรณ์ ใช้การคำนวนที่ 273+t° โดยที่ t° อุณกภูมิที่ชาวบ้านๆรู้นั้นแหล่ะ บ้านเรานิยมใช้ °C (เซลเซียส)การเพิ่ม(หรือลด)ของอุณหภูมิ แค่ช่วง 10-15°C ก็ไม่ได้ทำให้แรงดันในลมยางลมเปลี่ยนแปลงไปกี่มากน้อย เช่น เพิ่มมาเป็น 15°C แรงดันลมยางก็เพิ่มเพียง (15/273)*100% หรือ 5.5 % หากแรงลมยางเดิมที่ 35 psi แรงดันลมยางเพิ่มขึ้นเป็นเพียง 35*1.055 = 37 psi เท่านั้น หรือเพิ่มขึ้นแค่ 2 ปอนด์ เท่านั้น โดยเสมือนว่าล้อยางมีปริมาตรลมยางคงที่แทบไม่ขยายตัวเลย เพราะการออกแบบล้อยางรองรับส่วนนี้อนู่แล้วตามมาตรฐานกานผลิตไม่ใช่ว่าแรงดันลมยางจะเพิ่มขึ้นมาอย่างมากมายมหาศาลทำให้ล้อยางแตกเสียหายได้
เจ๋งคับส่วนตัวผมไม่ซีเรียสเรื่องลมยางเลยยางระเบิด ต้องคิดว่าขับที่ความเร็วเท่าไหร่ล่ะ ผมไม่เกิน150 ไม่เกิน3ชม. แวะปั๊ม ไม่ระเบิดชัวร์สนิมในล๊อคแม๊ค ไม่สนใจ โครงสร้างมันรับประกันเป็น10ปี ที่มาตรฐานข้อดี เดียว คือ ไม่ต้องเติมลมบ่อย 1ปีเติม 1ครั้ง ประมาณ20000km.
เสริมครับ ข้อดีของไนโตรเจนคือแรงดันภายในล้อจะคงที่หรือซืมออกช้ากว่า (ทดลองด้วยการเติม pure Nitrogen (N2 มากกว่า 98%) จากไนโตรเจนเหลวที่เปลี่ยนสถานะเป็นก๊าซ) ทำให้แรงดันภายในล้ออยู่คงที่ ได้นานกว่าการเติมด้วยลมจากปั๊มทั่วไป ส่วนอาร์กอนไม่แนะนำ เพราะมีราคาแพง
ไม่แพงครับ ตอนนี้ซื้อใช้ในการบวนการผลิตฯ ที่โรงงานอยู่ . . . ราคาไม่แพงอย่างที่เขาเอามาขายหรอก . . . แม้ว่ามันจะแพงในราคาต่อถัง แมื่อเทียบกับ N2 ราคาต่อถังมันถูกมาก เมื่อเทียบกับราคาที่ร้านยางนำมาขายต่อให้คนทั่วไป
ไนโตรเจนแห้งกว่า ไม่มีน้ำผสม ลมปกติอาจมีน้ำปสมเข้าไปล้ออาจเกิดสนิมภายในได้
แสดงว่ายังไม่เข้าใจสาระที่เขาสื่อสาร คุณต้องแวกคั้มลมในล้อออกให้หมดก่อน ถึงจะเติมไนโตเจนแล้วได้ผลที่น่าพอใจ แต่ทุกวันนี้ เติมไนโตเจนไป ก็ไปผสมกับลมธรรมดาอยู่ดี ผลที่ได้มันแค่การคิดไปเองมากกว่า
สมัย 10 ปีที่แล้ว ก็บ้าเติมไนโตรเจนตลอด ยางต้อง โยโก ad08 ซิ่งสุดเทพสุด.............พออายุมากขึ้น ขับสไตร์ครอบครัว เติมลมธรรมดา แต่เน้นยางนุ่ม ยางใหม่ มิลลิน ตัวท็อป primacy suv ใช้ 4-5 ปีเปลี่ยน
น่าทดลองด้วยยางในรถมอเตอร์ไซ เพราะมันลีบๆไม่มีลมไม่ต้องแวคคั่ม เอามาเติมแก็ส แล้วเอาไปตากแดดดูว่า หลังแก็สได้รับความร้อน แก็สแต่ละชนิด อันไหนมีค่าแรงดันเปลี่ยนแปลงอย่างไร
โอ้ จริงด้วยครับ ยางในมอเตอร์ไซค์ใหม่ 3 เส้น แบนๆเลยไม่มีอากาศ
ใช่ๆๆ 👍👍👍
อยากให้ทดลองเรื่องน้ำมันเครื่องถูก vs น้ำมันเครื่องแพงว่าจะแตกต่างกันอย่างไร
ดันครับ
ปืนวัดความร้อน วัดได้แค่ความร้อน *ผิวยาง> ใช้เซ็นเซอร์วัดความร้อนลมยาง *ด้านในสิครับ ผมอยากทราบผล> ถ้าได้กล้องจับความร้อน วัดการแผ่รังสีความร้อนของยางทั้งเส้น จะขอบคุณมากครับ
เห็นด้วยครับ ผมใช้ฟอร์ด อยู่รุ่นที่มีเซ็นเซอร์ ลมยางด้านใน ลมธรรมดา อุณภูมิ ต่าง กับ ไนโตร อยู่ 2-3องศา จริงครับ และ การขยาย ขึ้นอยู่กับอุณภูมิครับ เช่น ไนรโตร เติม35 psi อุณภูมิ40 องศา ขยายไป 2psi เป็น37 psi ถ้าลมธรมมดา ขยายไป39 Psi ครับ
วัด surface มันไม่ได้อะไรเลย
เทียบจาก p-t diagram ก็น่าจะเห็นภาพแล้วนะครับเอาจริงๆ ตั้งแต่เรื่องการทดสอบน้ำยาหม้อน้ำแล้วที่มองแต่จุดเดือดไม่มองค่า htc ของน้ำยาหม้อน้ำ
ผมเติมลมธรรมดามา35ปี ยังไม่เคยยางระเบิดเลย ยางบางชุดผมใช้ถึง7ปีถึงจะเปลี่ยนใหม่ รอยแตกลายงารอบวงเลย บางทีเราก็ไม่ต้องไปคิดอะไรเยอะขนาดนั้น เค้าเติมลมธรรมดากันเกินครึ่งโลกไม่งั้นรถก็ยางระเบิดกันทุกคันเเล้ว ดูเเลรักษาตามคู่มือญี่ปุ่นเค้าคิดมาก่อนเราซื้อรถซะอีก
ผมเคยร่วมงานกับ บ.แห่ง1นะครับ ยาง ถ้าไม่Overloadเกินเนื้อยางซึ่งบ.เค้าเผื่อFactor3-4เท่าอยู่แล้วไม่มีทางแตกหรือระเบิดครับ ปัจจัยอื่นคือ ยางเสื่อมสภาพหรืออะไรแล้วแต่ ที่เห็นๆคือ ยางหมดสภาพไม่ก้Overload.ครับ ส่วนก๊าซที่เติมถ้าเติมไนโตรบลาๆๆบ้าๆบอๆ แล้วคุณทะลึ่งยางอ่อน ไปเติมปั๊มลมตามปั๊ม=จบ ซึ่งรถใช้งานไม่ใช่รถแข่งเซอกิต ไม่จำเป็นครับเรารถบ้านไม่ใช่รถแข่ง
นี่สิคนรู้จริง ถ้าเติมลมตามกำหนดเปลี่ยนยางตามอายุ เติมลมธรรมดาง่ายกว่า ส่วนคนที่เติมไหนโตร จะเน้นสบายไม่ต้องเติมบ่อยหรือเติมเอง แต่หาที่เติมยากหน่อย และที่สำคัญสิ่นเปลืองเปล่าๆๆ😊
@@ソムマート เห็นเขาบอกว่าส่วนมากจะมีแต่รถสปอร์ต ที่เติมกันใช่ไหมครับ
การทดลองต้องควบคุมตัวแปรให้ดี ผมเห็นว่ายางหน้า กับยางหลัง รับน้ำหนักต่างกัน เวลาเลี้ยว ล้อหน้ารับภาระหนักกว่า ล้อหลัง ดังนั้นการเปรียบเทียบโดยใช้ยางหน้ากับยางหลัง มันน่าจะมีความคลาดเคลื่อน ส่วนล้อซ้ายกับขวา น่าจะยอมรับได้
อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงได้ครับแต่ออกซิไดซ์มันน้อยกว่าครับแต่ส่วนมาก ตู้เติม ไม่ได้เกิน 90% ขึ้นไป
ไนโตรเจน มีความบริสุทธิ์อยู่ที่สัดส่วน3%ส่วนล้านครับ คือให้มีอ๊อกจิเจนผสมอยู่ได้แค่นั้นคือ3ppm. ผลดีที่เติมคือ กลิ่นลมยางจะไม่เหม็นสาบความชื้น ยางรั่วซึมช้ากว่าลมธรรมดา อีกอย่างผมเติมฟรี เพราะอยู่แผนก. Product plant. มาแต่ปี32
เติมไนโตรครับ ถอดมาล้อสะอาด ไม่มีไอน้ำเกาะ ลดการระเบิดของยางเก่า ยิ่งหน้าฝนเห็นชัดถอดล้อมามีน้ำในล้อสำหรับลมธรรมดา ไนโตรไม่มีหรือถ้าดูดอากาศออกไม่ดีก็ยังมีน้อยครับ การระเบิดของยางเกิดจากความชื้นภายในยาง มันจะขยายตัวมากกว่าอากาศครับ การเติมทดลองครั้งเดียวไม่รู้หรอครับ เพราะมันไม่เห็นใดๆ ไนโตรต้องระยะยาว แต่อย่างช่างบอกต้องหาร้านที่เขาดูดอากาศออกจริงๆ ไม่ใช่ใช้ลมธรรมดาแล้วไปเติมเลยมันไม่เกิดประโยชน์ใดๆครับ
ผมเติมปล่อยทิังๆ สามรอบ ผมของฟรีครับ ก็ผลิตเองเนาะ
ไม่ต้องแวคคั่มออกก็ได้ครับ ใช้วิธีเติมแล้วถ่ายทิ้งเหลือ1bar สัก4รอบ ก็จะเหลืออากาศธรรมดาน้อยมากแล้ว เหมือนกับฟลั่ชน้ำมันเกียร์นั้นล่ะครับ จากมุมมองของวิศวะเครื่องกล ก๊าซขยายตามอุณหภูมิ ในอัตราที่เท่ากัน ไม่ขึ้นกับชนิดของก๊าซ
ใช่ครับ
นั่นก็ถูก แต่ลมธรรมดาไม่ได้มีแค่ก๊าซบริสุทธิ์น่ะสิ มันมีความชื้นด้วย
ผมแว็คคั่มออกนะ มีผลตามคลิปเลยครับ
ข้อดีที่เห็นชัดเลยตอนเติมไนโตรเจน รถวิ่งทุกวัน เติมเดือนละครั้ง แต่ลมธรรมดาต้องเติมอาทิตย์ละครั้ง แรงดัน32เหลือ28,29
ผมได้ยินมานานแล่วเติมไนโตรเจนแล้วไม่ร้อน แล้วความร้อนเข้าข้างในเหมือนเดิม รอฝนตกค่อยขับถ้ากลัวยางร้อน
ถ้า ออกซิเจน มันซึมออกได้ต่อให้เติมลมธรรมดา ใช้ไปสักพัก ออกซิเจนก็ซึมออกเหลือแต่ไนโตรเจนอยู่ดี
เติมลมยาง สำคัญที่ความชื้นในอากาศ ความชื้นคือน้ำเมื่อร้อนขึ้นอัตราการขยายตัวมีมากแรงดันก็จะเปลี่ยนมาก ปั้มลมจะมีการดักน้ำ แต่ได้ผลน้อยเพราะอากาศถูกอัดน้ำจะเปนไอน้ำจึงดักน้ำไม่ได้ แต่ถ้าเปนไนโตรเจนก็จะไม่มีไอน้ำหรือความชื้นอยุ่ ยางแก้มเตี้ยใช้ความดันสูงจึงควรจะใช้ไนโตรเจนเพื่อคุมความดันให้นิ่งขึ้น และรั่วซึมน้อยกว่าลมธรรมดา ถ้าเปนลมธรรมดาเติมตอนอากาศแห้งเช่นหน้าหนาว , ปั้มลมมีเครื่องทำความเย็นลมเพื่อดักไอน้ำก็โอเค
ชนิดของแกสไม่มีผลกับการขยายตัวครับ ถ้าที่เติมไปเป็นกาซอยู่ตลอด จากสมาการ ม ปลาย PV = nRT. แต่ถ้าเติมลมธรรมดา(มีความชื้น) ไอน้ำอาจจะควบแน่นเป็นน้ำในยาง ทำให้กาซ(nในสมาการลดลง) แต่อย่างว่าเเหละน้ำเป็นส่วนประกอบในอากาศน้อยมากส่วนที่้ปลี่ยนไปจากตรงนี้จะมีผลไหมก็อีกเรื่องแต่การรั่วซึมนี้ไม่ทราบจริงๆครับเสริมทปกติที่เติม N2 แทนอากาศ แล้วมีผลจริงๆคือใช้ป้องกันการระเบิดของเชื้อเพลิงครับ อย่างในถังน้ำมันเครื่องบินต้องอันทN2 เเทนอากาศกันไอน้ำมันติดไฟครับ
ใครสอนครับ ? . . ว่าชนิดของแก๊สไม่มีผลต่อการขยายตัวของแก๊สเมือ่อุณหภูมิเปลี่ยนไป . . . . รู้จักสัมประสิทธิ์การขยายตัวของก๊าซไหมครับ? . . . แหมม่ จะอวดรู้เนี่ย กลับยก PV = nRT เนี่ยนะ . . . ตลกตายละ ขนาดโมเลกุลและแรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุล ของแก๊สแต่ละชนิดมันเท่ากันหรือครับ? . . . ความหนาแน่นที่ STP ของแก๊สบริสุทธิ์แต่ละตัวมันเท่ากันเหรอ? . . . . นี่ยังไม่รวมถึง ระดับ Purity ของแก๊ส(เกือบบริสุทธิ์) ที่จะเอามาเติมเด้อ แต่ก็เกือบดีแล้วครับ . . . หากไม่ใช่คนทำงานในสายงานที่เรียนจบมาสายวิทย์ฯ อย่าง บัญชี จิตกรรม หรือ ครู . . เขาก็คงจะเคลิ้มกับสิ่งที่อธิบายมาละนะ . . . แต่หากเป็นพวก Engineers หมอ เภสัชฯ เทคนิคการแพทย์ หรือ สายวิทย์ฯ จ๋าๆ อื่นๆ . . . เขามาอ่าน ก็คงจะหัวเราะก๊าก กันละครับ
ถังน้ำมันเครื่องบินไม่มีอัดไนโตรนะครัลไปเอามาจากไหนครับ
@@edition17 fuel tank safety CDCCL หัวข้อ inerting system จ้าลองหาอ่านดูน่ะ
@@jetvonzeppelin6821 ถ้าอย่างนั้นน่าจะขึ้นอยู่กับแบบเครื่องครับ ฟรีทที่ผมอยู่ไม่มีระบบนี้สักลำ ใช้ระบบ Air Vent ปกติหมดครับ
@@edition17 ไม่แปลกครัยกฎของ FAA ไม่ได้บังคับใช้ ทั่วโลก แต่ว่าไปนายทำสายการบินไรอ่ะจะได้ไม่ขึ้น(เพราะใช้ air ไม่มีระบขนี้เนี้ยแหละ)
ไม่ต้องดูดลมออกก่อนก็ได้ แต่ให้เติมN2แล้วปล่อยลมออกสัก 1-2 ครั้งลมในล้อที่เหลือก็น่าจะเป็นN2 ที่เกือบ100%
อยู่ที่ความเชื่อ ความชอบ ความรู้ และตังค์ครับ ทำตามที่ชอบไปครับ
รายการนี้ฮาดี
ชอบช่องนี้มากครับ ติดตามทุกคลิป ผมชอบแนววิทยาศาสตร์ ที่จับต้องได้ ทดลองได้ มีข้อมูลตัวเลขมารองรับ มากว่าใช้ความรู้สึก คิดไปเอง ขอบคุณครับ
เบรคเครื่องบินร้อนมหาศาล เครื่องบินยังใช้แค่ ไนโตรเจน ช่างสรรหามาเติมจริงๆ
ลองเทสเพิ่มโดยการทิ้งล้อไว้สัก 2-3 เดือนแล้วมาค่อยวัดใหม่ครับว่าความดันหายไปเท่าไร
สงสัยเลือกใช้ยางผิด จึงมีปัญหาเรื่องยาง แต่แทนที่จะแก้ปัญหายาง กลับไปแก้ปัญหาที่แก๊สเติมยาง จึงต้องคอยเติมเงินไปเรื่อย ถ้าเลือกใช้ยางดีๆก็จบปัญหาแล้ว
สุดยอดเลย รายการนี้
ถ้าใครขยันเติมลมดุลมบ่อยๆ ก็ใช้ลมธรรมดา ถ้าใครขึ้เกียจนานๆเติมทีก็ ไนโตร มันอยู่ได้นานกว่าจริงๆ ส่วนเรื่องความร้อน การขยายตัวก็ตามคลิปแหละเพราะไม่เคยมานั่งสนใจ
ถ้าอุณหภูมิอ่ะมันไม่ Balance กันครับเพราะว่า 2 ล้อหน้าติดเครื่องยนต์ความร้อนจากเครื่องยนต์มันทำให้ล้อ รวมถึงยางร้น มากกว่าล้อหลังครับผม
ก๊าซอะไรมันจะอยู่ในยางไม่สำคัญ สิ่งเดียวที่สำคัญคือ"ใครอยู่หลังพวงมาลัย" ผมไม่ได้กล่าวไว้
ใคร….
รวย…
เด็กขายพวงมาลัย
เพ้อเจ้อ
ตังในกระเป๋าครับ555
คงเป็น ฮีเรียม ที่กำลัง บ้าพลังโม้กันหนัก . เคยไปแวะอ่าน เห็นอวด เดาล้วนๆ แ่านเเล้ว ขำดีครับ. รอชม นะครับ .เฉลยอะไร
ควรมีการทดสอบลมทั้ง 3 ชนิด 3 คันเติมเท่ากันตอนความร้อนข้างนอกกี่ ° วิ่งสัก 100 กม.อาการที่วิ่งเจอคอสะพานตกหลุมความนิ่มนวลอื่นๆเป็นไงสุดท้ายจอดวัดแรงดันลมในยางแล้ววัดอุณหภูมิเท่าไร ทำสรุปเทียบข้อดีเสีย
สนุกและได้ความรู้เช่นเคย เยี่ยมมากครับ
ล้อขับเคลื่อน กับ ล้อตาม จะมีภาระบนล้อและยางไม่เท่ากันเสมอนะครับ สิ่งเหล่านี้ มีผลต่อเรื่องอุณหภูมิ (การเปลี่ยนแปลงเนื่องจากพลังงานสูญเสียจากแรงเสียดทานและความสูญเสียทางกลต่างๆ เปลี่ยนรูปเป็นความร้อน)
ขอบคุณสำหรับการทดลองครับ มีประโยชน์😊
แท็กติกเดียวครับว่า เราควรเติมหรือไม่ควรเติม Ar หรือ N2 หรือ Air คือ ความคุ้มค่า (Feasibility + Case Study) มันตอบหมดแล้วครับ ส่วนตัว N2 ปกติทั่วไปตามร้านมันเพียงพอแล้วครับ ไม่นิ่มไปกว่ากันสัก 5% หรอก กับ Argon หน่ะ หรืออุณหภูมิเย็นกว่า หรือไม่รั่วออก โฆษณา อธิบายคุณสมบัติแบบหมดคำจะพูดครับ ส่วนใครอยากจะเตมไม่เติมตามสะดวกครับ เงินในกระเป๋า เอาไปกินชาบูดีกว่า ถ้าต้องเติม Ar
ขอคลิปต่อครับพี่ จะได้พิสูจน์ให้หายคาใจไปเลย
อากาศในบรรยากาศมีไนโตรเจน78% เติมลมธรรมดากับลมไนโตรเจนผลไม่ต่างกันอยู่แล้วครับ
เติมอากาศมีน้ำอยู่บ้างก็ไม่แปลกครับ ในล้อเค้าทำมารองรับอากาศอยู่แล้ว ใครอยากจ่ายแพงก็ปล่อยไปครับ ผมเติมฟรียังไม่เติมเลยครับ เสียเวลา
ถ้าประกอบยางเข้ากับหม้อแม็ก ในความคิดผมก็คงมีอากาศอยู่แต่ก็น้อยนิ้ด แล้วลองอัดอากาศต่างๆเข้าไปคับ แต่ถ้าไม่ให้มีอากาศเลยก็ต้องไปประกอบนอกโลก 😂 คับ
รอดู ep2 แบบเพียวๆ คับ
วัดด้านนอกวัสดุเดียวกัน ค่าความชึมชับวัตถุเท่ากัน อุณหภูมิมันก็เท่ากัน ต้องลองวัดอุณหภูมิภายในดู
มีคนเคยทำแล้วครับไฮโดรเจน 100% ล้อเป็นน้ำแข็งเลย
ถ้าไปขับบนดาวอังอาร์น่าใช้ครับ ที่นั้นไม่มีออกซิเจนในล้อยางแน่นอน
อยากดูกาซต่างๆแบบเพียวๆครับ
เข้าใจอะไรผิดป่าวครับ รู้จักอาร์กอนขนาดไหนครับ การเติมลมยาง หรือ Tire Inflation ที่เป็น N2 หรือไนโตรเจน รวมถึง Ar หรืออาร์กอน เหตุเพราะไม่ต้องการให้เกิด Oxidation และ Hydrogenation ภายในยาง เราจะเห็นได้ว่าถ้าเราสูบลมยางอากาศเขาไปเมื่อปล่อยลมยางออกมาเราจะได้กลิ่นแอมโมเนีย ซึ่งแอมโมเนียเป็นสารที่ก่อให้เกิดการเสื่อมแก่โครงสร้างยางได้ แต่ถ้าเราเติม N2 ที่มีความบริสุทธิ์สูง 99.9% หรือเติม Ar 99.9% การก่อปฏิกิริยา Oxidation และ Hydrogenation ก็จะไม่เกิดขึ้นทำไมเวลาเติม N2 ไนโตรเจนต้องทำการ Suction อากาศออก แต่การเติมอาร์กอน Ar ไม่ต้อง Suction อากาศออก ที่ต้อง Suction ลมออกเมื่อเติมไนโตรเจน ก็เพราะความหนาแน่นตัวโมเลกุลของไนโตรเจนมีน้อยกว่า O2 ออกซิเจน เวลาสูบลมไนโตรเจนเข้าไปไม่สามารถไล่ O2 ออกซิเจนได้ ส่วน Ar อาร์กอน เป็นก๊าซที่มีความหนาแน่นสูงกว่า O2 และ N2 เพียงเราปล่อยลมยางอากาศออก ให้มีแรงดันออกให้ต่ำกว่าแรงดันอากาศเล็กน้อย < 14.7 psi แล้วสูบก๊าซ Ar เข้าไปให้ได้แรงดันตามกำหนด แล้วปล่อยลมอาร์กอนออกอีกทีมันจะดันก๊าซ H2 N2 O2 ออกมา เพราะความหนาแน่นต่อโมเลกุลของก๊าซอาร์กอน Ar มีสูงกว่าก๊าซเหล่านี้ แถมขนาดของโมเลกุลก็มีขนาดใหญ่กว่าทำให้สามารถดันก๊าศทั้งหลายเหล่านี้ออกไปหมด การ Suction จึงไม่จำเป็นในการที่จะใช้ Ar อาร์กอนเป็นลมยางตามกฎของก๊าซ ก๊าซที่มีความหนาแน่นกว่า ย่อมมีความแข็งแรงทางโมเลกุลมากกว่า ย่อมมีแรงดันไอที่สูงกว่าก๊าซที่มีความหนาแน่ต่ำกว่า ในที่นี้ก๊าซไนโตรเจนมีค่าแรงดันไอน้อยที่สุด แม้ไนโตรเจนจะมีขนาดโมเลกุลใหญ่กว่าออกซิเจน แต่ความหนาแน่ต่ำกว่า แรงดันไอน้อนกว่า ก๊าซ N2 ก็จะถูกขับดันให้ออกมาเสียมากกว่า ตามก๊าซของก๊าซไม่มีใครบอกว่ารถ Super Car เขาใช้กัน แต่รถที่ใช้ก๊าซอาร์กอน N2 เป็น Tire Inflation คือ Rolls-Royce และ Bentley ตามคู่มือการใช้รถส่วนเรื่องแรงดันลม กับอุณหภูมิ มันมีผลชี้วัดสมรรถนะของรถไม่ได้ เพราะมันมีผลในเรื่องของความหนาแน่นของโมเลกุลธาตุด้วย รวมถึง Molecule Shape ด้วยก่อนที่จะทดสอบเราควรศึกษาข้อมูลทางวิชาการสักนิดครับ เพราะการใช้แรงดันลมยางแต่ละประเภท จริงๆแล้วก็มีค่าแรงดันที่ต่างกัน เช่นลมียางไนโตรเจน N2 ก็ใช้แรงดันไม่เท่ากับลมยางอากาศ เช่นกันลมยาง Ar อาร์กอน ก็ใช้ค่าแรงดันลมยางไม่เท่ากับลมยางอากาศ
Argon มันไล่อากาศเดิมออกไปทางไหนนะครับ เวลาเติมล้อน่าจะมีจุ๊บเดียว
ยางในมอเตอร์ไซค์ครับ พอซื้อมาไม่มีลมด้านใน ใช้ทดลองได้เลย
ติดตามแบบก๊าซเพียวๆครับ
SF 6 ก๊าซเชิงผสม ที่ใช้ในอุตสาหกรรมไฟฟ้า อุปกรณ์ตัดต่อไฟฟ้าแรงสูง กระแสสูง เพื่อดับอาร์ค เป็นก๊าซเฉื่อยไม่ติดไฟ ป้องกันออกซิเดชันได้ดี น่าจะใช้งานได้ดีนะครับ แต่ถ้าอยู่ในสถานะก๊าซ ส่วนผสมจะ ไม่ลงตัวเพราะจุดเดือดต่างกัน การระเหยไม่เท่ากัน
ชอบช่องนี้มากครับ ทดสอบจริง ไม่อิงขายของ เหลือแค่ กรองอากาศ FLEX ที่ยังไม่กล้าลองใช้ 5555
ร้านไหนมีเครื่องดูดบ้างครับอยากไปลองดูดลมออก
รอชม ตอนต่อไปครับ ถ้าดูดออกหมดแล้วเติม จะเป็นไง
เอาแบบง่ายๆเลยนะครับ เครื่องบิน เขากำหนดมาตามคู่มือเลยว่า เติม ไนโตรเจนก๊าซ เท่านั้น
เดี๋ยวนะ ar ถังหนึ่งไม่แพงขนาดนั้น เติมราคา 1000 3 คันก็ซื้อถังใหม่ได้ละเวอร์วังจริง
มันมีค่าดูดลมเก่าออกด้วย
@@nongnong6195 ขอตอบสั้นๆ ราคา vacuum pump 1000กว่าบาท อย่างแพงไม่เกิน 3000บาท เพราะมันไม่ต้องการติดลบอะไรเอาแพงกว่านี้ไวโม้ ค่าไฟต่อรอบล้อแค่นั้นคงไม่เกิน 16 บาท ราคาแก๊ส Ar N2 แต่ N2 50/ล้อ ส่วน Ar 250/ล้อ แพงอะไร~~~~~~~~~~~~ ไม่เข้าใจราคามันก็ควรประมาณ N2 สิ
ที่วัดลมผมนึกว่าร้านปะยางสิบล้อ ที่วัดอุณหภูมินึกว่าไปยืมโรงพยาบาลมาใช้
ความรู้นอกตำรา ทดลองต่อไปครับ
ชัดเจนจริง
คนเค้าเงินเหลือ เงินไม่พอใช้ก็ต้องทำใจ
ep.นี้บันเทิงจริงๆ บันเทิงตั้งแต่การเซ็ตติ้งการทดสอบละ 55555
เติมอะไรมาไม่รู้แฟงๆๆๆๆๆๆ แค่ควันดำ เสียงดัง ถูกชาวบ้านแช่งเหมือนเดิม...
ชอบช่องนี้คับ...สงสัยข้องใจ...ทดลอง..จบ😮😮😮
ดีแต่แพง แพงแต่ดี สรุปคือถ้าจะให้เรียกว่าเทพ ต้องดีและถูก กลับไปเติมลมธรรมดาดีกว่า
ของพวกนี้เอาไว้หลอกคนรักรถจนเกินเหตุครับ รักมากก็หลอกง่ายหน่อย
รายการดี
ใช่ครับ ไม่ได้ดูดลมออกมาทั้งหมด 😊
ยางเครื่องบินโดยสารเติมไนโตรเจน
อบากชมต่อคับ
รอดูก๊าซเพียวครับ
น้ำหนักลงล้อไม่เท่ากัน ขับเคลื่อนล้อหลังอีก ตัวแปรก็แตกต่างแล้ว ทดสอบไปไม่ได้ควบคุมส่วนตัวที่ขยายเยอะที่สุดคือน้ำ ไม่ใช้ก๊าซ
ขำ เทสถอดล้อตากแดด ขับยังไงมีโอกาส ขับหงายล้อนะ คิคิ
ไอนํ้าในยางเป็นตัวที่มีผลที่สุดต่อแรงดันลมยางที่เปลี่ยนแปลงนะครับ ยิ่งอุณหภูมิสูงไอนํ้ายิ่งเพิ่มความดันให้เพิ่มากขึ้นเพราะนํ้าจะเพิ่มปริมาตรได้1600เท่าเมื่อนํ้าเดือด
บางตำราว่า เหตุที่เติมไนโตรเจนเพราะโมเลกุลมันใหญ่กว่าออกซิเจน ช่วยให้ลมรั่วช้ากว่าลมเพียวๆ จริงเปล่าคับ
ขนาดโมเลกุลO2ใหญ่กว่าN2ครับ ไนโตรเจนซึมน้อยกว่าก็ไม่จริงลมยางยิ่งความชื้นสูงยิ่งลดอุณหภูมิยาง เพราะเมื่ออุณหภูมิสูงความชื้นจะทำให้แรงดันยางเพิ่มขึ้น เมื่อแรงดันเพิ่มขึ้นผิวสัมผัสยางจะน้อยลง เมื่อผิวสัมผัสยางลดลงอุณหภูมิก็ลดลง
ขอบคุณครับ และชื่นชมพิธีกรที่ชี้แจงและให้ข้อคิดให้ชาวบ้านทั่วไปได้รู้และเข้าใจ ในด้านพื้นฐานวิศวกรรม P*V/T = ตัวคงที่P คือแรงดันลมในยาง หน่วยเป็นแรงดันใดๆหน่วยหนึ่ง จะเป็น psi เป็น barV คือปริมาตรที่ว่างเพื่อลมหรืออากาศใดๆที่อยู่ภายในล้อยางT คืออุณหภูมิภายในของลมหรืออากาศใดๆยาง ที่อุณหภูมิสัมบูรณ์ ใช้การคำนวนที่ 273+t° โดยที่ t° อุณกภูมิที่ชาวบ้านๆรู้นั้นแหล่ะ บ้านเรานิยมใช้ °C (เซลเซียส)การเพิ่ม(หรือลด)ของอุณหภูมิ แค่ช่วง 10-15°C ก็ไม่ได้ทำให้แรงดันในลมยางลมเปลี่ยนแปลงไปกี่มากน้อย เช่น เพิ่มมาเป็น 15°C แรงดันลมยางก็เพิ่มเพียง (15/273)*100% หรือ 5.5 % หากแรงลมยางเดิมที่ 35 psi แรงดันลมยางเพิ่มขึ้นเป็นเพียง 35*1.055 = 37 psi เท่านั้น หรือเพิ่มขึ้นแค่ 2 ปอนด์ เท่านั้น โดยเสมือนว่าล้อยางมีปริมาตรลมยางคงที่แทบไม่ขยายตัวเลย เพราะการออกแบบล้อยางรองรับส่วนนี้อนู่แล้วตามมาตรฐานกานผลิตไม่ใช่ว่าแรงดันลมยางจะเพิ่มขึ้นมาอย่างมากมายมหาศาลทำให้ล้อยางแตกเสียหายได้
ชอบครับ ทอลองกันจะๆ ตรงไปตรงมาดี 😆 ไอ้ที่ขำพีคสุดๆ คือเติมก๊าซเทพแล้วต้องรอ 24 ชม. ให้โมเลกุลเรียงตัวก่อนใช้งานนี่แหละ ฮาาาา
รอ Ep 2 ครับ .
รอพาท 2 แบบ เพียวๆ ครับ
ผมเคยลองมาเมื่อสามสิบปีก่อน บอกเลยไม่ต่าง ที่ลองเพราะทำธุรกิจเกี่ยวกับก๊าซ
รอชมก๊าซ อาร์กอน ครับ
รอep2ก๊าซเพียวครับ
ต่อให้คุณมี gas N2 99.99 ให้เติม แต่ถ้าคุณเอาอากาศที่อยู่ในยางออกไม่ได้เกลี้ยง เติมไงก็แทบไม่ต่างการจะเอาอากาศออกจนหมดต้องทำ vacuum ซื่งยางจะพังซะก่อน
7:15 อ่านเกจไนโตรเจนใหม่ก็ดีนะ คนอ่านน่าจะพักผ่อนไม่เพียงพอส่วนคนตัดคลิปไม่แน่ใจว่าไม่ได้ดูหรือว่าปล่อยผ่านเพราะขี้เกียจถ่ายทำใหม่
เอานิ้วจิก จุ๊ปลมยางให้ลมออกก็ได้มั้งครับ ไม่ต้องดูดหมดก็ได้ ใช้ๆไปเถอะ มันก็แค่ลมยางรถยนต์
รอดู ep2ครับ
รอดู เพียวๆครับ
ต้องลองก๊าซ อะเซทิลีน😂😂😂
สำหรับผมแทบไม่ต่างกันเท่าไหร่ครับ ดีอย่างเดียวคือบางร้านมีบุฟเฟต์เติมลม มันเลยเหมาะสำหรับผญทำเล็บมา
P1V1/T1 = P2V2/T2 ล้อยางขนาดเท่าเดิม V1=V2 สูตรจะเหลือ P1/T1=P2/T2 ไม่ว่าจะก๊าซอะไร แรงดันเริ่มต้น P1 และอุณหภูมิ T1 เท่ากัน พออุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น T2 แรงดันมันก็เพิ่มเป็น P2 เท่ากันทุกก๊าซ แต่จะแตกต่างกันที่ว่าก๊าซแต่ละตัวอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นช้าหรือเร็วไม่เท่ากันขึ้นกับค่าความร้อนจำเพาะในแต่ละก๊าซ ซึ่งไม่ได้มีนัยสำคัญอะไรเลยเพราะมวลอากาศในยางมีน้อยมากเมื่อเทียบกับตัวยาง
ใช้กับideal gasครับ air n2 ar ค่าน่าจะเข้าใกล้ideal gasมาก
ลองเติมก๊าช co2 ดูครับ ว่าจะเย็นกว่าไหมครับ
Huh?
ถ้าอากอน ไม่แพง ก็อยากลองเติมอยุ่😂
ในแวดวงช่างยนต์นี่เสียงร่ำลือเล่าอ้างมันเยอะมาก แล้วคนทั่วไปไม่รู้ไง ขอบคุณช่องนี้จริงๆที่ออกมาพิสูจน์ให้เห็นกัน
รอชมแวคคั่มเลยครับ
รอดูตอนต่อไปครับ
เรื่องความร้อนไม่มีผลอะไรนะผมว่า ผมคิดแค่ไนโตรเจนมันแห้ง ภายในล้อไม่เป็นสนิม ลมปกติอาจมีน้ำผสมเข้าไป
รู้แค่ว่า ไนโตรเจน กับ อาร์กอน ไม่ติดไฟหรือระเบิดที่1000 องศาเซียลเซียส
จาก คน เคยรวยนะครับ . . . อย่าไปอะไรกับเรื่องรถยนต์ให้มันมากเกินพอดี . . . . เพราะ รถ = ลด . . . . แนะนำให้ทำทุกอย่างเป็นปกติ กับ รถยนต์อย่างที่ คนทั่วไป ปุถุชนเขาทำกัน . . . เอาเวลา กับ เงินทองที่หาได้ ไปช่วยทำให้ชีวิตมีความมั่งคั่งในระยะยาว และ อยู่กับสมาชิกครอบครัวอย่างอบอุ่น จะดีกว่า . . . ว่างมาก . . ก็ควรจะไปช่วยสอนการบ้านลูกบ้าง . . .
มีปมไรป่าว
@@reload5561น่าจะครับ😂😂
จริงที่สุดเลยครับ ลมเทพยางไม่ดีก็ระเบิด ลมเทพเหยียบตัปูก็รั่ว
จริงครับ
จิง เซอวิสไรปกติก็พอละ
ในอดีตยางล้อเครื่องบินก็เติมด้วยอากาศปกติ แต่หลังจากเครื่องบินมีน้ำหนักมากขึ้น เบรคทำงานที่อุณหภูมิสูงขึ้น เกินจุดเดือดของน้ำ ไอน้ำจะขยายตัวรุนแรง ความดันลมยางเพิ่มขึ้นจนเป็นอันตราย จึงมีข้อกำหนดให้เติมลมยางด้วยอากาศแห้ง (dry air) ที่มีความชื้นสัมพัทธ์ไม่เกินร้อยละสิบ ซึ่งไม่สะดวกในการจัดหา จึงมีการอนุญาตให้นำไนโตรเจนมาเติมลมล้อเครื่องบินแทนอากาศแห้งได้ ทำไปทำมาไนโตรเจนจึงกลายเป็นก๊าซมาตรฐานที่ใช้เติมลมล้อเครื่องบินไปโดยปริยาย พ่อค้าหัวใส เห็นว่าล้อเครื่องบินเติมด้วยไนโตรเจนจึงนำมาสร้างภาพว่าเป็นก๊าซวิเศษ ให้บริการเติมล้อรถยนต์ ทั้งที่ในความเป็นจริงไม่มีความจำเป็นแต่ประการใดเลยครับ หลายๆท่านจึงหลงเชื่อด้วยความรักรถ ยอมควักเงินจ่ายเติมไนโตรเจนในล้อรถยนต์กันครับ
ผู้ใช้รถคนไทยโดนหลอกในหลายๆเรื่องมาเป็นเวลานาน จากการที่ไม่ศึกษาหาความรู้ก่อนใช้ เอาแต่ใช้ความเชื่อบวกกับการฟังเค้าเล่ามาซะส่วนใหญ่
มีช่องรายการแบบนี้เกิดขึ้นมา เป็นประโยชน์มากครับ ได้บุญกุศล ทำให้ผู้ใช้รถโดนหลอกน้อยลงครับ
ซื้อรถมา 5 ปี เติมลมธรรมดาตลอด ไม่เคยรั่ว ไม่เคยแตก ทุกวันนี้ยังใช้อยู่ แค่เช็คลมยางทุก 1 เดือน
ลมธรรมดากับไนโตรเจนไม่ต่างกันเลยเรื่องความร้อนแต่อาจต่างเรื่องการซึมในระยะยาวกับคนที่ไม่ค่อยดูแลเรื่องลมยาง แต่ตอนเติมลมผมแนะนำให้เติมตอนร้อน เพราะเวลารถวิ่งไม่ว่ากลางวันกลางคืนยางมันก็ร้อน แล้วคุณจะได้ขับในแรงดันที่คุณต้องการ แต่ถ้าเติมตอนเย็น พอวิ่งไปแล้วร้อนยางคุณจะแข็งขึ้น2-4ปอนด์
ใช้ลมธรรมดาถ้ารู้เรื่องอากาศจะรู้ว่ามันอยู่ทั่วโลกใบนี้เพียงแค่ไนโตเอาอ็อกซิเจนออก แต่ถ้าจะเติมได้ผลจริงๆผมว่าต้องแว็กออกให้หมด รถบ้านๆเติมฟรีตามปั้มดีกว่า
@@น่ะจ๊ะสวัสดี-ฅ5พ ไนโตรเติมบุฟเฟ่ 9บาท shopee เยอะแยะ ทั่วประเทศด้วย ซึมน้อยกว่า
มั่วแหล่ะท่าน
ส่วนตัวแล้วคิดว่า เมื่อสมัย 50 กว่าปีที่ผ่ามาเราเติมลมยางด้วยอะไร ? แล้วมีปัญหาหรือป่าว ของใหม่ย่อมดีกว่า . . . แต่มันมีผลจนกระทั่งจะเป็นนัยยะสำคัญของชีวิตหรือไม่ . . . เราไม่ได้แข่งฟอร์มูลาวัน รถร้อยคัน พันคัน วิ่งจากกรุงเทพ ไปเชียงใหม่ ก้อใช่ว่าจะเติมลมไนโตรเจนเหมือนกันหมดทุกคัน แต่ก้อพร้อมที่จะไปถึงเชียงใหม่ . . . เอาเป็นว่าสะดวกใครสะดวกมัน ส่วนตัวแล้วเจอปั๊มน้ำมันที่จุดเติมลมเสียก้อปวดหัวแล้ว แต่ถ้าจะต้องตะเวนหาร้านเติมลมที่มี ไนโตรหรือ อาร์กอนโดยเฉพาะก้อคงจะมึนไปอีกแบบแหระครับ
จริงๆยางเขาถูกออกแบยมาใช้กับลมธรรมดาอยู่แล้ว ไม่ว่าจะแรงดันหรือความร้อนต่างๆที่เกิดขึ้นขณะขับเขาคำนวณเผื่อมาแล้ว แค่เช็คลมยางตามกำหนด เปลี่บนตามอายุก็เพียงพอแล้ว 😊
ต้องรู้จัก dry air คือ อากาศที่ผ่านการเอาความชื้นออกไปแล้วคุณจะเติม N2 Ar ผลก็ไม่ต่างกันเพราะมันคือก๊าซที่ผ่านกระบวนการดูดควบชื้นออกไปแล้ว จริงๆ O2 บริสุทธิ์ที่ใช้ตามโรงพยาบาล ก็เป็น dry gas แต่ที่ไม่เอามาเติมลมเพราะ O2 เป็นก๊าซตัวทำปฏิกริยา หากไปสัมผัสเชื้อเพลิงและมีความร้อนเหมาะสมจะลุกติดไฟได้ง่าย เขาถึงใช้ก๊าซเฉื่อยแทน สรุปให้เติม dry inert gas เพราะ gas ที่ชื้น ชื้น= น้ำเมื่อร้อนน้ำจะเปลี่ยนสถานะเป็นไอน้ำ และแรงดันก็จะสูงขึ้น
Dry Air ก็แค่ ผ่าน Dryer ครับ . . . ส่วน Dryer จะมีกี่ประเภท นั่นค่อยไปว่ากันในรายละเอียด . . . จะเติมทำไม Dry Air ไร้สาระ เติมลมธรรมดาปกติ ก็พอแล้ว . . . เอาเวลากับเงินที่หาได้ไปทำอย่างอื่นดีกว่า
ชื่นชมพิธีกรที่ชี้แจงและให้ข้อคิดให้ชาวบ้านทั่วไปได้รู้และเข้าใจ
ในด้านพื้นฐานวิศวกรรม P*V/T = ตัวคงที่
P คือแรงดันลมในยาง หน่วยเป็นแรงดันใดๆหน่วยหนึ่ง จะเป็น psi เป็น bar
V คือปริมาตรที่ว่างเพื่อลมหรืออากาศใดๆที่อยู่ภายในล้อยาง
T คืออุณหภูมิภายในของลมหรืออากาศใดๆยาง ที่อุณหภูมิสัมบูรณ์ ใช้การคำนวนที่ 273+t° โดยที่ t° อุณกภูมิที่ชาวบ้านๆรู้นั้นแหล่ะ บ้านเรานิยมใช้ °C (เซลเซียส)
การเพิ่ม(หรือลด)ของอุณหภูมิ แค่ช่วง 10-15°C ก็ไม่ได้ทำให้แรงดันในลมยางลมเปลี่ยนแปลงไปกี่มากน้อย เช่น เพิ่มมาเป็น 15°C แรงดันลมยางก็เพิ่มเพียง (15/273)*100% หรือ 5.5 %
หากแรงลมยางเดิมที่ 35 psi แรงดันลมยางเพิ่มขึ้นเป็นเพียง 35*1.055 = 37 psi เท่านั้น หรือเพิ่มขึ้นแค่ 2 ปอนด์ เท่านั้น โดยเสมือนว่าล้อยางมีปริมาตรลมยางคงที่แทบไม่ขยายตัวเลย เพราะการออกแบบล้อยางรองรับส่วนนี้อนู่แล้วตามมาตรฐานกานผลิต
ไม่ใช่ว่าแรงดันลมยางจะเพิ่มขึ้นมาอย่างมากมายมหาศาลทำให้ล้อยางแตกเสียหายได้
เจ๋งคับ
ส่วนตัวผมไม่ซีเรียสเรื่องลมยางเลย
ยางระเบิด ต้องคิดว่าขับที่ความเร็วเท่าไหร่ล่ะ ผมไม่เกิน150 ไม่เกิน3ชม. แวะปั๊ม ไม่ระเบิดชัวร์
สนิมในล๊อคแม๊ค ไม่สนใจ โครงสร้างมันรับประกันเป็น10ปี ที่มาตรฐาน
ข้อดี เดียว คือ ไม่ต้องเติมลมบ่อย 1ปีเติม 1ครั้ง ประมาณ20000km.
เสริมครับ ข้อดีของไนโตรเจนคือแรงดันภายในล้อจะคงที่หรือซืมออกช้ากว่า (ทดลองด้วยการเติม pure Nitrogen (N2 มากกว่า 98%) จากไนโตรเจนเหลวที่เปลี่ยนสถานะเป็นก๊าซ) ทำให้แรงดันภายในล้ออยู่คงที่ ได้นานกว่าการเติมด้วยลมจากปั๊มทั่วไป ส่วนอาร์กอนไม่แนะนำ เพราะมีราคาแพง
ไม่แพงครับ ตอนนี้ซื้อใช้ในการบวนการผลิตฯ ที่โรงงานอยู่ . . . ราคาไม่แพงอย่างที่เขาเอามาขายหรอก . . . แม้ว่ามันจะแพงในราคาต่อถัง แมื่อเทียบกับ N2 ราคาต่อถังมันถูกมาก เมื่อเทียบกับราคาที่ร้านยางนำมาขายต่อให้คนทั่วไป
ไนโตรเจนแห้งกว่า ไม่มีน้ำผสม ลมปกติอาจมีน้ำปสมเข้าไปล้ออาจเกิดสนิมภายในได้
แสดงว่ายังไม่เข้าใจสาระที่เขาสื่อสาร
คุณต้องแวกคั้มลมในล้อออกให้หมดก่อน ถึงจะเติมไนโตเจนแล้วได้ผลที่น่าพอใจ แต่ทุกวันนี้ เติมไนโตเจนไป ก็ไปผสมกับลมธรรมดาอยู่ดี ผลที่ได้มันแค่การคิดไปเองมากกว่า
สมัย 10 ปีที่แล้ว ก็บ้าเติมไนโตรเจนตลอด ยางต้อง โยโก ad08 ซิ่งสุดเทพสุด.............พออายุมากขึ้น ขับสไตร์ครอบครัว เติมลมธรรมดา แต่เน้นยางนุ่ม ยางใหม่ มิลลิน ตัวท็อป primacy suv ใช้ 4-5 ปีเปลี่ยน
น่าทดลองด้วยยางในรถมอเตอร์ไซ เพราะมันลีบๆไม่มีลมไม่ต้องแวคคั่ม เอามาเติมแก็ส แล้วเอาไปตากแดดดูว่า หลังแก็สได้รับความร้อน แก็สแต่ละชนิด อันไหนมีค่าแรงดันเปลี่ยนแปลงอย่างไร
โอ้ จริงด้วยครับ ยางในมอเตอร์ไซค์ใหม่ 3 เส้น แบนๆเลยไม่มีอากาศ
ใช่ๆๆ 👍👍👍
อยากให้ทดลองเรื่องน้ำมันเครื่องถูก vs น้ำมันเครื่องแพงว่าจะแตกต่างกันอย่างไร
ดันครับ
ปืนวัดความร้อน วัดได้แค่ความร้อน *ผิวยาง
> ใช้เซ็นเซอร์วัดความร้อนลมยาง *ด้านในสิครับ ผมอยากทราบผล
> ถ้าได้กล้องจับความร้อน วัดการแผ่รังสีความร้อนของยางทั้งเส้น จะขอบคุณมากครับ
เห็นด้วยครับ ผมใช้ฟอร์ด อยู่รุ่นที่มีเซ็นเซอร์ ลมยางด้านใน ลมธรรมดา อุณภูมิ ต่าง กับ ไนโตร อยู่ 2-3องศา จริงครับ และ การขยาย ขึ้นอยู่กับอุณภูมิครับ เช่น ไนรโตร เติม35 psi อุณภูมิ40 องศา ขยายไป 2psi เป็น37 psi ถ้าลมธรมมดา ขยายไป39 Psi ครับ
วัด surface มันไม่ได้อะไรเลย
เทียบจาก p-t diagram ก็น่าจะเห็นภาพแล้วนะครับเอาจริงๆ ตั้งแต่เรื่องการทดสอบน้ำยาหม้อน้ำแล้วที่มองแต่จุดเดือดไม่มองค่า htc ของน้ำยาหม้อน้ำ
ผมเติมลมธรรมดามา35ปี ยังไม่เคยยางระเบิดเลย
ยางบางชุดผมใช้ถึง7ปีถึงจะเปลี่ยนใหม่ รอยแตกลายงารอบวงเลย
บางทีเราก็ไม่ต้องไปคิดอะไรเยอะขนาดนั้น
เค้าเติมลมธรรมดากันเกินครึ่งโลกไม่งั้นรถก็ยางระเบิดกันทุกคันเเล้ว
ดูเเลรักษาตามคู่มือญี่ปุ่นเค้าคิดมาก่อนเราซื้อรถซะอีก
ผมเคยร่วมงานกับ บ.แห่ง1นะครับ ยาง ถ้าไม่Overloadเกินเนื้อยางซึ่งบ.เค้าเผื่อFactor3-4เท่าอยู่แล้วไม่มีทางแตกหรือระเบิดครับ ปัจจัยอื่นคือ ยางเสื่อมสภาพหรืออะไรแล้วแต่ ที่เห็นๆคือ ยางหมดสภาพไม่ก้Overload.ครับ ส่วนก๊าซที่เติมถ้าเติมไนโตรบลาๆๆบ้าๆบอๆ แล้วคุณทะลึ่งยางอ่อน ไปเติมปั๊มลมตามปั๊ม=จบ ซึ่งรถใช้งานไม่ใช่รถแข่งเซอกิต ไม่จำเป็นครับเรารถบ้านไม่ใช่รถแข่ง
นี่สิคนรู้จริง ถ้าเติมลมตามกำหนดเปลี่ยนยางตามอายุ เติมลมธรรมดาง่ายกว่า ส่วนคนที่เติมไหนโตร จะเน้นสบายไม่ต้องเติมบ่อยหรือเติมเอง แต่หาที่เติมยากหน่อย และที่สำคัญสิ่นเปลืองเปล่าๆๆ😊
@@ソムマート เห็นเขาบอกว่าส่วนมากจะมีแต่รถสปอร์ต ที่เติมกันใช่ไหมครับ
การทดลองต้องควบคุมตัวแปรให้ดี ผมเห็นว่ายางหน้า กับยางหลัง รับน้ำหนักต่างกัน เวลาเลี้ยว ล้อหน้ารับภาระหนักกว่า ล้อหลัง ดังนั้นการเปรียบเทียบโดยใช้ยางหน้ากับยางหลัง มันน่าจะมีความคลาดเคลื่อน ส่วนล้อซ้ายกับขวา น่าจะยอมรับได้
อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงได้ครับ
แต่ออกซิไดซ์มันน้อยกว่าครับ
แต่ส่วนมาก ตู้เติม ไม่ได้เกิน 90% ขึ้นไป
ไนโตรเจน มีความบริสุทธิ์อยู่ที่สัดส่วน3%ส่วนล้านครับ คือให้มีอ๊อกจิเจนผสมอยู่ได้แค่นั้นคือ3ppm. ผลดีที่เติมคือ กลิ่นลมยางจะไม่เหม็นสาบความชื้น ยางรั่วซึมช้ากว่าลมธรรมดา อีกอย่างผมเติมฟรี เพราะอยู่แผนก. Product plant. มาแต่ปี32
เติมไนโตรครับ ถอดมาล้อสะอาด ไม่มีไอน้ำเกาะ ลดการระเบิดของยางเก่า ยิ่งหน้าฝนเห็นชัดถอดล้อมามีน้ำในล้อสำหรับลมธรรมดา ไนโตรไม่มีหรือถ้าดูดอากาศออกไม่ดีก็ยังมีน้อยครับ การระเบิดของยางเกิดจากความชื้นภายในยาง มันจะขยายตัวมากกว่าอากาศครับ การเติมทดลองครั้งเดียวไม่รู้หรอครับ เพราะมันไม่เห็นใดๆ ไนโตรต้องระยะยาว แต่อย่างช่างบอกต้องหาร้านที่เขาดูดอากาศออกจริงๆ ไม่ใช่ใช้ลมธรรมดาแล้วไปเติมเลยมันไม่เกิดประโยชน์ใดๆครับ
ผมเติมปล่อยทิังๆ สามรอบ ผมของฟรีครับ ก็ผลิตเองเนาะ
ไม่ต้องแวคคั่มออกก็ได้ครับ ใช้วิธีเติมแล้วถ่ายทิ้งเหลือ1bar สัก4รอบ ก็จะเหลืออากาศธรรมดาน้อยมากแล้ว เหมือนกับฟลั่ชน้ำมันเกียร์นั้นล่ะครับ
จากมุมมองของวิศวะเครื่องกล ก๊าซขยายตามอุณหภูมิ ในอัตราที่เท่ากัน ไม่ขึ้นกับชนิดของก๊าซ
ใช่ครับ
นั่นก็ถูก แต่ลมธรรมดาไม่ได้มีแค่ก๊าซบริสุทธิ์น่ะสิ มันมีความชื้นด้วย
ผมแว็คคั่มออกนะ มีผลตามคลิปเลยครับ
ข้อดีที่เห็นชัดเลยตอนเติมไนโตรเจน รถวิ่งทุกวัน เติมเดือนละครั้ง แต่ลมธรรมดาต้องเติมอาทิตย์ละครั้ง
แรงดัน32เหลือ28,29
ผมได้ยินมานานแล่วเติมไนโตรเจนแล้วไม่ร้อน แล้วความร้อนเข้าข้างในเหมือนเดิม รอฝนตกค่อยขับถ้ากลัวยางร้อน
ถ้า ออกซิเจน มันซึมออกได้
ต่อให้เติมลมธรรมดา ใช้ไปสักพัก ออกซิเจนก็ซึมออกเหลือแต่ไนโตรเจนอยู่ดี
เติมลมยาง สำคัญที่ความชื้นในอากาศ ความชื้นคือน้ำเมื่อร้อนขึ้นอัตราการขยายตัวมีมากแรงดันก็จะเปลี่ยนมาก ปั้มลมจะมีการดักน้ำ แต่ได้ผลน้อยเพราะอากาศถูกอัดน้ำจะเปนไอน้ำจึงดักน้ำไม่ได้ แต่ถ้าเปนไนโตรเจนก็จะไม่มีไอน้ำหรือความชื้นอยุ่ ยางแก้มเตี้ยใช้ความดันสูงจึงควรจะใช้ไนโตรเจนเพื่อคุมความดันให้นิ่งขึ้น และรั่วซึมน้อยกว่าลมธรรมดา ถ้าเปนลมธรรมดาเติมตอนอากาศแห้งเช่นหน้าหนาว , ปั้มลมมีเครื่องทำความเย็นลมเพื่อดักไอน้ำก็โอเค
ชนิดของแกสไม่มีผลกับการขยายตัวครับ ถ้าที่เติมไปเป็นกาซอยู่ตลอด
จากสมาการ ม ปลาย PV = nRT.
แต่ถ้าเติมลมธรรมดา(มีความชื้น) ไอน้ำอาจจะควบแน่นเป็นน้ำในยาง ทำให้กาซ(nในสมาการลดลง) แต่อย่างว่าเเหละน้ำเป็นส่วนประกอบในอากาศน้อยมากส่วนที่้ปลี่ยนไปจากตรงนี้จะมีผลไหมก็อีกเรื่อง
แต่การรั่วซึมนี้ไม่ทราบจริงๆครับ
เสริมทปกติที่เติม N2 แทนอากาศ แล้วมีผลจริงๆคือใช้ป้องกันการระเบิดของเชื้อเพลิงครับ อย่างในถังน้ำมันเครื่องบินต้องอันทN2 เเทนอากาศกันไอน้ำมันติดไฟครับ
ใครสอนครับ ? . . ว่าชนิดของแก๊สไม่มีผลต่อการขยายตัวของแก๊สเมือ่อุณหภูมิเปลี่ยนไป . . . . รู้จักสัมประสิทธิ์การขยายตัวของก๊าซไหมครับ? . . .
แหมม่ จะอวดรู้เนี่ย กลับยก PV = nRT เนี่ยนะ . . .
ตลกตายละ ขนาดโมเลกุลและแรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุล ของแก๊สแต่ละชนิดมันเท่ากันหรือครับ? . . . ความหนาแน่นที่ STP ของแก๊สบริสุทธิ์แต่ละตัวมันเท่ากันเหรอ? . . . .
นี่ยังไม่รวมถึง ระดับ Purity ของแก๊ส(เกือบบริสุทธิ์) ที่จะเอามาเติมเด้อ
แต่ก็เกือบดีแล้วครับ . . . หากไม่ใช่คนทำงานในสายงานที่เรียนจบมาสายวิทย์ฯ อย่าง บัญชี จิตกรรม หรือ ครู . . เขาก็คงจะเคลิ้มกับสิ่งที่อธิบายมาละนะ . . . แต่หากเป็นพวก Engineers หมอ เภสัชฯ เทคนิคการแพทย์ หรือ สายวิทย์ฯ จ๋าๆ อื่นๆ . . . เขามาอ่าน ก็คงจะหัวเราะก๊าก กันละครับ
ถังน้ำมันเครื่องบินไม่มีอัดไนโตรนะครัลไปเอามาจากไหนครับ
@@edition17 fuel tank safety CDCCL หัวข้อ inerting system จ้าลองหาอ่านดูน่ะ
@@jetvonzeppelin6821 ถ้าอย่างนั้นน่าจะขึ้นอยู่กับแบบเครื่องครับ ฟรีทที่ผมอยู่ไม่มีระบบนี้สักลำ ใช้ระบบ Air Vent ปกติหมดครับ
@@edition17 ไม่แปลกครัยกฎของ FAA ไม่ได้บังคับใช้ ทั่วโลก แต่ว่าไปนายทำสายการบินไรอ่ะจะได้ไม่ขึ้น(เพราะใช้ air ไม่มีระบขนี้เนี้ยแหละ)
ไม่ต้องดูดลมออกก่อนก็ได้ แต่ให้เติมN2แล้วปล่อยลมออกสัก 1-2 ครั้งลมในล้อที่เหลือก็น่าจะเป็นN2 ที่เกือบ100%
อยู่ที่ความเชื่อ ความชอบ ความรู้ และตังค์ครับ ทำตามที่ชอบไปครับ
รายการนี้ฮาดี
ชอบช่องนี้มากครับ ติดตามทุกคลิป ผมชอบแนววิทยาศาสตร์ ที่จับต้องได้ ทดลองได้ มีข้อมูลตัวเลขมารองรับ มากว่าใช้ความรู้สึก คิดไปเอง ขอบคุณครับ
เบรคเครื่องบินร้อนมหาศาล เครื่องบินยังใช้แค่ ไนโตรเจน ช่างสรรหามาเติมจริงๆ
ลองเทสเพิ่มโดยการทิ้งล้อไว้สัก 2-3 เดือนแล้วมาค่อยวัดใหม่ครับว่าความดันหายไปเท่าไร
สงสัยเลือกใช้ยางผิด จึงมีปัญหาเรื่องยาง แต่แทนที่จะแก้ปัญหายาง กลับไปแก้ปัญหาที่แก๊สเติมยาง จึงต้องคอยเติมเงินไปเรื่อย ถ้าเลือกใช้ยางดีๆก็จบปัญหาแล้ว
สุดยอดเลย รายการนี้
ถ้าใครขยันเติมลมดุลมบ่อยๆ ก็ใช้ลมธรรมดา ถ้าใครขึ้เกียจนานๆเติมทีก็ ไนโตร มันอยู่ได้นานกว่าจริงๆ ส่วนเรื่องความร้อน การขยายตัวก็ตามคลิปแหละเพราะไม่เคยมานั่งสนใจ
ถ้าอุณหภูมิอ่ะมันไม่ Balance กันครับเพราะว่า 2 ล้อหน้าติดเครื่องยนต์ความร้อนจากเครื่องยนต์มันทำให้ล้อ รวมถึงยางร้น มากกว่าล้อหลังครับผม
ก๊าซอะไรมันจะอยู่ในยางไม่สำคัญ สิ่งเดียวที่สำคัญคือ"ใครอยู่หลังพวงมาลัย" ผมไม่ได้กล่าวไว้
ใคร….
รวย…
เด็กขายพวงมาลัย
เพ้อเจ้อ
ตังในกระเป๋าครับ555
คงเป็น ฮีเรียม ที่กำลัง บ้าพลังโม้กันหนัก . เคยไปแวะอ่าน เห็นอวด เดาล้วนๆ แ่านเเล้ว ขำดีครับ. รอชม นะครับ .เฉลยอะไร
ควรมีการทดสอบลมทั้ง 3 ชนิด 3 คันเติมเท่ากันตอนความร้อนข้างนอกกี่ ° วิ่งสัก 100 กม.
อาการที่วิ่งเจอคอสะพานตกหลุมความนิ่มนวลอื่นๆเป็นไงสุดท้ายจอดวัดแรงดันลมในยางแล้ววัดอุณหภูมิเท่าไร ทำสรุปเทียบข้อดีเสีย
สนุกและได้ความรู้เช่นเคย เยี่ยมมากครับ
ล้อขับเคลื่อน กับ ล้อตาม จะมีภาระบนล้อและยางไม่เท่ากันเสมอนะครับ สิ่งเหล่านี้ มีผลต่อเรื่องอุณหภูมิ (การเปลี่ยนแปลงเนื่องจากพลังงานสูญเสียจากแรงเสียดทานและความสูญเสียทางกลต่างๆ เปลี่ยนรูปเป็นความร้อน)
ขอบคุณสำหรับการทดลองครับ มีประโยชน์😊
แท็กติกเดียวครับว่า เราควรเติมหรือไม่ควรเติม Ar หรือ N2 หรือ Air คือ ความคุ้มค่า (Feasibility + Case Study) มันตอบหมดแล้วครับ ส่วนตัว N2 ปกติทั่วไปตามร้านมันเพียงพอแล้วครับ ไม่นิ่มไปกว่ากันสัก 5% หรอก กับ Argon หน่ะ หรืออุณหภูมิเย็นกว่า หรือไม่รั่วออก โฆษณา อธิบายคุณสมบัติแบบหมดคำจะพูดครับ ส่วนใครอยากจะเตมไม่เติมตามสะดวกครับ เงินในกระเป๋า เอาไปกินชาบูดีกว่า ถ้าต้องเติม Ar
ขอคลิปต่อครับพี่ จะได้พิสูจน์ให้หายคาใจไปเลย
จริงๆยางเขาถูกออกแบยมาใช้กับลมธรรมดาอยู่แล้ว ไม่ว่าจะแรงดันหรือความร้อนต่างๆที่เกิดขึ้นขณะขับเขาคำนวณเผื่อมาแล้ว แค่เช็คลมยางตามกำหนด เปลี่บนตามอายุก็เพียงพอแล้ว 😊
อากาศในบรรยากาศมีไนโตรเจน78% เติมลมธรรมดากับลมไนโตรเจนผลไม่ต่างกันอยู่แล้วครับ
เติมอากาศมีน้ำอยู่บ้างก็ไม่แปลกครับ ในล้อเค้าทำมารองรับอากาศอยู่แล้ว ใครอยากจ่ายแพงก็ปล่อยไปครับ ผมเติมฟรียังไม่เติมเลยครับ เสียเวลา
ถ้าประกอบยางเข้ากับหม้อแม็ก ในความคิดผมก็คงมีอากาศอยู่แต่ก็น้อยนิ้ด แล้วลองอัดอากาศต่างๆเข้าไปคับ แต่ถ้าไม่ให้มีอากาศเลยก็ต้องไปประกอบนอกโลก 😂 คับ
รอดู ep2 แบบเพียวๆ คับ
วัดด้านนอกวัสดุเดียวกัน ค่าความชึมชับวัตถุเท่ากัน อุณหภูมิมันก็เท่ากัน ต้องลองวัดอุณหภูมิภายในดู
มีคนเคยทำแล้วครับไฮโดรเจน 100% ล้อเป็นน้ำแข็งเลย
ถ้าไปขับบนดาวอังอาร์น่าใช้ครับ ที่นั้นไม่มีออกซิเจนในล้อยางแน่นอน
อยากดูกาซต่างๆแบบเพียวๆครับ
เข้าใจอะไรผิดป่าวครับ รู้จักอาร์กอนขนาดไหนครับ การเติมลมยาง หรือ Tire Inflation ที่เป็น N2 หรือไนโตรเจน รวมถึง Ar หรืออาร์กอน เหตุเพราะไม่ต้องการให้เกิด Oxidation และ Hydrogenation ภายในยาง เราจะเห็นได้ว่าถ้าเราสูบลมยางอากาศเขาไปเมื่อปล่อยลมยางออกมาเราจะได้กลิ่นแอมโมเนีย ซึ่งแอมโมเนียเป็นสารที่ก่อให้เกิดการเสื่อมแก่โครงสร้างยางได้ แต่ถ้าเราเติม N2 ที่มีความบริสุทธิ์สูง 99.9% หรือเติม Ar 99.9% การก่อปฏิกิริยา Oxidation และ Hydrogenation ก็จะไม่เกิดขึ้น
ทำไมเวลาเติม N2 ไนโตรเจนต้องทำการ Suction อากาศออก แต่การเติมอาร์กอน Ar ไม่ต้อง Suction อากาศออก
ที่ต้อง Suction ลมออกเมื่อเติมไนโตรเจน ก็เพราะความหนาแน่นตัวโมเลกุลของไนโตรเจนมีน้อยกว่า O2 ออกซิเจน เวลาสูบลมไนโตรเจนเข้าไปไม่สามารถไล่ O2 ออกซิเจนได้ ส่วน Ar อาร์กอน เป็นก๊าซที่มีความหนาแน่นสูงกว่า O2 และ N2 เพียงเราปล่อยลมยางอากาศออก ให้มีแรงดันออกให้ต่ำกว่าแรงดันอากาศเล็กน้อย < 14.7 psi แล้วสูบก๊าซ Ar เข้าไปให้ได้แรงดันตามกำหนด แล้วปล่อยลมอาร์กอนออกอีกทีมันจะดันก๊าซ H2 N2 O2 ออกมา เพราะความหนาแน่นต่อโมเลกุลของก๊าซอาร์กอน Ar มีสูงกว่าก๊าซเหล่านี้ แถมขนาดของโมเลกุลก็มีขนาดใหญ่กว่าทำให้สามารถดันก๊าศทั้งหลายเหล่านี้ออกไปหมด การ Suction จึงไม่จำเป็นในการที่จะใช้ Ar อาร์กอนเป็นลมยาง
ตามกฎของก๊าซ ก๊าซที่มีความหนาแน่นกว่า ย่อมมีความแข็งแรงทางโมเลกุลมากกว่า ย่อมมีแรงดันไอที่สูงกว่าก๊าซที่มีความหนาแน่ต่ำกว่า ในที่นี้ก๊าซไนโตรเจนมีค่าแรงดันไอน้อยที่สุด แม้ไนโตรเจนจะมีขนาดโมเลกุลใหญ่กว่าออกซิเจน แต่ความหนาแน่ต่ำกว่า แรงดันไอน้อนกว่า ก๊าซ N2 ก็จะถูกขับดันให้ออกมาเสียมากกว่า ตามก๊าซของก๊าซ
ไม่มีใครบอกว่ารถ Super Car เขาใช้กัน แต่รถที่ใช้ก๊าซอาร์กอน N2 เป็น Tire Inflation คือ Rolls-Royce และ Bentley ตามคู่มือการใช้รถ
ส่วนเรื่องแรงดันลม กับอุณหภูมิ มันมีผลชี้วัดสมรรถนะของรถไม่ได้ เพราะมันมีผลในเรื่องของความหนาแน่นของโมเลกุลธาตุด้วย รวมถึง Molecule Shape ด้วย
ก่อนที่จะทดสอบเราควรศึกษาข้อมูลทางวิชาการสักนิดครับ เพราะการใช้แรงดันลมยางแต่ละประเภท จริงๆแล้วก็มีค่าแรงดันที่ต่างกัน เช่นลมียางไนโตรเจน N2 ก็ใช้แรงดันไม่เท่ากับลมยางอากาศ เช่นกันลมยาง Ar อาร์กอน ก็ใช้ค่าแรงดันลมยางไม่เท่ากับลมยางอากาศ
Argon มันไล่อากาศเดิมออกไปทางไหนนะครับ เวลาเติมล้อน่าจะมีจุ๊บเดียว
ยางในมอเตอร์ไซค์ครับ พอซื้อมาไม่มีลมด้านใน ใช้ทดลองได้เลย
ติดตามแบบก๊าซเพียวๆครับ
SF 6 ก๊าซเชิงผสม ที่ใช้ในอุตสาหกรรมไฟฟ้า อุปกรณ์ตัดต่อไฟฟ้าแรงสูง กระแสสูง เพื่อดับอาร์ค เป็นก๊าซเฉื่อยไม่ติดไฟ ป้องกันออกซิเดชันได้ดี น่าจะใช้งานได้ดีนะครับ แต่ถ้าอยู่ในสถานะก๊าซ ส่วนผสมจะ ไม่ลงตัวเพราะจุดเดือดต่างกัน การระเหยไม่เท่ากัน
ชอบช่องนี้มากครับ ทดสอบจริง ไม่อิงขายของ เหลือแค่ กรองอากาศ FLEX ที่ยังไม่กล้าลองใช้ 5555
ร้านไหนมีเครื่องดูดบ้างครับ
อยากไปลองดูดลมออก
รอชม ตอนต่อไปครับ ถ้าดูดออกหมดแล้วเติม จะเป็นไง
เอาแบบง่ายๆเลยนะครับ เครื่องบิน เขากำหนดมาตามคู่มือเลยว่า เติม ไนโตรเจนก๊าซ เท่านั้น
เดี๋ยวนะ ar ถังหนึ่งไม่แพงขนาดนั้น เติมราคา 1000 3 คันก็ซื้อถังใหม่ได้ละเวอร์วังจริง
มันมีค่าดูดลมเก่าออกด้วย
@@nongnong6195 ขอตอบสั้นๆ ราคา vacuum pump 1000กว่าบาท อย่างแพงไม่เกิน 3000บาท เพราะมันไม่ต้องการติดลบอะไรเอาแพงกว่านี้ไวโม้ ค่าไฟต่อรอบล้อแค่นั้นคงไม่เกิน 16 บาท ราคาแก๊ส Ar N2 แต่ N2 50/ล้อ ส่วน Ar 250/ล้อ แพงอะไร~~~~~~~~~~~~ ไม่เข้าใจราคามันก็ควรประมาณ N2 สิ
ที่วัดลมผมนึกว่าร้านปะยางสิบล้อ ที่วัดอุณหภูมินึกว่าไปยืมโรงพยาบาลมาใช้
ความรู้นอกตำรา ทดลองต่อไปครับ
ชัดเจนจริง
คนเค้าเงินเหลือ เงินไม่พอใช้ก็ต้องทำใจ
ep.นี้บันเทิงจริงๆ บันเทิงตั้งแต่การเซ็ตติ้งการทดสอบละ 55555
เติมอะไรมาไม่รู้แฟงๆๆๆๆๆๆ แค่ควันดำ เสียงดัง ถูกชาวบ้านแช่งเหมือนเดิม...
ชอบช่องนี้คับ...สงสัยข้องใจ...ทดลอง..จบ😮😮😮
ดีแต่แพง แพงแต่ดี สรุปคือถ้าจะให้เรียกว่าเทพ ต้องดีและถูก กลับไปเติมลมธรรมดาดีกว่า
ของพวกนี้เอาไว้หลอกคนรักรถจนเกินเหตุครับ รักมากก็หลอกง่ายหน่อย
รายการดี
ใช่ครับ ไม่ได้ดูดลมออกมาทั้งหมด 😊
ยางเครื่องบินโดยสารเติมไนโตรเจน
อบากชมต่อคับ
รอดูก๊าซเพียวครับ
น้ำหนักลงล้อไม่เท่ากัน ขับเคลื่อนล้อหลังอีก ตัวแปรก็แตกต่างแล้ว ทดสอบไปไม่ได้ควบคุม
ส่วนตัวที่ขยายเยอะที่สุดคือน้ำ ไม่ใช้ก๊าซ
ขำ เทสถอดล้อตากแดด ขับยังไงมีโอกาส ขับหงายล้อนะ คิคิ
ไอนํ้าในยางเป็นตัวที่มีผลที่สุดต่อแรงดันลมยางที่เปลี่ยนแปลงนะครับ ยิ่งอุณหภูมิสูงไอนํ้ายิ่งเพิ่มความดันให้เพิ่มากขึ้นเพราะนํ้าจะเพิ่มปริมาตรได้1600เท่าเมื่อนํ้าเดือด
บางตำราว่า เหตุที่เติมไนโตรเจนเพราะโมเลกุลมันใหญ่กว่าออกซิเจน ช่วยให้ลมรั่วช้ากว่าลมเพียวๆ จริงเปล่าคับ
ขนาดโมเลกุลO2ใหญ่กว่าN2ครับ ไนโตรเจนซึมน้อยกว่าก็ไม่จริง
ลมยางยิ่งความชื้นสูงยิ่งลดอุณหภูมิยาง เพราะเมื่ออุณหภูมิสูงความชื้นจะทำให้แรงดันยางเพิ่มขึ้น เมื่อแรงดันเพิ่มขึ้นผิวสัมผัสยางจะน้อยลง เมื่อผิวสัมผัสยางลดลงอุณหภูมิก็ลดลง
ขอบคุณครับ และ
ชื่นชมพิธีกรที่ชี้แจงและให้ข้อคิดให้ชาวบ้านทั่วไปได้รู้และเข้าใจ
ในด้านพื้นฐานวิศวกรรม P*V/T = ตัวคงที่
P คือแรงดันลมในยาง หน่วยเป็นแรงดันใดๆหน่วยหนึ่ง จะเป็น psi เป็น bar
V คือปริมาตรที่ว่างเพื่อลมหรืออากาศใดๆที่อยู่ภายในล้อยาง
T คืออุณหภูมิภายในของลมหรืออากาศใดๆยาง ที่อุณหภูมิสัมบูรณ์ ใช้การคำนวนที่ 273+t° โดยที่ t° อุณกภูมิที่ชาวบ้านๆรู้นั้นแหล่ะ บ้านเรานิยมใช้ °C (เซลเซียส)
การเพิ่ม(หรือลด)ของอุณหภูมิ แค่ช่วง 10-15°C ก็ไม่ได้ทำให้แรงดันในลมยางลมเปลี่ยนแปลงไปกี่มากน้อย เช่น เพิ่มมาเป็น 15°C แรงดันลมยางก็เพิ่มเพียง (15/273)*100% หรือ 5.5 %
หากแรงลมยางเดิมที่ 35 psi แรงดันลมยางเพิ่มขึ้นเป็นเพียง 35*1.055 = 37 psi เท่านั้น หรือเพิ่มขึ้นแค่ 2 ปอนด์ เท่านั้น โดยเสมือนว่าล้อยางมีปริมาตรลมยางคงที่แทบไม่ขยายตัวเลย เพราะการออกแบบล้อยางรองรับส่วนนี้อนู่แล้วตามมาตรฐานกานผลิต
ไม่ใช่ว่าแรงดันลมยางจะเพิ่มขึ้นมาอย่างมากมายมหาศาลทำให้ล้อยางแตกเสียหายได้
ชอบครับ ทอลองกันจะๆ ตรงไปตรงมาดี 😆 ไอ้ที่ขำพีคสุดๆ คือเติมก๊าซเทพแล้วต้องรอ 24 ชม. ให้โมเลกุลเรียงตัวก่อนใช้งานนี่แหละ ฮาาาา
รอ Ep 2 ครับ .
รอพาท 2 แบบ เพียวๆ ครับ
ผมเคยลองมาเมื่อสามสิบปีก่อน บอกเลยไม่ต่าง ที่ลองเพราะทำธุรกิจเกี่ยวกับก๊าซ
รอชมก๊าซ อาร์กอน ครับ
รอep2ก๊าซเพียวครับ
ต่อให้คุณมี gas N2 99.99 ให้เติม แต่ถ้าคุณเอาอากาศที่อยู่ในยางออกไม่ได้เกลี้ยง เติมไงก็แทบไม่ต่าง
การจะเอาอากาศออกจนหมดต้องทำ vacuum ซื่งยางจะพังซะก่อน
7:15 อ่านเกจไนโตรเจนใหม่ก็ดีนะ คนอ่านน่าจะพักผ่อนไม่เพียงพอ
ส่วนคนตัดคลิปไม่แน่ใจว่าไม่ได้ดูหรือว่าปล่อยผ่านเพราะขี้เกียจถ่ายทำใหม่
เอานิ้วจิก จุ๊ปลมยางให้ลมออกก็ได้มั้งครับ ไม่ต้องดูดหมดก็ได้ ใช้ๆไปเถอะ มันก็แค่ลมยางรถยนต์
รอดู ep2ครับ
รอดู เพียวๆครับ
ต้องลองก๊าซ อะเซทิลีน😂😂😂
สำหรับผมแทบไม่ต่างกันเท่าไหร่ครับ ดีอย่างเดียวคือบางร้านมีบุฟเฟต์เติมลม มันเลยเหมาะสำหรับผญทำเล็บมา
P1V1/T1 = P2V2/T2 ล้อยางขนาดเท่าเดิม V1=V2 สูตรจะเหลือ P1/T1=P2/T2 ไม่ว่าจะก๊าซอะไร แรงดันเริ่มต้น P1 และอุณหภูมิ T1 เท่ากัน พออุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น T2 แรงดันมันก็เพิ่มเป็น P2 เท่ากันทุกก๊าซ แต่จะแตกต่างกันที่ว่าก๊าซแต่ละตัวอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นช้าหรือเร็วไม่เท่ากันขึ้นกับค่าความร้อนจำเพาะในแต่ละก๊าซ ซึ่งไม่ได้มีนัยสำคัญอะไรเลยเพราะมวลอากาศในยางมีน้อยมากเมื่อเทียบกับตัวยาง
ใช้กับideal gasครับ air n2 ar ค่าน่าจะเข้าใกล้ideal gasมาก
ลองเติมก๊าช co2 ดูครับ ว่าจะเย็นกว่าไหมครับ
Huh?
ถ้าอากอน ไม่แพง ก็อยากลองเติมอยุ่😂
ในแวดวงช่างยนต์นี่เสียงร่ำลือเล่าอ้างมันเยอะมาก แล้วคนทั่วไปไม่รู้ไง ขอบคุณช่องนี้จริงๆที่ออกมาพิสูจน์ให้เห็นกัน
รอชมแวคคั่มเลยครับ
รอดูตอนต่อไปครับ
เรื่องความร้อนไม่มีผลอะไรนะผมว่า ผมคิดแค่ไนโตรเจนมันแห้ง ภายในล้อไม่เป็นสนิม ลมปกติอาจมีน้ำผสมเข้าไป
รู้แค่ว่า ไนโตรเจน กับ อาร์กอน ไม่ติดไฟหรือระเบิดที่1000 องศาเซียลเซียส