ดูที่ตัวมอเตอร์ว่ามีการระบุค่า SF เซฟตี้แฟคเตอร์ไหม ถ้าไม่มีก็ปรับตั้งตามพิกัดกระแสที่ระบุ แต่ถ้ามีการระบุ SF เช่น SF 1.15 หรือ SF1.25 ก็ต้องคูณค่าเข้าไปตามนั้น ปกติโดยทั่วไปค่า SF นี้จะมีระบุในมอเตอร์ขนาดใหญ่ๆ และเป็นมอเตอร์ที่มาจากอเมริกา ส่วนมอเตอร์ตัวเล็กๆ ไม่ค่อยเจอ
ไม่เข้าใจตรงที่เดวต้า400 v กับสตาร์690 v ครับ คือไฟสามเฟสบ้านเราก็400 v ถ้าต่อแบบสตาร์ก็ต้องการแรงดันถึง690 ทำไมมอเตอร์ถึงรันได้ครับ ขอท่าน อาจารย์โปรดชี้แนะ
เป็นคลิปที่ทรงคุณค่าจริงๆ
ขอบคุณครับ เป็นคอมเม้นต์ที่ทรงคุณค่ามากเลยครับ
ขอบคุณมากครับ
ขอบคุณครับอาจารย์
ขอบคุณมากๆครับ ผมสงสัยมานานแล้วครับ ตอนดีไซน์ ว่าเค้าคิดกันยังไง ว่าค่าที่แมกต้องทนกระแสต้องใช้เท่าไร ค่ากระแสช่วงโอเวอร์โหลดต้องใช้เท่าไร สตาร์-เดลต้า มอเตอร์ตัวใหญ่❤❤
Thanks
สุดยอดครับอาจารย์
ขอบคุณครับ
อธิบายระเอียด และ เข้าใจง่ายครับ
ขอบคุณครับ
ชัดเจนมากคับ
ขอบคุณครับ
ขอบคุณมากๆครับ สุดยอดครับ
ขอบคุณครูที่ให้ความรู้ดีๆครับ ผมจะนำความรู้ดีๆแบบนี้ส่งต่อให้ผู้อื่นต่อไปครับ
ดีใจครับที่ท่านชอบคลิปนี้ และจะเป็นพระคุณอย่างสูงหากช่วยแชร์วนไปครับ
เพิ่มเติม ol แมคตัวเดลต้าอีกตัวคับจะได้ปลอดภัย
ทำแบบนั้นก็ได้ ถ้างบเหลือใช้
@@TechnologyTalk ใส่ตัวเมนตอนสตาร์ท กระแสจะสูง 1.25-1.5 เท่า ถ้าตั้ง ol น้อย มันจะทริปคับ ต้องใส่ตัวเดลต้าเพิ่ม แล้วตั้งค่ากระแสมอเตอร์หารด้วย 1.732 คับ เขาก็ใช้ตามโรงงานทั่วไปคับ
www.9engineer.com/index.php?m=reference&a=show&reference_id=1021
very good teacher
Thank you! 😃
ปั้มกินกระแส12.5a แต่โอเวอร์โหลดตั้งได้แค่11a เป็นผลให้ทริปหลังทำงานบ่อย..ๆ
สวัสดีครับได้ความรู้เพิ่มเติมครับ
สอบถามครับ
ตามคลิป ตอนต่อ DOL มอเตอร์ 1.5kW ต่อ Y จะได้พิกัดกระแสที่ 3.4A
ถ้าจะตั้งค่า O.L เราตั้ง 3.4A เลย หรือ ต้อง คูณค่า อื่นๆ ก่อนครับ บางตำรา x1.15 บ้าง x1.25 บ้าง
ดูที่ตัวมอเตอร์ว่ามีการระบุค่า SF เซฟตี้แฟคเตอร์ไหม ถ้าไม่มีก็ปรับตั้งตามพิกัดกระแสที่ระบุ แต่ถ้ามีการระบุ SF เช่น SF 1.15 หรือ SF1.25 ก็ต้องคูณค่าเข้าไปตามนั้น
ปกติโดยทั่วไปค่า SF นี้จะมีระบุในมอเตอร์ขนาดใหญ่ๆ และเป็นมอเตอร์ที่มาจากอเมริกา ส่วนมอเตอร์ตัวเล็กๆ ไม่ค่อยเจอ
@@TechnologyTalk ขอบคุณครับ
อาจารย์ครับผมสงสัยเรื่องหนึ่ง การสตาร์ทตรงมันจะกินกระแส 6 เท่าแล้วถ้าเราไปตั้งโอเวอร์โหลดตามพิกัด โอเวอร์โหลดจะไม่ตัดหรอครับ
โอเวอร์โหลดประกอบด้วยโลหะสอ งชนิดที่มีสัมประสิทธิ์การโก่งงอตัวที่ต่างกัน และจะทำงานโดนอาศัยความร้อนสะสมเพื่อทำให้เกิดการโก่งตวเพื่อไปกันกลไกของหน้าคอนแทคให้เปลี่ยนสถาวะ
กระแสขณะสตาร์ท 6-8 เท่า เป็นกระแสที่เกิดขึ้นในช่วงสั้นๆ โลหะยังโก่งตัวไม่เสร็จ ยังโก่งตัวไม่พอที่จะไปทำให้หน้าคอนแทคเปลี่ยนสภาวะ ดังนั้นจึงยังไม่ตัด
แต่ถ้าโหลดหนัก ใช้เวลานานกว่าปกติ ก็จะตัด
@@TechnologyTalk ขอบคุณครับอาจารย์
เป็นยอดของอาจารย์ที่สามารถอธิบายได้อย่างชัดเจน
ขอบคุณครับ
ไม่เข้าใจตรงที่เดวต้า400 v กับสตาร์690 v ครับ คือไฟสามเฟสบ้านเราก็400 v ถ้าต่อแบบสตาร์ก็ต้องการแรงดันถึง690 ทำไมมอเตอร์ถึงรันได้ครับ
ขอท่าน อาจารย์โปรดชี้แนะ
ปกติถ้าจะต่อแบบสตาร์จะต้องใช้แรงดัน 690V แต้าถ้าไฟบ้านเรา 400 V มอเตอร์ก็จะยังคงรันได้ หรือให้มีแรงดันน้อยกว่า 400 V มอเตอร์ก็ยังคงรันได้ แต่ว่าทอร์คหรือแรงบิดจะลดลง ไม่สามารถรับโหลดหนักๆในขณะที่ออกตัวหรือขณะสตาร์ทได้ (ส่วนเมื่อลดแรงดันลงแล้วแรงบิดจะลดลงเท่าไหร่นั้นให้ศึกษาเพิ่มเติมจากบทความที่ผมวางลิงค์ไว้ด้านล่าง)
กล่าวคือถ้ามีการลดแรงดันก็จะได้ลดโหลดลงให้เหมาะสมกับแรงบิดที่เกิดขึ้น แรงบิดที่มอเตอร์สร้างขึ้นจะต้องมากกว่าแรงบิดที่โหลดต้องการ มอเตอร์จึงจออกตัวได้
ดังนั้นการสตาร์ทแบบสตาร์เดลต้า วัตถุประสงค์ก็คือการลดกระแสขณะสตาร์ท แต่ข้อเสียก็คือแรงบิดขณะสตาร์ทจะลดลง การสตาร์ทแบบนี้จะเหมาะสมกับโหลดที่ต้องการแรงบิดขณะออกตัวต่ำเช่น พัดลม โบลเวอร์ หรือปั๊มบางประเภท
ลองอ่านบทความที่ผมเขียนเพิ่มเติมครับ
www.9engineer.com/index.php?m=article&a=show&article_id=2174
เข้าใจแล้วครับขอบคุณท่านอาจารย์ยิ่งดูคลิปอื่นๆยิ่งเข้าใจมากขึ้นครับ
ถ้าสนใจเรื่องการควบคุมมอเตอร์ ให้ดูคลิปในเพลลิสนี้เลย ผมทำไว้หลายเรื่อง ดูจบรับรองกระจ่าง ตั้งแต่การต่อจนกระทั่งการควบคุม
ruclips.net/p/PLlMJtH3pbpBBz6iR1kXdIzRYTtzJfGN48
ขออนุญาตสอบถามครับอาจารย์ แล้วถ้าจะตั้งOL ของ สตาร์ มีวิธีการหาอย่างไรครับ ขอบคุณครับ
มีอธิบายไว้ในคลิปหมดแล้วครับ
ต้องใช้ตัวคูณของกระแสโอเวอร์โหลดเพิ่มมั้ยครับ หรือปรับตั้งกระแสตามพิกัดมอเตอร์ได้เลย
โดยทั่วไปโอเวอร์จะไม่มีตัวคูณ ถ้าเราซื้อถูกรุ่นเหมาะสมกับขนาดของมอเตอร์ที่เราใช้ มันจะสเกลให้ปรับตั้งซึ่งจะสัมพันธ์และใกล้เคียงกระของมอเตอร์
@@TechnologyTalk ขอบคุณขอรับ
สวัสดีครับ โปรแกรมหน้าจอมันฟ้องว่า มอเตอร์โอเวอโหลดมันคืออะไรครับ
โปรแกรมอะไร?
ขอบคุณครับ
ได้ความรู้มากเลยครับ
ขอบคุณครับที่เป็นกำลังใจ จะตั้งใจทำด้วยใจตลอดไป ถ้าเป็นไปได้รบกวนช่วยแชร์ต่อด้วยครับ
สุดยอดคับ
ขอบคุณครับ
ถ้า 380V/73A
660V/42A
ควรตั้ง overload เท่าไหร่คับ
เอา 42A*1.15 ใช่ไหมคับ
1) เช็ค SF ใช่ = 1.15 หรือไหม 2) ดูตำแหน่งโอเวอร์โหลด ถ้าติดตั้งใต้แมกเนติก ก็ควรจะเป็นเช่นนั้น
@@TechnologyTalk ติดตั้ง ใต้ magnetic คับ
ที่ อาจารย์สอนมานี้ ผมเข้าใจว่า
การต่อ delta ทำให้ แรงดันลด กระแสเพิ่ม
การต่อ star ทำให้ แรงดันสูง กระแสลดลง
ใช่ไหมคับ
การจะต่อสตาร์หรือเดลต้านั้น อย่างแรกที่จะต้องพิจารณาเลยคือ แหล่งจ่ายไฟสามเฟสเป็นแบบไหน ? ลองย้อนกลับไปฟังเรื่องการต่อมอเตอร์ในคลิปนี้ก่อน
ruclips.net/video/aSMZ8iX63H4/видео.html
หากมีข้อสงสัยประการใด ก็ส่งคำมาอีกที
@@TechnologyTalk ไฟสามเฟสบ้านเราคือ ไฟแต่ละเฟสถึง นิวตรอนประมาณ220-240vac ใช่ไหมคับ ถ้า เฟสถึงเฟสจะได้ประมาณ 380-400v
ส่วนประเทศ ที่ใช้ไฟ 100v แต่ละเฟสถึงนิวตรอน ก็จะได้ประมาณ110-120 เฟสถึงเฟสก็ประมาณ 220-240v ใช่ไหมคับ อาจารย์
@@joe.channel007 ใช่
พี่ครับ แล้ว IL มีค่าเท่าไหร่ครับ ผมงง ตรง IL/√3=0.42 คืออยากทราบค่า IL ก่อนที่จะหารสแควรูทสามครับ
IL คือกระแสที่ระบุบนแผ่นป้ายของมอเตอร์แต่ละตัว .
แล้ว Ip ละครับ มาจากไหน คืออะไร ในเมื่อมันก็สถานะเดียวกัน
ไลน์ กับ เฟส มันต่างกันยังไงครับ 🤔🤔
ช่วงคลิประหว่าง 12:08-13:51 กับ 19:34-20:15 สูตรทำไมไม่เหมือนกันครับ
12-13 อธิบายความสัมพันธ์ของกระแส
ส่วน 19-20 อธิบายความสัมพันธ์ของแรงดัน
@@TechnologyTalk ขอบคุณครับ
ขอเบอร์โทร ติดต่อหน่อยครับ
ไม่ทราบว่าจะติดต่อเกี่ยวกับเรื่องอะไรครับ
@@TechnologyTalk สะหวัดดีครับ อยากขอคำแนะนำเกี่ยวกับวิธีต่อมอเตอร์ขนาด50Hz380V 3เฟด 200kw กินกระแส388A อยากให้ช่วย อธิบายให้หน่อย ผมอยากจะส่ง เมนเฝดให้ดู แต่ไม่รู้จะส่งทางไหนให้ช่วยแนะนำ ผมคนลาว เบีโท 02056784211(เบีนี้WhatsAppก่อใช้)
ดูรายละเอียดตามนี้ www.9engineer.com/index.php?m=index&a=contactus
0.58คือ1/√3ใช่ป่าวคับ
ใช่ครับ 1/1.732= 0.577=0.58
😘😗😘😘😘😘
thanks
ผมเจอปัญหาเครื่องตัดโลหะ
มอเตอร์ระบุ 11 แอมป์
แต่เวลาสตาร์ท 106 แอมป์ ตอนรัน 6 แอมป์
ปัญหาคือมันสตาร์ทไม่ได้ครับ มันตัดก่อน
แต่ตอนซื้อมาแรกๆ มันทำงานได้ครับ ปัญหาจากอะไรครับ
มอเตอร์ยังคงกินกระแสเท่าเดิมคือ 6 แอมป์
ดูจากขนาดกระแสที่บอกมาแล้วน่าจะเป็นมอเตอร์เล็ก และเป็นมอเตอร์เฟสเดียว ประเด็นคืออะไรเป็นตัวตัด เบรกเกอร์หรือ โอเวอร์โหลด หรือ วงจรสตาร์ทมอเตอร์เป็นแบบไหน
ส่วนตัวผมใช้สูตรการหาเปอร์เซ็นตั้งโอเวอร์โหลดเอาครับ
เช่น 90 % ของโอเวอร์โหลด สูตรคือ กระแสพิกัดมอเตอร์ แอมป์ x 90% แล้วนำผลที่ได้ มาหารกับ 100 จะได้กระแสพิกัดตั้งโอเวอร์โหลดครับ
อันนี้เป็นแค่เพียงการควบคุมให้มอเตอร์ทำงานอยู่ในย่านพิกัดที่กำหนด ซึ่งบางแห่งเขาก็ใช้ค่า แอมป์ x 80% หรือ แอมป์ x 85% ก็มี เพื่อใช้งานมอเตอร์ที่ 80-85%ของพิกัด เพราะย่านนี้มอเตอร์จะให้ประสิทธิภาพสูงสุด แต่ถ้าต้องการให้มอเตอร์ทำงานตามพิกัดที่กำหนดจะใช้งานไม่ได้ โอเวอร์โหลดจะตัด
มอเตอร์กระแส 12.5A ตั้งโอเวอร์โหลดเท่าไรครับ
ผมจะพยายามดูครับยังไม่เข้าใจครับ
พยายามดูให้เข้าใจ นี่คือหลักการ ถ้าเข้าใจแล้วนำไปประยุกต์ใช้ได้ตลอดชีวิต
ขอบคุณมากครับ
ฝากแชร์ด้วยครับ
เข้าใจง่ายครับ
ขอบคุณครับ ไม่ทราบว่าตอนนี้ยังอยู่ที่สิงคโปร์ไหมครับ
@@TechnologyTalk ครับผมก็ยังทำงานยุครับ ชอบดูคลิปคุณมากครับ
@@สมบัติด่านหนา-บ1ฤ ผมก็ยังทำงานอยู่ที่สิงคโปร์เช่นกันครับ
@@TechnologyTalk ก็ยังทำงานยุที่สิงคโปร์เช่นเดิมครับ
@@สมบัติด่านหนา-บ1ฤ ยังไง ก็ฝากแชร์คลิปต่อไปยังเพื่อนๆด้วยนะครับ