จริงๆแล้ว อวกาศไม่ได้หนาว? | MLHF x FLET | Heat Transfer in Space

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 14 дек 2024

Комментарии • 58

  • @MLHFmath
    @MLHFmath  26 дней назад +12

    ลิ้งเข้าร่วมกิจกรรม: forms.gle/1CLM75AmF8YEQutT8

  • @chartchair1976
    @chartchair1976 15 дней назад +29

    โทนการเล่าเรื่องเปลี่ยนไปแฮะ ชอบแบบเดิมอ่ะ

  • @korakotpluempreedeewong6509
    @korakotpluempreedeewong6509 14 дней назад +5

    ขอขอบคุณ

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  12 дней назад

      ขอบคุณมากครับ :)

  • @sajak55
    @sajak55 16 дней назад +7

    มีสปอนแล้ว เย้ ๆ

  • @donthave-g9m
    @donthave-g9m 3 дня назад

    ไม่ต้องเปลี่ยนวิธีพูดและน้ำเสียงนะครับ ส่วนตัวผมชอบแบบนี้มันดีแล้ว❤

  • @supojsaneewong6515
    @supojsaneewong6515 14 дней назад +2

    จริง ถ้าเอาน้ำเข้าไป แข็งในพริบตา

  • @panangwong3091
    @panangwong3091 8 дней назад

    พึ่งได้เห็นหน้าเลยครับ รูปกาตูน เหมือนตัวจริง อยู่

  • @อ.เอฟ-จ3ฅ
    @อ.เอฟ-จ3ฅ 4 дня назад

    การแลกเปลี่ยนอุณหภูมิ ถูกขัดขวางสินะครับ

  • @prinf3340
    @prinf3340 11 дней назад +1

    ร่างกายก็มีระบบคูลิ่งนะครับ เส้นเลือดฝอยและต่อมเหงื่อ😊

  • @Crozz_04
    @Crozz_04 11 дней назад +3

    อยากให้ลองทำทฤษฎีเกี่ยวกับแฟคทอเรียวติดลบหน่อยครับ

    • @loveporna
      @loveporna 5 дней назад

      เห็นด้วยครับ

  • @pixelchaaa
    @pixelchaaa 19 дней назад +8

    ผมเคยได้ยินว่า ในอวกาศมันไม่สามารถ ได้ยินเสียงได้ เพราะไม่มีตัวกลาง ให้เสียงเดินทาง แต่ เสียงก็คือคลื่นสัญญาณ หลายระดับมารวมกัน แล้วทำไมคลื่นสัญญาณยังส่งไปหา Voyager 1 ได้ครับ

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  19 дней назад +11

      เสียงคือคลื่นกล ที่เกิดจากการบีบอัดของตัวกลาง (อากาศ)
      แต่คลื่นสัญญาณ จะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่ต้องการตัวกลางครับ

    • @pixelchaaa
      @pixelchaaa 19 дней назад +8

      @MLHFmath ออ ความรู้ใหม่เลย เพราะส่วนมากผมก็ดูจากยูทูปนี่แหละเลยไม่ได้รู้ลึก

  • @ธนนจินดา
    @ธนนจินดา 4 дня назад

    คุุณเคยไปมาแล้วรึมันต้องแสดงให้เห็นเหมือนแก้วที่คุณนำออกมาย ถึงจะน่าเชื่อ เพราะยังไม่มีคนไทยเคยไปที่นั้นมาก่อน

  • @HikaLuces
    @HikaLuces 15 дней назад

    โฆษณาที่ต้องหยุดดูจริงๆ ครับ อธิบายการทำงานกระติกน้ำได้ดีมาก

  • @Luckylucky19977
    @Luckylucky19977 4 дня назад

    ถ้าเราใส่แค่หมวกอากาศ แล้วไปยืนแก้ผ้าในอวกาศ เราก็จะไม่รู้สึกหนาวใช่ไหม .

  • @NutSure
    @NutSure 15 дней назад

    ตาโตเลยนะ😅

  • @zakra2607
    @zakra2607 16 дней назад +1

    สงสัยมานานแล้วครับว่ายานอวกาศทำยังไงถึงไม่โดนสะสมความร้อนจากดาวฤกษ์จนเสียหาย
    แต่ก็ยังไม่หายสงสัย การแผ่รังสีอย่างเดียวมันพอจริงๆเหรอครับ เพราะมันก็ต้องมีพื้นที่ๆได้รับความร้อนเพิ่มเข้ามาตลอด

    • @SONGDANGJEK
      @SONGDANGJEK 16 дней назад +3

      ไม่จำเป็น เพราะรังสีเมื่อยิงใส่วัตถุถ้ารังสีนั้นมีความถี่สูงมากๆจะทำให้อะตอมของวัตถุชนกันและทำให้อุณหภูมิสูงได้คับ

    • @SONGDANGJEK
      @SONGDANGJEK 16 дней назад

      แผ่นวัสดุกันรังสีอันตรายจะป้องกันไม่ให้ยานอวกาศรับความร้อนมากเกินไป ส่วนที่ว่าทำไมยานอวกาศไม่ถูกสะสมความร้อน ก็เพราะว่า ผมไม่รู้เหมือนกัน

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  15 дней назад +2

      ถ้าไม่พอก็ต้องทำให้พอครับ เพิ่มพื้นที่ผิวเข้าไปจนกว่ามันจะแผ่ออกทันน่ะแหละ
      ถ้าไม่งั้นก็ต้องหาทางลดความร้อนขาเข้ามาช่วยด้วย แต่ตัวเลือกก็มีไม่เยอะมากครับ

  • @thekitchen8991
    @thekitchen8991 12 дней назад +3

    คลิปนี้มีคำว่า "เพราะว่า" "หรือว่า" "แต่ว่า" กี่คำครับ

  • @elec4d
    @elec4d 13 дней назад +2

    ชอบเนื้อหานะครับต่เสียงพูดหนักเกินไป พูดห่างไมค์นิดน่าจะทำให้เสียง ดีขึ้นครับ

  • @champzahaoopi5793
    @champzahaoopi5793 13 дней назад

    ผมดีใจกว่าหนาวเพราะผมเห็นหน้าพี่แล้วววว 555
    สงสัยครับว่าถ้าต้องเปลี่ยนอะไหล่บ่อยๆ แล้วทำไมพวก วอยเอเจ้อที่ส่งออกไปหลายทศวรรษ แล้วเป็นเทคเก่ามากๆ มันถึงไม่พัง

    • @hsotnicam09
      @hsotnicam09 6 дней назад

      ตอบแบบกำปั้นทุบดินก็ “ออกแบบให้มันทนตั้งแต่แรก” เพราะระยะเวลาของภารกิจออกแบบไว้ยาวนานหลายสิบปี หลังเดินทางผ่านดาวเคราะห์ชั้นนอก ระบบต่างๆภายของยานเช่น กล้องถ่ายภาพ ก็ถูกปิดลงไปเกือบทั้งหมด เหลือแค่ระบบหลักๆกับตัววัดรังสี ฮีทเตอร์ ระบบสื่อสาร เท่านั้นเอง (ถ้าสั่งให้เปิดใหม่ตอนนี้ก็ไม่มีใครรู้ว่าจะยังใช้งานได้ไหม)

  • @ทิวากรมงคลทอง

    เย้ๆๆ

  • @qwertychanel123
    @qwertychanel123 15 дней назад

    ❤❤❤

  • @oopyesoop6358
    @oopyesoop6358 14 дней назад

    ความรู้ใหม่ติดตามดีไหมนะ

  • @ipadxavier
    @ipadxavier 15 дней назад

    อืมมม ว่าแต่ทำไมแก้วสีดำ 😂 มันควรสีขาวสิ

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  15 дней назад

      ถ้าใช้ในร่มน่าจะไม่เป็นไรครับ 5555555

    • @rajoutzs7148
      @rajoutzs7148 15 дней назад

      @@MLHFmath หลบได้สวย 55555

  • @RachataNo1
    @RachataNo1 6 дней назад

    ไม่ลองถอดถุงมือ

  • @oopyesoop6358
    @oopyesoop6358 14 дней назад

    -200+จิงเหรอเนีย

  • @demox99
    @demox99 24 дня назад

  • @starwar6306
    @starwar6306 11 дней назад

    จริงไหมครับที่นักวิทยาศาสตร์เมื่อก่อนใช้ หลักคณิตศาสตร์ในการคำนวณค้นหาดวงดาวและหลุมดำ แล้วถ้าเป็นจริงทำไมหลักคณิตศาสตร์ถึงสามารถ หาเจอได้ครับ

  • @horizon5420
    @horizon5420 26 дней назад

    🤔🤔🤔

  • @sonexayu77sengkannaly86
    @sonexayu77sengkannaly86 15 дней назад +1

    ไม่เชื่อ

  • @JINLHONGLIJIN
    @JINLHONGLIJIN 6 дней назад

    การใช้เสียง ในการพูด ฟังดูไม่ธรรมชาติ ดูปลอมมาก เหมือนดัดจริต

  • @csnpc
    @csnpc 15 дней назад +17

    แล้วรู้ได้อย่างไรว่าอุณหภูมิในอวกาศ มีค่า - 270 องศาเซลเซียส เพราะนักบินอวกาศเวลาเอาเทอร์โมมิเตอร์ออกไปวัดนอกยาน ทิ้งไว้เป็นชั่วโมงๆ อุณหภูมิ อุณหภูมิยังได้แค่ 10 กว่าองศาเซลเซียสเอง ?? 😂😂😂😂😂😂😂😂😂😂

    • @BurstyBird
      @BurstyBird 15 дней назад +37

      @@csnpc เทอร์โมมิเตอร์ที่นักบินอวกาศใช้ในไม่ได้วัดอุณหภูมิของ "พื้นที่ว่าง" แต่กำลังวัด อุณหภูมิของตัวมันเอง ซึ่งได้รับพลังงานจากแหล่งต่างๆ ในบริเวณใกล้โลก อุณหภูมิที่วัดได้จึงสูงกว่าค่าพื้นหลังของจักรวาลอย่างมาก

    • @BurstyBird
      @BurstyBird 15 дней назад +18

      วิธีที่นักวิทยาศาสตร์ตรวจสอบอุณหภูมิของพื้นที่ว่างในอวกาศ :
      1. การตรวจจับรังสีไมโครเวฟพื้นหลัง
      ในปี 1965 นักวิทยาศาสตร์ Arno Penzias และ Robert Wilson ตรวจพบรังสีไมโครเวฟที่มาจากทุกทิศทางในจักรวาล รังสีนี้สอดคล้องกับอุณหภูมิประมาณ 2.7 เคลวิน (-270.45°C) ซึ่งเป็นผลจากการที่จักรวาลขยายตัวและพลังงานที่เหลือเย็นลงตามเวลา
      2. การใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ที่แม่นยำ
      ดาวเทียมเช่น COBE, WMAP และ Planck ได้วัดรังสี CMB อย่างละเอียดมากขึ้น พบว่าอุณหภูมินี้มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยในระดับ 0.00001 เคลวิน ซึ่งช่วยยืนยันความเที่ยงตรงของค่าดังกล่าว
      3. ทฤษฎีฟิสิกส์ที่สนับสนุน
      กฎของเทอร์โมไดนามิกส์ระบุว่าในพื้นที่ว่างเปล่าที่ไม่มีแหล่งพลังงานใกล้เคียง วัตถุจะค่อยๆ เย็นลงจนถึงอุณหภูมิสมดุลกับรังสีที่แผ่ออกมาจากจักรวาล นั่นคือ ~2.7 เคลวิน
      Credit ของทั้ง 2 Reply มาจาก ChatGPT ครับ
      ปล.ผมชอบคำถามนี้นะครับ ❤

    • @watching9239
      @watching9239 15 дней назад +7

      ต้องเข้าใจก่อนครับว่าอุณหภูมิมันเป็นเรื่องเทอร์โมไดนามิกส์ซึ่งเกี่ยวข้องกับการถ่ายโอนความร้อน
      มี3รูปแบบ นำความร้อน พาความร้อน และ แผ่รังสี
      บนโลกเรามีทั้ง3รูปแบบเลย
      การจะวัดอุณหภูมิบนโลกโดยปกติที่เราเห็นบ่อยๆคือเทอร์โมมิเตอร์ใช่มั้ยครับ
      บนโลกเรามีอากาศอยู่ซึ่งเป็นตัวกลางสำคัญที่ทำให้เกิดการนำความร้อนและพาความร้อนได้ เทอร์โมมิเตอร์ที่อาศัยหลักการถ่ายโอนความร้อนทั้ง2แบบนี้จึงทำงานได้ปกติ วัดค่าได้ถูกต้อง
      แต่กลับกันครับ ในอวกาศมันไม่มีอากาศที่เป็นตัวกลางในการถ่ายโอนความร้อนเลย เทอร์โมมิเตอร์มันจึงวัดค่าไม่ได้หรือทำงานผิดเพี้ยนไป
      การวัดอุณหภูมิในอวกาศจึงต้องใช้วิธีอื่นครับ
      ใช้หลักการแผ่ความร้อนที่มันไม่ต้องอาศัยตัวกลาง
      เช่นการวัดด้วยรังสีอินฟาเรด

    • @Jet-xb2oy
      @Jet-xb2oy 15 дней назад +20

      เป็นการแสดงระดับของวิสัยทัศน์ และการศึกษาได้ชัดเจนดีมากครับ

    • @bznoi1967
      @bznoi1967 15 дней назад +2

      @@Jet-xb2oy ถูกใจมากครับ