Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
หม่อมเจ้า ถึงจะประสูติมาสูงส่ง แต่ก็มีลำดับ ว่า จากหม่อมคนไหน หม่อมชายาเอกหรือเปล่า และเมื่อเติบโตขึ้น ก็จะได้พระราชทานเสกสมรส ตาม ชาติกำเนิด ยศถาบรรดาศักดิ์ ของมารดา ถ้ามารดา เป็นชายาเอก เป็นหม่อมเจ้า เหมือนบิดา คู่สมรส ก็จะถูกเลือกได้ชาติตระกูลดี ผู้ลากมากดี ส่วนหม่อมเจ้า ลูก ชายารอง หรือหม่อมห้าม เวลาถึงเวลาเสกสมรส ก็จะได้ คู่ ที่ลดหลั่น กันลงมา ยุคนั้น การแบ่งลำดับชั้น มีมานานแล้ว เกิดมา ก็ถูกเลือกคู่ไว้แล้ว ตามความเหมาะสมของฐานะ ชาติตระกูล
เป็นอย่างที่คุณบอกมาทุกประการเลยค่ะ
ชอบเสียงมากๆฟังลื่นหู นอนหลับสบาย Admin ช่วยทำคลิป เรื่องอดีตในวัง ซึ่งคนรุ่นหลังไม่เคยรู้ เป็นเรื่องที่ชวนฟัง ได้ความรู้ติดตัวรากเหง้าของตนเอง ขอบพระคุณมากๆครับผม
“การอบรม” ไม่ใช่ “ความอบรม” สังเกตว่าคนรุ่นใหม่ชอบใช้ความกับทุกอย่าง แม้แต่คำกริยา ซึ่งไม่ถูกหลักภาษาค่ะ มันเป็นเทรนด์สแลง ใช้แบบไม่ทางการกับเพื่อนก็เหมาะสม แต่ในที่นี้ไม่เหมาะสมค่ะ ส่วนเนื้อหาดีนะคะ อันนี้ชื่นชมค่ะ
ไม่ได้กวนประสาทค่ะ แต่ขอสอบถามจริง ๆ เพราะไม่รู้ว่า "การ" กับ "ความ" ใช้ยังไง เมื่อไรอ่ะคะ
@@JiJi13598 เราตอบสองรอบพร้อมลิ้งค์แล้วคอมเม้นต์มันหายไปค่ะ งง ไม่รู้เพราะแนบลิ้งค์หรือเปล่า ยังไงลองหาดูบนเน็ตนะคะมีอธิบายไว้ หลักๆภาพใหญ่คือ การใช้กับรูปธรรม อากัปกิริยา ความใช้กับนามธรรมค่ะ
@@Asplera ขอบคุณค่ะ เท่านี้ก็พอคิดต่อยอดได้แล้ว ขอบคุณมากนะคะ
คุณมุก..เก่งจังเลยครับ
ขอบคุณค่ะดิฉันก็ใช้สับสนมาตลอดเลย
การศึกษาปัจจุบันบ้านเรา ก็ยังเหมือนเดิมครับ
ตอนนี้ก็ยังเรียน แก้วกับกล้า ตามารถไฟ 55
ทำไมพูดอย่างนั้นเหรอคะ
นั่นนะซิการเรียนต้นๆก็เป็นการเรียนที่ทดสอบเด็กๆว่ามีทักษะในแนวไหนที่จะรับรู้ในสิ่งที่เรียนเหมือนๆกัน ต่อจากนั้นเด็กๆก็จะเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมที่ต่างกัน และมา
พวกเนรคุณ ดูหมิ่นบ้านเกิด สิ่งไม่มีจะเข้าตัวนะไม่ช้าก้เร้ว
@@ThaiHistory แอดคะ เขาอาจจะหมายถึงระบบการศึกษาไทย ที่ภายในย่ำแย่เน่าเฟะทั้งการสอนทั้งการสอบ ( ยิ่งต่างจังหวัด การสอนจะคนละม้วนกับในเมืองเลย ) จนเด็กๆต้องหาที่เรียนพิเศษ ไม่ได้เข้าถึงเด็กเท่าที่ควร ( ปัจจุบันอัตราเด็กที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ มีมากจนน่าตกใจ ) และมีความเหลื่อมล้ำสูง ยิ่งมีเงิน + คอนเนคชั่น เส้นสาย เท่าไหร่ ก็ยิ่งมีโอกาสได้ที่ดีๆ ไม่ว่าจะที่เรียนหรือทำงาน ยิ่งมีขีดความสามารถในการแข่งขัน ทั้งเรื่องเรียนหรือทำงาน มากกว่าคนอื่น ยิ่งสามารถหาคนเก่งๆมาสอน เพิ่มศักยภาพได้มากขึ้น ยิ่งมีโอกาสลองผิดลองถูกมากกว่าใครเขาอาจหมายถึงแบบนี้ก็ได้นะแอด
มันก็พัฒนาไปตามยุคตามสมัย เดี๋ยวอีกร้อยปีข้างหน้าสิ่งที่เราทำอยู่ปัจจุบัน คนรุ่นนั้นก็อาจจะมองว่า ล้าหลังจังสมัยนั้น 😅😅😅
อาจารย์เราเคยบอกว่า เค้าไม่ให้คนเรียนอะไรที่เป็นความรู้มากเท่าไร เพราะมันทำให้ปกครองยากค่ะ อาจารย์บอกว่า ก็องค์ความรู้แต่ละด้าน ลงท้ายด้วยคำว่า "ศาสตร์" เช่น วิทยาศาสตร์ ศิลปศาสตร์ นิเทศศาสตร์ ฯลฯ คำว่า "ศาสตร์" มันก็มาจากคำว่า "ศาสตรา" ที่แปลว่าอาวุธ เขาถึงพูดกันว่า "ความรู้" คืออาวุธ การให้คนไหนเรียนให้คนไหนมีความรู้ ก็เหมือนเอาอาวุธไปมอบไว้ให้เค้าแหละค่ะ สมัยโบราณเลยไม่ค่อยให้คนได้เรียนหนังสือกัน
....อาจารย์ท่านไปเอามาจากไหนนั่น น่ารักดีจังค่ะ 555
โหหห ชอบข้อความนี้มากครับ มันดูสวยมาก ในสมัยก่อนสยามไม่มีโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย ต้อวเรียนที่วัด ซึ่งที่พระสอนส่วนใหญ่ก็เป็นพวกการอ่าน การเขียนภาษาไทย แต่ศาสตร์อื่นๆนั้นไม่มีเลย ความทันสมัยในยุคนั้นมักจะอยู่ในวังทั้งหมด อยากเรียนศาสตร์อื่นๆ ต้องเข้าไปในวัง ซึ่งลูกตาสีตาสาคงไม่มีปัญญาได้เข้าไปครับ แล้วสยามในยุคก่อนๆ มีการแบ่งชนชั้น แม้จะไม่ได้เข้มงวดแบบที่อินเดีย คนชนชั้นไพร่ธรรมดาๆ ชาวนา ชาวสวน ต่อให้ได้เรียนหนังสือในศาสตร์ชั้นสูง ก็ไม่มีโอกาสได้เอาไปใช้ ความเพราะศาสตร์มันเหมาะกับชนชั้นปกครองจริงๆ คนธรรมดาๆ ไม่สามารถเข้ามามีส่วนในการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาประเทศได้ ความห่างของชนชั้นมีมากจนเกินไป
จริงๆถ้ามองในด้านปกครองการที่ประชาชนไม่รู้หนังสือก็ไม่ต่างจากคนที่ไม่มีความคิด บอกอะไรไปก็ต้องเชื่อฟังคนแบบนี้สิคะถึงปกครองง่าย
@@pinocchiolala159 เรียนของสมัยก่อนกับสมัยนี้มันต่างกันค่ะ ถามว่า ไอ้ที่เรียนกันทุกวันนี้ ได้ใช้มั้ย? วิทยาศาสตร์ เคมี ชีวะ ฟิสิกส์ พีทาโกรัส ....ศาสตร์ทั้งหลาย จบมาแล้ว ใช้ไปเท่าไหร่ ตอนเรียนก็ท่องแค่สอบเพื่อผ่าน ซึ่งหาสาระไม่ได้ แต่ดูดี เหมือนมีความรู้ไว้ประดับสมองน้อยๆ ให้ได้ภาคภูมิใจ ส่วนสมัยก่อน ครอบครัวไพร่ก็เรียนรู้อย่างไพร่ วิธีปลูกข้าว ทำนา ดูแลบ้านเรือนแบบไพร่ เจ้านายก็เรียนรู้กิจของเจ้านาย เพราะสมัยนั้น มีลูกมีหลานเขาก็สอนให้ความรู้ตามฐานะครอบครัว เพื่อทำงานสานต่อกิจการ สานต่อวอถีชีวิตตามรอยพ่อแม่ ปู่ย่าตาทวด ซึ่งเป็นการ เรียนรู้ที่ใช้ได้จริง น่าอิจฉาว่าเด็กยุคนี้เยอะคะ หมดเวลากับการเรียนในห้องไปถึง 1/4 ของชีวิต แทนที่จะเอาไปทำอย่างอื่น
@@nannan2526 ไม่รู้ค่ะ ตอนนั้นสมัยเรียน ป.ตรีเลยค่ะ วิชาการสื่อสารในวัฒนธรรมไทย อาจารย์สอนมาแบบนี้
ยอดเยี่ยมค่ะ
ฉันชอบ ตอนชีเล่า อารมณ์เหมือนเพื่อนกระเทยขาเมาส์❤️
นี่เป็น concept ของฉันเลยค่ะ เอามาเล่าสู่กันฟังแบบเพื่อน
เดี๋ยวนี้แม่บ้านพลาสติกค่ะ... เวลาหนูยุ่งมาก แบบว่าเวิร์คกิ้งวูแมน... กับข้าวถุงโลดค่ะ... แต่ถ้าว่าง จริงๆ ก็จะสะบัดตะหลิวทันที กลัววิชาอาหารที่แม่ถ่ายทอดไว้ จะ หายหมด 😁
ขอบคุณค่ะขอบคุณ
ฟังวิถีชาววัง ตอนที่ 1 แอดมินเล่าชัดเจนแจ่มแจ้งเหมาะสมทั้งการออกเสียง,ภาพประกอบ ความบันเทิงและความรู้ประวัติศาสตร์ *_ชอบ+สนับสนุน_* *_ติดตาม+เป็นกำลังใจให้_* *แอดมิน* *เรื่องแซ่บๆในประวัติศาสตร์*👌😊🏆🎦👄🎁💵💰💯💖😀👍
ขอบคุณนะคะคุณ kitty วิถีชาววังนี้มีคนขอดิฉันมาหลายครั้งแล้วแต่ดิฉันยังไม่มีข้อมูลที่ครบเลยเอามาเล่ายังไม่ได้ ตอนนี้มีแล้วก็เลยลุยหลายเทปเลยค่ะ
@@ThaiHistory ขอบคุณ *แอดมิน* รักและชื่นชม 💯💖😊
รากเหง้าของวัฒนธรรมไทยก็มาจากวิถีชีวิตความเป็นไปของชาวบ้านไทยในชนบท ค่อยปรับไปตามความเหมาะสม ชื่นให้ที่หนูนำเสนอฟังเพลิด อักขระก็เยี่ยม มีความสุขมากที่ฟัง ชื่นใจค่ะ
ขอบคุณค่ะคุณพี่ดิฉันยังต้องปรับตัวและปรับการออกเสียงอีกมากแต่เป็นอะไรก็ไม่รู้ตอนพูดมันก็ปรับยากจริงๆ
@@ThaiHistory กำลังใจให้เต็มไปนะค่ะ
วันที่แม่พลอยไปถวายตัวให้เสด็จ เป็นวันพุธเจ้าค่ะ
ถูกต้องแล้วค่ะคุณขา
แม่พลอยถวายตัววันพุธ
คุณถูกต้องแล้วค่ะ
"...ฉันน่ะไม่เคยขี้เหนียวหรอก แต่เห็นเสียแล้ว เมื่อเวลาฉันมีบุญน่ะ ล้วนแต่มาห้อมล้อมฉันทั้งนั้นแหละ เวลามีงานมีการอะไร ฉันก็ช่วยเต็มที่ไม่ขัด แต่พอฉันตกก็หันหนีหมด ไปเข้าตามผู้มีบุญต่อไป ฉะนั้นฉันจึงตัดสินใจไม่ทำบุญกับคนรู้จัก แต่จะทำการกุศลทั่วไปโดยไม่เลือก"
😁😁😁😁
ชอบที่แอดเล่ามากเลยค่ะ เห็นภาพในสมัยก่อนชัดเจนมาก ส่วนตัวชอบละครเรื่องสี่แผ่นดินมากค่ะเพราะนำภาพการใช้ชีวิตของคนสมัยก่อนมากๆค่ะ
อยากให้มีคนมารีเมคละครสี่แผ่นดินอีกแต่คิดว่าอาจจะไม่ถูกจริตคนสมัยใหม่เพราะต้องการอะไรอย่างรวดเร็ว
@@ThaiHistory นั่นสิคะแอดมิน ส่วนตัวชอบละครแนวนี้ค่ะคือได้ความรู้รอบตัวจริงๆไม่มีเรื่องตบตีให้วุ่นวายใจค่ะ
ติดตามค่ะ ชอบเสียงบรรยายของแอดฯ ชัดเจน น่าฟัง
ขอบคุณนะคะที่ชอบสุรเสียงของดิฉัน
ชอบครับคุณพี่ เรื่องชาววังบทที่1มีสาร แลแก่นสารมากๆ
ดีใจจังเลยค่ะที่คุณชอบ
มาแล้ว อันแรกเข้าไม่ได้เห็นบอกติดลิขสิทธิ์ ขอบคุณคะแอด
ใช่แล้วค่ะอันแรกศาสดา RUclips แบน
ชอบฟังยาวๆแบบนี้ค่ะขอบคุณค่ะแอด
จัดให้ตามคำขอเลยค่ะ ยาวๆ
คนธรรมดาสามัญสมัยนั้นไม่ได้เรียนเท่าไรนอกจากต้องบวชเรียน จนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475 ผู้คนถึงเท่าเทียม
ถูกต้องแล้วค่ะคุณ
ไม่นะ เพราะก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง ร.5 และ ร.6 ท่านก็เริ่มต้นวางรากฐานการศึกษาเพื่อคนทั่วไปแล้ว ถ้าไม่จริง จะเกิดมีพวกคนสามัญได้ทุนไปเรียนแล้วกลับมาทำเรื่องเปลี่ยนแปลงเหรอ
มารัวๆเลยค่ะแอด ชอบฟังมากเวลาทำงานไปฟังไปเพลินมากค่ะ^^
นึกว่าชอบฟังก่อนนอนเสียอีก
วันจันทร์ค่ะ
วันพุธค่ะคุณขา
กดไลท์แล้วนะครับ.คุณน้อง..
ขอบคุณค่ะคุณพี่คุณพี่อยากเป็นชาววังไหมคะ
@@ThaiHistory เป็นคนบ้านนอกครับ.แต่ถ้าได้เมียชาววัง.คงจะเรื่องเยอะมิใช่น้อย..
@@Pex.2468 555
วันพุธค่าาแอดด
ถูกต้องแล้วค่ะน่ารักที่สุด
การศึกษาของผญ.ไทยได้เริ่มเล่าเรียนเขียนอ่านแบบจริงจังก็คือเริ่มสมัย ร.5 ใช่มั้ยคะแอด ถ้างั้น ผญ.ตั้งแต่สมัย สุโขทัย อยุธยานี่คือไม่รู้หนังสือเลยสิคะ 😭😭😭
ผู้หญิงไม่รู้หนังสือเลยค่ะถ้าจะรู้หนังสือก็ต้องเข้ามาอยู่ในวังเท่านั้น
ไม่ใช่ค่ะ ผู้หญิงที่รู้หนังสือมีมานานแล้ว แต่ถ้าเป็นหญิงชาวบ้านอ่ะไม่รู้ เพราะถึงรู้ก็ไม่ได้ใช้ แถบอุษาคเนย์ผู้หญิงเรามีอิทธิพลเหนือผู้ชาย ไม่เหมือน ฝั่งตะวันตก กับ ตะวันออกอย่างพี่จีน สมัยโบราณก่อนยุคกรุงศรี สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 ของอาณาจักรขอม มีบันทึกของจีนกล่าวถึงสตรีในราชสำนักว่ามีความรู้ด้านโหราศาสตร์ การปกครองดี แถมมีอำนาจ รับราชการมีตำแหน่งสูง อยุธยาเราสตรีที่รู้หนังสือก็คงจะระดับเดียวกับ แม่หญิงการะเกดขึ้นไป อีกคนเลยก็ พระนางจามเทวีผู้ก่อตั้งราชวงศ์หริภุญชัย คติที่ว่าผู้หญิงโดนกดขี่เพิ่งมามียุคหลังค่ะ ข้อสังเกต พระแม่โพสพ พระแม่คงคา แม่ย่านาง ....หรือแม้แต่การเข้าทรงลงเจ้า ก็มีแต่ผู้หญิง สมัยก่อน เขานับสายเลือดทางแม่ด้วยซ้ำค่ะ ปล.ลืมแนะนำอีกคน เพิ่งอ่านเจอเมื่อไม่นาน พระองค์เจ้าหญิงบุตรีค่ะ เป็นเจ้าสำนักการศึกษาของเจ้านายสมัยรัตนโกสินทร์ยุคแรกๆ รบกวนแอดหาประวัติมาเล่าจะได้อรรถรสดีค่ะ ชอบเสียงแอด
@@nannan2526 ขอบพระคุณสำหรับคำอรรถาธิบายมากนะคะ ข้อสงสัยคือผู้หญิงในอดีตก่อนสมัย ร.5 เรียนหนังสือที่ไหน?ใครสอน แต่สำหรับผู้ชายก็คงเรียนที่วัดเรียนกับพระตามที่เคยเข้าใจมาน่ะค่ะ
@@pusdeeak4959 พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ญาติ เขาสอนกันเองในกลุ่มแหละค่ะ เพราะไม่ได้มีโรงเรียน ก่อนรัชกาลที่ 5 ก็พระองค์เจ้าหญิงบุตรีเลยค่ะ เป็นคนสอนเหล่าเจ้านาย รวมถึง รัชกาลที่ 5 เองสมัยทรงพระเยาว์ก็เรียนหนังสือกับพระองค์เจ้าหญิงบุตรี ☺️ หากสมัยโบราณผู้หญิงไม่รู้หนังสือ คงไม่มีการเขียนเพลงยาว จีบกันหรอกคะ
กรี๊ดในที่สุดแอดก็ทำวิถีชาววังแล้ว ชอบที่แอดฟังเสียงของแฟนๆเลิฟๆนะคร้าบ
ดิฉันฟังทุกเสียงอ่ะค่ะเพียงแต่ว่าตอนที่ฟังนั้นเรามีข้อมูลหรือเปล่าถ้ายังไม่มีดิฉันก็ยังไม่เล่าเพราะเล่าแล้วมันไม่มีสาระครบถ้วนก็ไม่ดีนะคะคุณ
จริงๆเราชอบนะคะความปราณีตสวยงาม แต่ถ้าให้มาทำตอนนี้เราต้องบ้าแน่ๆ เพราะทุกอย่างสโสว์และเยิ่นเย้อไปหมด😅 โรงเรียนในวังคงเคร่งน่าดูนะคะ
admin ก็เห็นเหมือนกันค่ะถ้าทำอะไรช้าๆเรียบๆ admin คงทนไม่ไหวขนาดไปลองเล่นโยคะแล้ว admin ขอเปลี่ยนไปเต้นแอโรบิคดีกว่า
ขอบคุณที่นำเรื่องแซ่บๆมาเล่าให้ทุกคนฟังนะคร้าบ
จริงๆเรื่องนี้ไม่ค่อยแซ่บเลย ค่อนข้างที่จะละมุนละไม
ต้นรัตนโกสินทร์ยังไม่มีร.รเขาก็เรียนรู้อย่างอื่นในชีวิตประจำวันไม่ใช่การศีกษาตกต้ำ
ที่คุณพูดก็ถูกเช่นกัน
เธอจ๋า ทำ เรื่อง ตำหนัก ทรงประเคน สิ อยากฟัง
ดิฉันเพิ่งได้ยินชื่อตำหนักนี้ก็จากคุณพี่นั่นแหละมันเป็นยังไงเหรอคะอธิบายเพิ่มได้ไหม
ตำหนักที่คอยดูแลประกอบพระกระยาหาร สำรับหวานคาวขึ้นถวายแด่พระเจ้าอยู่หัว หรือที่เรียกว่า ห้องเครื่องเจ้าสาย มาจากพระนามของพระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ในล้นเกล้า ร.5
นางบำเรอ..คสวโลย์กีสีไทยแลนด์.
🥹🥹🥹
admin คะและเราเนี่ยเป็นคนชั้นในวังน่าจะอยู่ชั้นกลางเนาะ
ถ้าเป็นแอดมินคิดว่าคงจะอยู่ในชั้นสูงนะค่ะ เพราะว่าแอดมีความสามารถเฉพาะตัวเยอะคงได้เป็นคุณท้าวนางนะค่ะ
@@ThaiHistory เห็นด้วยเห็นด้วยแอ๊ดเป็นคนมีความสามารถ
วันพฤหัสเหรอคะ ดูสีโจงไม่ค่อยออก แหะๆ
คำตอบคือวันพุธค่ะ
@@ThaiHistory ขอบคุณค่า
ตะกูลนี้ปี้เก่ง
สมัยก่อนมีเจลใส่ผมด้วยหรอคับ?!?
สมัยก่อนไม่มีเจลหรอกค่ะแต่มีน้ำมันเขาก็ใช้น้ำมันแต่งผม
น่าจะเป็นวันพุธมังคะ
ถูกต้องแล้วค่ะเป็นวันพุธนั่นเอง
พระฤาสาย - อ่านว่า พระ-รือ-สาย ไม่ใช่ หรือ นะครับ
คำนี้แปลว่าอะไรหรือคะ
@@ThaiHistory ฤาสาย เป็น คำเรียกผู้เป็นใหญ่เช่นกษัตริย์ ครับ
และมาปรับใช้ให้ถูกอัธยาศัยของตนเอง แล้วเลือกที่จะเรียนวิชาสาขาอะไรก็ตามนั้น
ถ้าให้แอดมินเลือกอยากจะเรียนทำน้ำอบน้ำปรุงค่ะ
ชอบสไตล์การเล่าเรื่องของแอดค่ะเข้าใจง่ายลึกซึ้ง
ขอบคุณค่ะที่ชมดิฉันเล่าสู่กันฟังเหมือนเพื่อนเม้าท์กันหลังเลิกงานน่ะค่ะ
หม่อมเจ้า ถึงจะประสูติมาสูงส่ง แต่ก็มีลำดับ ว่า จากหม่อมคนไหน หม่อมชายาเอกหรือเปล่า และเมื่อเติบโตขึ้น ก็จะได้พระราชทานเสกสมรส ตาม ชาติกำเนิด ยศถาบรรดาศักดิ์ ของมารดา ถ้ามารดา เป็นชายาเอก เป็นหม่อมเจ้า เหมือนบิดา คู่สมรส ก็จะถูกเลือกได้ชาติตระกูลดี ผู้ลากมากดี ส่วนหม่อมเจ้า ลูก ชายารอง หรือหม่อมห้าม เวลาถึงเวลาเสกสมรส ก็จะได้ คู่ ที่ลดหลั่น กันลงมา ยุคนั้น การแบ่งลำดับชั้น มีมานานแล้ว เกิดมา ก็ถูกเลือกคู่ไว้แล้ว ตามความเหมาะสมของฐานะ ชาติตระกูล
เป็นอย่างที่คุณบอกมาทุกประการเลยค่ะ
ชอบเสียงมากๆฟังลื่นหู นอนหลับสบาย Admin ช่วยทำคลิป เรื่องอดีตในวัง ซึ่งคนรุ่นหลังไม่เคยรู้ เป็นเรื่องที่ชวนฟัง ได้ความรู้ติดตัวรากเหง้าของตนเอง ขอบพระคุณมากๆครับผม
“การอบรม” ไม่ใช่ “ความอบรม”
สังเกตว่าคนรุ่นใหม่ชอบใช้ความกับทุกอย่าง แม้แต่คำกริยา ซึ่งไม่ถูกหลักภาษาค่ะ
มันเป็นเทรนด์สแลง ใช้แบบไม่ทางการกับเพื่อนก็เหมาะสม แต่ในที่นี้ไม่เหมาะสมค่ะ
ส่วนเนื้อหาดีนะคะ อันนี้ชื่นชมค่ะ
ไม่ได้กวนประสาทค่ะ แต่ขอสอบถามจริง ๆ เพราะไม่รู้ว่า "การ" กับ "ความ" ใช้ยังไง เมื่อไรอ่ะคะ
@@JiJi13598 เราตอบสองรอบพร้อมลิ้งค์แล้วคอมเม้นต์มันหายไปค่ะ งง ไม่รู้เพราะแนบลิ้งค์หรือเปล่า ยังไงลองหาดูบนเน็ตนะคะมีอธิบายไว้
หลักๆภาพใหญ่คือ การใช้กับรูปธรรม อากัปกิริยา ความใช้กับนามธรรมค่ะ
@@Asplera ขอบคุณค่ะ เท่านี้ก็พอคิดต่อยอดได้แล้ว ขอบคุณมากนะคะ
คุณมุก..เก่งจังเลยครับ
ขอบคุณค่ะดิฉันก็ใช้สับสนมาตลอดเลย
การศึกษาปัจจุบันบ้านเรา ก็ยังเหมือนเดิมครับ
ตอนนี้ก็ยังเรียน แก้วกับกล้า ตามารถไฟ 55
ทำไมพูดอย่างนั้นเหรอคะ
นั่นนะซิการเรียนต้นๆก็เป็นการเรียนที่ทดสอบเด็กๆว่ามีทักษะในแนวไหนที่จะรับรู้ในสิ่งที่เรียนเหมือนๆกัน ต่อจากนั้นเด็กๆก็จะเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมที่ต่างกัน และมา
พวกเนรคุณ ดูหมิ่นบ้านเกิด สิ่งไม่มีจะเข้าตัวนะไม่ช้าก้เร้ว
@@ThaiHistory แอดคะ เขาอาจจะหมายถึงระบบการศึกษาไทย ที่ภายในย่ำแย่เน่าเฟะทั้งการสอนทั้งการสอบ ( ยิ่งต่างจังหวัด การสอนจะคนละม้วนกับในเมืองเลย ) จนเด็กๆต้องหาที่เรียนพิเศษ ไม่ได้เข้าถึงเด็กเท่าที่ควร ( ปัจจุบันอัตราเด็กที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ มีมากจนน่าตกใจ ) และมีความเหลื่อมล้ำสูง ยิ่งมีเงิน + คอนเนคชั่น เส้นสาย เท่าไหร่ ก็ยิ่งมีโอกาสได้ที่ดีๆ ไม่ว่าจะที่เรียนหรือทำงาน ยิ่งมีขีดความสามารถในการแข่งขัน ทั้งเรื่องเรียนหรือทำงาน มากกว่าคนอื่น ยิ่งสามารถหาคนเก่งๆมาสอน เพิ่มศักยภาพได้มากขึ้น ยิ่งมีโอกาสลองผิดลองถูกมากกว่าใคร
เขาอาจหมายถึงแบบนี้ก็ได้นะแอด
มันก็พัฒนาไปตามยุคตาม
สมัย เดี๋ยวอีกร้อยปีข้างหน้า
สิ่งที่เราทำอยู่ปัจจุบัน คนรุ่น
นั้นก็อาจจะมองว่า ล้าหลัง
จังสมัยนั้น 😅😅😅
อาจารย์เราเคยบอกว่า เค้าไม่ให้คนเรียนอะไรที่เป็นความรู้มากเท่าไร เพราะมันทำให้ปกครองยากค่ะ อาจารย์บอกว่า ก็องค์ความรู้แต่ละด้าน ลงท้ายด้วยคำว่า "ศาสตร์" เช่น วิทยาศาสตร์ ศิลปศาสตร์ นิเทศศาสตร์ ฯลฯ คำว่า "ศาสตร์" มันก็มาจากคำว่า "ศาสตรา" ที่แปลว่าอาวุธ เขาถึงพูดกันว่า "ความรู้" คืออาวุธ การให้คนไหนเรียนให้คนไหนมีความรู้ ก็เหมือนเอาอาวุธไปมอบไว้ให้เค้าแหละค่ะ สมัยโบราณเลยไม่ค่อยให้คนได้เรียนหนังสือกัน
....อาจารย์ท่านไปเอามาจากไหนนั่น น่ารักดีจังค่ะ 555
โหหห ชอบข้อความนี้มากครับ มันดูสวยมาก ในสมัยก่อนสยามไม่มีโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย ต้อวเรียนที่วัด ซึ่งที่พระสอนส่วนใหญ่ก็เป็นพวกการอ่าน การเขียนภาษาไทย แต่ศาสตร์อื่นๆนั้นไม่มีเลย ความทันสมัยในยุคนั้นมักจะอยู่ในวังทั้งหมด อยากเรียนศาสตร์อื่นๆ ต้องเข้าไปในวัง ซึ่งลูกตาสีตาสาคงไม่มีปัญญาได้เข้าไปครับ แล้วสยามในยุคก่อนๆ มีการแบ่งชนชั้น แม้จะไม่ได้เข้มงวดแบบที่อินเดีย คนชนชั้นไพร่ธรรมดาๆ ชาวนา ชาวสวน ต่อให้ได้เรียนหนังสือในศาสตร์ชั้นสูง ก็ไม่มีโอกาสได้เอาไปใช้ ความเพราะศาสตร์มันเหมาะกับชนชั้นปกครองจริงๆ คนธรรมดาๆ ไม่สามารถเข้ามามีส่วนในการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาประเทศได้ ความห่างของชนชั้นมีมากจนเกินไป
จริงๆถ้ามองในด้านปกครองการที่ประชาชนไม่รู้หนังสือ
ก็ไม่ต่างจากคนที่ไม่มีความคิด บอกอะไรไปก็ต้องเชื่อฟัง
คนแบบนี้สิคะถึงปกครองง่าย
@@pinocchiolala159 เรียนของสมัยก่อนกับสมัยนี้มันต่างกันค่ะ ถามว่า ไอ้ที่เรียนกันทุกวันนี้ ได้ใช้มั้ย? วิทยาศาสตร์ เคมี ชีวะ ฟิสิกส์ พีทาโกรัส ....ศาสตร์ทั้งหลาย จบมาแล้ว ใช้ไปเท่าไหร่ ตอนเรียนก็ท่องแค่สอบเพื่อผ่าน ซึ่งหาสาระไม่ได้ แต่ดูดี เหมือนมีความรู้ไว้ประดับสมองน้อยๆ ให้ได้ภาคภูมิใจ ส่วนสมัยก่อน ครอบครัวไพร่ก็เรียนรู้อย่างไพร่ วิธีปลูกข้าว ทำนา ดูแลบ้านเรือนแบบไพร่ เจ้านายก็เรียนรู้กิจของเจ้านาย เพราะสมัยนั้น มีลูกมีหลานเขาก็สอนให้ความรู้ตามฐานะครอบครัว เพื่อทำงานสานต่อกิจการ สานต่อวอถีชีวิตตามรอยพ่อแม่ ปู่ย่าตาทวด ซึ่งเป็นการ เรียนรู้ที่ใช้ได้จริง น่าอิจฉาว่าเด็กยุคนี้เยอะคะ หมดเวลากับการเรียนในห้องไปถึง 1/4 ของชีวิต แทนที่จะเอาไปทำอย่างอื่น
@@nannan2526 ไม่รู้ค่ะ ตอนนั้นสมัยเรียน ป.ตรีเลยค่ะ วิชาการสื่อสารในวัฒนธรรมไทย อาจารย์สอนมาแบบนี้
ยอดเยี่ยมค่ะ
ฉันชอบ ตอนชีเล่า อารมณ์เหมือนเพื่อนกระเทยขาเมาส์❤️
นี่เป็น concept ของฉันเลยค่ะ เอามาเล่าสู่กันฟังแบบเพื่อน
เดี๋ยวนี้แม่บ้านพลาสติกค่ะ... เวลาหนูยุ่งมาก แบบว่าเวิร์คกิ้งวูแมน... กับข้าวถุงโลดค่ะ... แต่ถ้าว่าง จริงๆ ก็จะสะบัดตะหลิวทันที กลัววิชาอาหารที่แม่ถ่ายทอดไว้ จะ หายหมด 😁
ขอบคุณค่ะขอบคุณ
ฟังวิถีชาววัง ตอนที่ 1
แอดมินเล่าชัดเจนแจ่มแจ้ง
เหมาะสมทั้งการออกเสียง,ภาพประกอบ
ความบันเทิงและความรู้ประวัติศาสตร์
*_ชอบ+สนับสนุน_*
*_ติดตาม+เป็นกำลังใจให้_*
*แอดมิน* *เรื่องแซ่บๆในประวัติศาสตร์*
👌😊🏆🎦👄🎁💵💰💯💖😀👍
ขอบคุณนะคะคุณ kitty วิถีชาววังนี้มีคนขอดิฉันมาหลายครั้งแล้วแต่ดิฉันยังไม่มีข้อมูลที่ครบเลยเอามาเล่ายังไม่ได้ ตอนนี้มีแล้วก็เลยลุยหลายเทปเลยค่ะ
@@ThaiHistory
ขอบคุณ *แอดมิน*
รักและชื่นชม
💯💖😊
รากเหง้าของวัฒนธรรมไทยก็มาจากวิถีชีวิตความเป็นไปของชาวบ้านไทยในชนบท ค่อยปรับไปตามความเหมาะสม ชื่นให้ที่หนูนำเสนอฟังเพลิด อักขระก็เยี่ยม มีความสุขมากที่ฟัง ชื่นใจค่ะ
ขอบคุณค่ะคุณพี่
ดิฉันยังต้องปรับตัวและปรับการออกเสียงอีกมากแต่เป็นอะไรก็ไม่รู้ตอนพูดมันก็ปรับยากจริงๆ
@@ThaiHistory กำลังใจให้เต็มไปนะค่ะ
วันที่แม่พลอยไปถวายตัวให้เสด็จ เป็นวันพุธเจ้าค่ะ
ถูกต้องแล้วค่ะคุณขา
แม่พลอยถวายตัววันพุธ
คุณถูกต้องแล้วค่ะ
"...ฉันน่ะไม่เคยขี้เหนียวหรอก แต่เห็นเสียแล้ว เมื่อเวลาฉันมีบุญน่ะ ล้วนแต่มาห้อมล้อมฉันทั้งนั้นแหละ เวลามีงานมีการอะไร ฉันก็ช่วยเต็มที่ไม่ขัด แต่พอฉันตกก็หันหนีหมด ไปเข้าตามผู้มีบุญต่อไป ฉะนั้นฉันจึงตัดสินใจไม่ทำบุญกับคนรู้จัก แต่จะทำการกุศลทั่วไปโดยไม่เลือก"
😁😁😁😁
ชอบที่แอดเล่ามากเลยค่ะ เห็นภาพในสมัยก่อนชัดเจนมาก ส่วนตัวชอบละครเรื่องสี่แผ่นดินมากค่ะเพราะนำภาพการใช้ชีวิตของคนสมัยก่อนมากๆค่ะ
อยากให้มีคนมารีเมคละครสี่แผ่นดินอีกแต่คิดว่าอาจจะไม่ถูกจริตคนสมัยใหม่เพราะต้องการอะไรอย่างรวดเร็ว
@@ThaiHistory นั่นสิคะแอดมิน ส่วนตัวชอบละครแนวนี้ค่ะคือได้ความรู้รอบตัวจริงๆไม่มีเรื่องตบตีให้วุ่นวายใจค่ะ
ติดตามค่ะ ชอบเสียงบรรยายของแอดฯ ชัดเจน น่าฟัง
ขอบคุณนะคะที่ชอบสุรเสียงของดิฉัน
ชอบครับคุณพี่ เรื่องชาววังบทที่1มีสาร แลแก่นสารมากๆ
ดีใจจังเลยค่ะที่คุณชอบ
มาแล้ว อันแรกเข้าไม่ได้เห็นบอกติดลิขสิทธิ์ ขอบคุณคะแอด
ใช่แล้วค่ะอันแรกศาสดา RUclips แบน
ชอบฟังยาวๆแบบนี้ค่ะขอบคุณค่ะแอด
จัดให้ตามคำขอเลยค่ะ ยาวๆ
คนธรรมดาสามัญสมัยนั้นไม่ได้เรียนเท่าไรนอกจากต้องบวชเรียน จนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475 ผู้คนถึงเท่าเทียม
ถูกต้องแล้วค่ะคุณ
ไม่นะ เพราะก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง ร.5 และ ร.6 ท่านก็เริ่มต้นวางรากฐานการศึกษาเพื่อคนทั่วไปแล้ว ถ้าไม่จริง จะเกิดมีพวกคนสามัญได้ทุนไปเรียนแล้วกลับมาทำเรื่องเปลี่ยนแปลงเหรอ
มารัวๆเลยค่ะแอด ชอบฟังมากเวลาทำงานไปฟังไปเพลินมากค่ะ^^
นึกว่าชอบฟังก่อนนอนเสียอีก
วันจันทร์ค่ะ
วันพุธค่ะคุณขา
กดไลท์แล้วนะครับ.คุณน้อง..
ขอบคุณค่ะคุณพี่คุณพี่อยากเป็นชาววังไหมคะ
@@ThaiHistory เป็นคนบ้านนอกครับ.แต่ถ้าได้เมียชาววัง.คงจะเรื่องเยอะมิใช่น้อย..
@@Pex.2468 555
วันพุธค่าาแอดด
ถูกต้องแล้วค่ะน่ารักที่สุด
การศึกษาของผญ.ไทยได้เริ่มเล่าเรียนเขียนอ่านแบบจริงจังก็คือเริ่มสมัย ร.5 ใช่มั้ยคะแอด ถ้างั้น ผญ.ตั้งแต่สมัย สุโขทัย อยุธยานี่คือไม่รู้หนังสือเลยสิคะ 😭😭😭
ผู้หญิงไม่รู้หนังสือเลยค่ะ
ถ้าจะรู้หนังสือก็ต้องเข้ามาอยู่ในวังเท่านั้น
ไม่ใช่ค่ะ ผู้หญิงที่รู้หนังสือมีมานานแล้ว แต่ถ้าเป็นหญิงชาวบ้านอ่ะไม่รู้ เพราะถึงรู้ก็ไม่ได้ใช้ แถบอุษาคเนย์ผู้หญิงเรามีอิทธิพลเหนือผู้ชาย ไม่เหมือน ฝั่งตะวันตก กับ ตะวันออกอย่างพี่จีน สมัยโบราณก่อนยุคกรุงศรี สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 ของอาณาจักรขอม มีบันทึกของจีนกล่าวถึงสตรีในราชสำนักว่ามีความรู้ด้านโหราศาสตร์ การปกครองดี แถมมีอำนาจ รับราชการมีตำแหน่งสูง อยุธยาเราสตรีที่รู้หนังสือก็คงจะระดับเดียวกับ แม่หญิงการะเกดขึ้นไป อีกคนเลยก็ พระนางจามเทวีผู้ก่อตั้งราชวงศ์หริภุญชัย คติที่ว่าผู้หญิงโดนกดขี่เพิ่งมามียุคหลังค่ะ ข้อสังเกต พระแม่โพสพ พระแม่คงคา แม่ย่านาง ....หรือแม้แต่การเข้าทรงลงเจ้า ก็มีแต่ผู้หญิง สมัยก่อน เขานับสายเลือดทางแม่ด้วยซ้ำค่ะ ปล.ลืมแนะนำอีกคน เพิ่งอ่านเจอเมื่อไม่นาน พระองค์เจ้าหญิงบุตรีค่ะ เป็นเจ้าสำนักการศึกษาของเจ้านายสมัยรัตนโกสินทร์ยุคแรกๆ รบกวนแอดหาประวัติมาเล่าจะได้อรรถรสดีค่ะ ชอบเสียงแอด
@@nannan2526 ขอบพระคุณสำหรับคำอรรถาธิบายมากนะคะ ข้อสงสัยคือผู้หญิงในอดีตก่อนสมัย ร.5 เรียนหนังสือที่ไหน?ใครสอน แต่สำหรับผู้ชายก็คงเรียนที่วัดเรียนกับพระตามที่เคยเข้าใจมาน่ะค่ะ
@@pusdeeak4959 พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ญาติ เขาสอนกันเองในกลุ่มแหละค่ะ เพราะไม่ได้มีโรงเรียน ก่อนรัชกาลที่ 5 ก็พระองค์เจ้าหญิงบุตรีเลยค่ะ เป็นคนสอนเหล่าเจ้านาย รวมถึง รัชกาลที่ 5 เองสมัยทรงพระเยาว์ก็เรียนหนังสือกับพระองค์เจ้าหญิงบุตรี ☺️ หากสมัยโบราณผู้หญิงไม่รู้หนังสือ คงไม่มีการเขียนเพลงยาว จีบกันหรอกคะ
กรี๊ดในที่สุดแอดก็ทำวิถีชาววังแล้ว ชอบที่แอดฟังเสียงของแฟนๆเลิฟๆนะคร้าบ
ดิฉันฟังทุกเสียงอ่ะค่ะเพียงแต่ว่าตอนที่ฟังนั้นเรามีข้อมูลหรือเปล่า
ถ้ายังไม่มีดิฉันก็ยังไม่เล่า
เพราะเล่าแล้วมันไม่มีสาระครบถ้วนก็ไม่ดีนะคะคุณ
จริงๆเราชอบนะคะความปราณีตสวยงาม แต่ถ้าให้มาทำตอนนี้เราต้องบ้าแน่ๆ เพราะทุกอย่างสโสว์และเยิ่นเย้อไปหมด😅 โรงเรียนในวังคงเคร่งน่าดูนะคะ
admin ก็เห็นเหมือนกันค่ะถ้าทำอะไรช้าๆเรียบๆ admin คงทนไม่ไหว
ขนาดไปลองเล่นโยคะแล้ว admin ขอเปลี่ยนไปเต้นแอโรบิคดีกว่า
ขอบคุณที่นำเรื่องแซ่บๆมาเล่าให้ทุกคนฟังนะคร้าบ
จริงๆเรื่องนี้ไม่ค่อยแซ่บเลย ค่อนข้างที่จะละมุนละไม
ต้นรัตนโกสินทร์ยังไม่มีร.รเขาก็เรียนรู้อย่างอื่นในชีวิตประจำวัน
ไม่ใช่การศีกษาตกต้ำ
ที่คุณพูดก็ถูกเช่นกัน
เธอจ๋า ทำ เรื่อง ตำหนัก ทรงประเคน สิ อยากฟัง
ดิฉันเพิ่งได้ยินชื่อตำหนักนี้ก็จากคุณพี่นั่นแหละ
มันเป็นยังไงเหรอคะอธิบายเพิ่มได้ไหม
ตำหนักที่คอยดูแลประกอบพระกระยาหาร สำรับหวานคาวขึ้นถวายแด่พระเจ้าอยู่หัว หรือที่เรียกว่า ห้องเครื่องเจ้าสาย มาจากพระนามของพระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ในล้นเกล้า ร.5
นางบำเรอ..คสวโลย์กีสีไทยแลนด์.
🥹🥹🥹
admin คะและเราเนี่ยเป็นคนชั้นในวังน่าจะอยู่ชั้นกลางเนาะ
ถ้าเป็นแอดมินคิดว่าคงจะอยู่ในชั้นสูงนะค่ะ
เพราะว่าแอดมีความสามารถเฉพาะตัวเยอะคงได้เป็นคุณท้าวนางนะค่ะ
@@ThaiHistory เห็นด้วยเห็นด้วยแอ๊ดเป็นคนมีความสามารถ
วันพฤหัสเหรอคะ ดูสีโจงไม่ค่อยออก แหะๆ
คำตอบคือวันพุธค่ะ
@@ThaiHistory ขอบคุณค่า
ตะกูลนี้ปี้เก่ง
สมัยก่อนมีเจลใส่ผมด้วยหรอคับ?!?
สมัยก่อนไม่มีเจลหรอกค่ะแต่มีน้ำมัน
เขาก็ใช้น้ำมันแต่งผม
น่าจะเป็นวันพุธมังคะ
ถูกต้องแล้วค่ะเป็นวันพุธนั่นเอง
พระฤาสาย - อ่านว่า พระ-รือ-สาย ไม่ใช่ หรือ นะครับ
คำนี้แปลว่าอะไรหรือคะ
@@ThaiHistory ฤาสาย เป็น คำเรียกผู้เป็นใหญ่เช่นกษัตริย์ ครับ
และมาปรับใช้ให้ถูกอัธยาศัยของตนเอง แล้วเลือกที่จะเรียนวิชาสาขาอะไรก็ตามนั้น
ถ้าให้แอดมินเลือกอยากจะเรียนทำน้ำอบน้ำปรุงค่ะ
ชอบสไตล์การเล่าเรื่องของแอดค่ะเข้าใจง่ายลึกซึ้ง
ขอบคุณค่ะที่ชม
ดิฉันเล่าสู่กันฟังเหมือนเพื่อนเม้าท์กันหลังเลิกงานน่ะค่ะ