✅ ทำไมน้ำมันเครื่อง Liqui Moly จึงไม่ใช้ Ester Base หรือน้ำมันตั้งต้นกรุ๊ป 5 เพื่อใช้การผลิตน้ำมันเครื่องที่จัดจำหน่ายทั่วโลก จริงๆไม่ใช่ Ester นั้นจะไม่มีข้อดี แต่มันเป็นเรื่องของมาตรฐานสำหรับการใช้งานในระยะยาวที่สามารถคงประสิทธิภาพได้อย่างต่อเนื่องโดยมีผลทางลบน้อยที่สุด สำหรับ Base Oil group ที่เหมาะสมกับการทำน้ำมันเครื่องสำหรับใช้กับเครื่องยนต์ทั่วไปและมีเอฟเฟคในทางลบน้อยที่ทางผู้ผลิตจากเยอรมนีแนะนำก็คือ Group I, Group II, Group III, Group III+, Group IV / (PAO = Polyalphaolefines) ☑️ ⚡Base oil Group 5 = Naphthenics, Esters, etc จะถือเป็นกลุ่มเฉพาะที่เหมาะสมกับรถแข่งที่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์เป็นพิเศษแล้ว เช่นใช้เชื้อเพลิงจำพวกแอลกอฮอลล์ตั้งแต่85%ขึ้นไป หรือ Ethanol-100% และพวก Octance ผสมพิเศษที่ใช้ในการแข่งขัน อาทิรถแข่ง F1 หรือ การแข่งขันประเภท Drag Racing แต่อาจไม่เหมาะสมในการใช้กับรถยนต์ทั่วไปหรือรถที่ไม่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์มามากหรือรถยนต์วิ่งบนถนน (Street Use) ทั่วๆไป ❗เนื่องจาก Ester Base นั้นมีคุณสมบัติที่โดดเด่นของโมเลกุลในการยึดเกาะผิวโลหะและคงสภาพได้ดีแม้ในสภาวะที่มีความร้อนและแรงเฉือนสูงแต่มันก็มีผลข้างเคียงคือมีเอฟเฟคในการกัดกร่อนที่สูงซึ่งอาจจะทำปฏิกิริยาที่เป็นอันตรายกับซีลยางอุตสาหกรรมที่ใช้ในรถทั่วไปถ้าผสม Ester ในอัตราส่วนที่มากจนเกินไป ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลที่ว่าทางผู้ผลิตรถยนต์ / เครื่องยนต์จะไม่มีการ Approve API GroupV เพียวๆนี้สำหรับรถที่เป็นกลุ่ม Street Use หรือที่ใช้งานปกติทั่วไปรวมถึงรถ Standard จากโรงงานผู้ผลิตยานยนต์นั่นเอง กลุ่มนี้จึงเหมาะสำหรับใช้ในการแข่งขันเป็นหลักเท่านั้น 🔥 ส่วนตัวสินค้าประเภทน้ำมันเครื่องของแบรนด์ Liqui Moly ที่เรานำเข้ามานั้นใช้ Base oil ตั้งต้นที่เป็น Group III และ Group IV ชนิด Hi-Spec Level + Special Additives สูตรเฉพาะเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต ซึ่งแต่ละสูตรนั้นก็มีความโดดเด่นที่แตกต่างกันไปซึ่งเหมาะสมและใช้งานได้ดีรวมทั้งมีมาตรฐานการรับรองจากสถาบันต่างๆและค่ายผู้ผลิตยานยนต์มากมายทั่วโลก ซึ่งแต่ละปรูฟหรือมาตรฐานต่างๆบนฉลากสินค้าต้องมีการรับรองอย่างถูกต้องตามกฏหมายจากผู้ผลิตยานยนต์ค่ายต่างๆแล้วเท่านั้นจึงเหมาะสมกับยานยนต์ที่ใช้ในปัจจุบันทั้งรถทั่วไปรวมไปถึงรถที่สำหรับใช้ในการแข่งขันนั้นก็ย่อมได้ เพียงแค่เลือกให้ถูกเบอร์ ถูกสเปคและตรงกับความต้องการที่แท้จริงของเครื่องยนต์ของเรานั่นเอง. 🔵 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นในกลุ่ม 3 Hydrocrack-Spec ในเยอรมนีและโซนยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Synthetics-Technology (เกรดสังเคราะห์ที่ผสม Additives สเปคสูง) / หรือถ้าอิงตามมาตรฐาน API ในแถบเอเชียก็คือเทียบเท่าเกรด Fully Synthetics 🔴 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นกลุ่ม 4 หรือ (PAO) ในเยอรมนีและยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Vollsynthetic / Fully Synthetics (เกรดสังเคราะห์แท้ที่ผสม Additives สเปคสูง) #LiquiMolyThailand 🇩🇪 🇹🇭 ☑️ www.liqui-moly.com/ liqui-molythai.com/ ✅
✅ ทำไมน้ำมันเครื่อง Liqui Moly จึงไม่ใช้ Ester Base หรือน้ำมันตั้งต้นกรุ๊ป 5 เพื่อใช้การผลิตน้ำมันเครื่องที่จัดจำหน่ายทั่วโลก จริงๆไม่ใช่ Ester นั้นจะไม่มีข้อดี แต่มันเป็นเรื่องของมาตรฐานสำหรับการใช้งานในระยะยาวที่สามารถคงประสิทธิภาพได้อย่างต่อเนื่องโดยมีผลทางลบน้อยที่สุด สำหรับ Base Oil group ที่เหมาะสมกับการทำน้ำมันเครื่องสำหรับใช้กับเครื่องยนต์ทั่วไปและมีเอฟเฟคในทางลบน้อยที่ทางผู้ผลิตจากเยอรมนีแนะนำก็คือ Group I, Group II, Group III, Group III+, Group IV / (PAO = Polyalphaolefines) ☑️ ⚡Base oil Group 5 = Naphthenics, Esters, etc จะถือเป็นกลุ่มเฉพาะที่เหมาะสมกับรถแข่งที่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์เป็นพิเศษแล้ว เช่นใช้เชื้อเพลิงจำพวกแอลกอฮอลล์ตั้งแต่85%ขึ้นไป หรือ Ethanol-100% และพวก Octance ผสมพิเศษที่ใช้ในการแข่งขัน อาทิรถแข่ง F1 หรือ การแข่งขันประเภท Drag Racing แต่อาจไม่เหมาะสมในการใช้กับรถยนต์ทั่วไปหรือรถที่ไม่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์มามากหรือรถยนต์วิ่งบนถนน (Street Use) ทั่วๆไป ❗เนื่องจาก Ester Base นั้นมีคุณสมบัติที่โดดเด่นของโมเลกุลในการยึดเกาะผิวโลหะและคงสภาพได้ดีแม้ในสภาวะที่มีความร้อนและแรงเฉือนสูงแต่มันก็มีผลข้างเคียงคือมีเอฟเฟคในการกัดกร่อนที่สูงซึ่งอาจจะทำปฏิกิริยาที่เป็นอันตรายกับซีลยางอุตสาหกรรมที่ใช้ในรถทั่วไปถ้าผสม Ester ในอัตราส่วนที่มากจนเกินไป ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลที่ว่าทางผู้ผลิตรถยนต์ / เครื่องยนต์จะไม่มีการ Approve API GroupV เพียวๆนี้สำหรับรถที่เป็นกลุ่ม Street Use หรือที่ใช้งานปกติทั่วไปรวมถึงรถ Standard จากโรงงานผู้ผลิตยานยนต์นั่นเอง กลุ่มนี้จึงเหมาะสำหรับใช้ในการแข่งขันเป็นหลักเท่านั้น 🔥 ส่วนตัวสินค้าประเภทน้ำมันเครื่องของแบรนด์ Liqui Moly ที่เรานำเข้ามานั้นใช้ Base oil ตั้งต้นที่เป็น Group III และ Group IV ชนิด Hi-Spec Level + Special Additives สูตรเฉพาะเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต ซึ่งแต่ละสูตรนั้นก็มีความโดดเด่นที่แตกต่างกันไปซึ่งเหมาะสมและใช้งานได้ดีรวมทั้งมีมาตรฐานการรับรองจากสถาบันต่างๆและค่ายผู้ผลิตยานยนต์มากมายทั่วโลก ซึ่งแต่ละปรูฟหรือมาตรฐานต่างๆบนฉลากสินค้าต้องมีการรับรองอย่างถูกต้องตามกฏหมายจากผู้ผลิตยานยนต์ค่ายต่างๆแล้วเท่านั้นจึงเหมาะสมกับยานยนต์ที่ใช้ในปัจจุบันทั้งรถทั่วไปรวมไปถึงรถที่สำหรับใช้ในการแข่งขันนั้นก็ย่อมได้ เพียงแค่เลือกให้ถูกเบอร์ ถูกสเปคและตรงกับความต้องการที่แท้จริงของเครื่องยนต์ของเรานั่นเอง. 🔵 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นในกลุ่ม 3 Hydrocrack-Spec ในเยอรมนีและโซนยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Synthetics-Technology (เกรดสังเคราะห์ที่ผสม Additives สเปคสูง) / หรือถ้าอิงตามมาตรฐาน API ในแถบเอเชียก็คือเทียบเท่าเกรด Fully Synthetics 🔴 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นกลุ่ม 4 หรือ (PAO) ในเยอรมนีและยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Vollsynthetic / Fully Synthetics (เกรดสังเคราะห์แท้ที่ผสม Additives สเปคสูง) #LiquiMolyThailand 🇩🇪 🇹🇭 ☑️ www.liqui-moly.com/ liqui-molythai.com/ ✅
✅ ทำไมน้ำมันเครื่อง Liqui Moly จึงไม่ใช้ Ester Base หรือน้ำมันตั้งต้นกรุ๊ป 5 เพื่อใช้การผลิตน้ำมันเครื่องที่จัดจำหน่ายทั่วโลก จริงๆไม่ใช่ Ester นั้นจะไม่มีข้อดี แต่มันเป็นเรื่องของมาตรฐานสำหรับการใช้งานในระยะยาวที่สามารถคงประสิทธิภาพได้อย่างต่อเนื่องโดยมีผลทางลบน้อยที่สุด สำหรับ Base Oil group ที่เหมาะสมกับการทำน้ำมันเครื่องสำหรับใช้กับเครื่องยนต์ทั่วไปและมีเอฟเฟคในทางลบน้อยที่ทางผู้ผลิตจากเยอรมนีแนะนำก็คือ Group I, Group II, Group III, Group III+, Group IV / (PAO = Polyalphaolefines) ☑️ ⚡Base oil Group 5 = Naphthenics, Esters, etc จะถือเป็นกลุ่มเฉพาะที่เหมาะสมกับรถแข่งที่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์เป็นพิเศษแล้ว เช่นใช้เชื้อเพลิงจำพวกแอลกอฮอลล์ตั้งแต่85%ขึ้นไป หรือ Ethanol-100% และพวก Octance ผสมพิเศษที่ใช้ในการแข่งขัน อาทิรถแข่ง F1 หรือ การแข่งขันประเภท Drag Racing แต่อาจไม่เหมาะสมในการใช้กับรถยนต์ทั่วไปหรือรถที่ไม่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์มามากหรือรถยนต์วิ่งบนถนน (Street Use) ทั่วๆไป ❗เนื่องจาก Ester Base นั้นมีคุณสมบัติที่โดดเด่นของโมเลกุลในการยึดเกาะผิวโลหะและคงสภาพได้ดีแม้ในสภาวะที่มีความร้อนและแรงเฉือนสูงแต่มันก็มีผลข้างเคียงคือมีเอฟเฟคในการกัดกร่อนที่สูงซึ่งอาจจะทำปฏิกิริยาที่เป็นอันตรายกับซีลยางอุตสาหกรรมที่ใช้ในรถทั่วไปถ้าผสม Ester ในอัตราส่วนที่มากจนเกินไป ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลที่ว่าทางผู้ผลิตรถยนต์ / เครื่องยนต์จะไม่มีการ Approve API GroupV เพียวๆนี้สำหรับรถที่เป็นกลุ่ม Street Use หรือที่ใช้งานปกติทั่วไปรวมถึงรถ Standard จากโรงงานผู้ผลิตยานยนต์นั่นเอง กลุ่มนี้จึงเหมาะสำหรับใช้ในการแข่งขันเป็นหลักเท่านั้น 🔥 ส่วนตัวสินค้าประเภทน้ำมันเครื่องของแบรนด์ Liqui Moly ที่เรานำเข้ามานั้นใช้ Base oil ตั้งต้นที่เป็น Group III และ Group IV ชนิด Hi-Spec Level + Special Additives สูตรเฉพาะเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต ซึ่งแต่ละสูตรนั้นก็มีความโดดเด่นที่แตกต่างกันไปซึ่งเหมาะสมและใช้งานได้ดีรวมทั้งมีมาตรฐานการรับรองจากสถาบันต่างๆและค่ายผู้ผลิตยานยนต์มากมายทั่วโลก ซึ่งแต่ละปรูฟหรือมาตรฐานต่างๆบนฉลากสินค้าต้องมีการรับรองอย่างถูกต้องตามกฏหมายจากผู้ผลิตยานยนต์ค่ายต่างๆแล้วเท่านั้นจึงเหมาะสมกับยานยนต์ที่ใช้ในปัจจุบันทั้งรถทั่วไปรวมไปถึงรถที่สำหรับใช้ในการแข่งขันนั้นก็ย่อมได้ เพียงแค่เลือกให้ถูกเบอร์ ถูกสเปคและตรงกับความต้องการที่แท้จริงของเครื่องยนต์ของเรานั่นเอง. 🔵 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นในกลุ่ม 3 Hydrocrack-Spec ในเยอรมนีและโซนยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Synthetics-Technology (เกรดสังเคราะห์ที่ผสม Additives สเปคสูง) / หรือถ้าอิงตามมาตรฐาน API ในแถบเอเชียก็คือเทียบเท่าเกรด Fully Synthetics 🔴 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นกลุ่ม 4 หรือ (PAO) ในเยอรมนีและยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Vollsynthetic / Fully Synthetics (เกรดสังเคราะห์แท้ที่ผสม Additives สเปคสูง) #LiquiMolyThailand 🇩🇪 🇹🇭 ☑️ www.liqui-moly.com/ liqui-molythai.com/ ✅
✅ ทำไมน้ำมันเครื่อง Liqui Moly จึงไม่ใช้ Ester Base หรือน้ำมันตั้งต้นกรุ๊ป 5 เพื่อใช้การผลิตน้ำมันเครื่องที่จัดจำหน่ายทั่วโลก จริงๆไม่ใช่ Ester นั้นจะไม่มีข้อดี แต่มันเป็นเรื่องของมาตรฐานสำหรับการใช้งานในระยะยาวที่สามารถคงประสิทธิภาพได้อย่างต่อเนื่องโดยมีผลทางลบน้อยที่สุด สำหรับ Base Oil group ที่เหมาะสมกับการทำน้ำมันเครื่องสำหรับใช้กับเครื่องยนต์ทั่วไปและมีเอฟเฟคในทางลบน้อยที่ทางผู้ผลิตจากเยอรมนีแนะนำก็คือ Group I, Group II, Group III, Group III+, Group IV / (PAO = Polyalphaolefines) ☑️ ⚡Base oil Group 5 = Naphthenics, Esters, etc จะถือเป็นกลุ่มเฉพาะที่เหมาะสมกับรถแข่งที่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์เป็นพิเศษแล้ว เช่นใช้เชื้อเพลิงจำพวกแอลกอฮอลล์ตั้งแต่85%ขึ้นไป หรือ Ethanol-100% และพวก Octance ผสมพิเศษที่ใช้ในการแข่งขัน อาทิรถแข่ง F1 หรือ การแข่งขันประเภท Drag Racing แต่อาจไม่เหมาะสมในการใช้กับรถยนต์ทั่วไปหรือรถที่ไม่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์มามากหรือรถยนต์วิ่งบนถนน (Street Use) ทั่วๆไป ❗เนื่องจาก Ester Base นั้นมีคุณสมบัติที่โดดเด่นของโมเลกุลในการยึดเกาะผิวโลหะและคงสภาพได้ดีแม้ในสภาวะที่มีความร้อนและแรงเฉือนสูงแต่มันก็มีผลข้างเคียงคือมีเอฟเฟคในการกัดกร่อนที่สูงซึ่งอาจจะทำปฏิกิริยาที่เป็นอันตรายกับซีลยางอุตสาหกรรมที่ใช้ในรถทั่วไปถ้าผสม Ester ในอัตราส่วนที่มากจนเกินไป ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลที่ว่าทางผู้ผลิตรถยนต์ / เครื่องยนต์จะไม่มีการ Approve API GroupV เพียวๆนี้สำหรับรถที่เป็นกลุ่ม Street Use หรือที่ใช้งานปกติทั่วไปรวมถึงรถ Standard จากโรงงานผู้ผลิตยานยนต์นั่นเอง กลุ่มนี้จึงเหมาะสำหรับใช้ในการแข่งขันเป็นหลักเท่านั้น 🔥 ส่วนตัวสินค้าประเภทน้ำมันเครื่องของแบรนด์ Liqui Moly ที่เรานำเข้ามานั้นใช้ Base oil ตั้งต้นที่เป็น Group III และ Group IV ชนิด Hi-Spec Level + Special Additives สูตรเฉพาะเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต ซึ่งแต่ละสูตรนั้นก็มีความโดดเด่นที่แตกต่างกันไปซึ่งเหมาะสมและใช้งานได้ดีรวมทั้งมีมาตรฐานการรับรองจากสถาบันต่างๆและค่ายผู้ผลิตยานยนต์มากมายทั่วโลก ซึ่งแต่ละปรูฟหรือมาตรฐานต่างๆบนฉลากสินค้าต้องมีการรับรองอย่างถูกต้องตามกฏหมายจากผู้ผลิตยานยนต์ค่ายต่างๆแล้วเท่านั้นจึงเหมาะสมกับยานยนต์ที่ใช้ในปัจจุบันทั้งรถทั่วไปรวมไปถึงรถที่สำหรับใช้ในการแข่งขันนั้นก็ย่อมได้ เพียงแค่เลือกให้ถูกเบอร์ ถูกสเปคและตรงกับความต้องการที่แท้จริงของเครื่องยนต์ของเรานั่นเอง. 🔵 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นในกลุ่ม 3 Hydrocrack-Spec ในเยอรมนีและโซนยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Synthetics-Technology (เกรดสังเคราะห์ที่ผสม Additives สเปคสูง) / หรือถ้าอิงตามมาตรฐาน API ในแถบเอเชียก็คือเทียบเท่าเกรด Fully Synthetics 🔴 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นกลุ่ม 4 หรือ (PAO) ในเยอรมนีและยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Vollsynthetic / Fully Synthetics (เกรดสังเคราะห์แท้ที่ผสม Additives สเปคสูง) #LiquiMolyThailand 🇩🇪 🇹🇭 ☑️ www.liqui-moly.com/ liqui-molythai.com/ ✅
ลิควิโมลี10w40 0.8
กับ วาโวลีนสังเคราะห์ร้อย10W40
อันไหนดีกว่ากันครับ
เท่าที่ลอง ส่วนตัวเทไปทาง Moly
ขอบคุณครับกดติดตามแล้วครับ
Fonza350
ใช้ scooter race
ได้ใช่มั้ยครับคุณพี่
ใช้ได้ครับ
่ช่วยแนะนำหน่อยครับ ว่านำ้มันเครื่อง แต่ล่ะยี่ห้อ อยู่Grop ไหน บ้าง
เห็นคนบอกว่ามีของแท้ ของปลอม พอจะมีวิธีเช็คไหมครับว่าของแท้ ปลอม เป็นยังไงครับ ?
ตัว Scooter ตัวนี้วิ่งได้ ถึง5,000 โล ไหมครับพี่
ที่ผมชอบของแบนนี้คือ น้ำยาทำความสะอาดเครื่อง และน้ำยาล้างหัวฉีด😊
ถูกครับ 3ตัวนี้คนเข้าใจกันว่ามันคือสังเคราะห์100 จิงไม่ใช่ มันกึ่งสังเคราะห์
✅ ทำไมน้ำมันเครื่อง Liqui Moly จึงไม่ใช้ Ester Base หรือน้ำมันตั้งต้นกรุ๊ป 5 เพื่อใช้การผลิตน้ำมันเครื่องที่จัดจำหน่ายทั่วโลก จริงๆไม่ใช่ Ester นั้นจะไม่มีข้อดี แต่มันเป็นเรื่องของมาตรฐานสำหรับการใช้งานในระยะยาวที่สามารถคงประสิทธิภาพได้อย่างต่อเนื่องโดยมีผลทางลบน้อยที่สุด สำหรับ Base Oil group ที่เหมาะสมกับการทำน้ำมันเครื่องสำหรับใช้กับเครื่องยนต์ทั่วไปและมีเอฟเฟคในทางลบน้อยที่ทางผู้ผลิตจากเยอรมนีแนะนำก็คือ Group I, Group II, Group III, Group III+, Group IV / (PAO = Polyalphaolefines) ☑️
⚡Base oil Group 5 = Naphthenics, Esters, etc จะถือเป็นกลุ่มเฉพาะที่เหมาะสมกับรถแข่งที่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์เป็นพิเศษแล้ว เช่นใช้เชื้อเพลิงจำพวกแอลกอฮอลล์ตั้งแต่85%ขึ้นไป หรือ Ethanol-100% และพวก Octance ผสมพิเศษที่ใช้ในการแข่งขัน อาทิรถแข่ง F1 หรือ การแข่งขันประเภท Drag Racing แต่อาจไม่เหมาะสมในการใช้กับรถยนต์ทั่วไปหรือรถที่ไม่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์มามากหรือรถยนต์วิ่งบนถนน (Street Use) ทั่วๆไป
❗เนื่องจาก Ester Base นั้นมีคุณสมบัติที่โดดเด่นของโมเลกุลในการยึดเกาะผิวโลหะและคงสภาพได้ดีแม้ในสภาวะที่มีความร้อนและแรงเฉือนสูงแต่มันก็มีผลข้างเคียงคือมีเอฟเฟคในการกัดกร่อนที่สูงซึ่งอาจจะทำปฏิกิริยาที่เป็นอันตรายกับซีลยางอุตสาหกรรมที่ใช้ในรถทั่วไปถ้าผสม Ester ในอัตราส่วนที่มากจนเกินไป ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลที่ว่าทางผู้ผลิตรถยนต์ / เครื่องยนต์จะไม่มีการ Approve API GroupV เพียวๆนี้สำหรับรถที่เป็นกลุ่ม Street Use หรือที่ใช้งานปกติทั่วไปรวมถึงรถ Standard จากโรงงานผู้ผลิตยานยนต์นั่นเอง กลุ่มนี้จึงเหมาะสำหรับใช้ในการแข่งขันเป็นหลักเท่านั้น
🔥 ส่วนตัวสินค้าประเภทน้ำมันเครื่องของแบรนด์ Liqui Moly ที่เรานำเข้ามานั้นใช้ Base oil ตั้งต้นที่เป็น Group III และ Group IV ชนิด Hi-Spec Level + Special Additives สูตรเฉพาะเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต ซึ่งแต่ละสูตรนั้นก็มีความโดดเด่นที่แตกต่างกันไปซึ่งเหมาะสมและใช้งานได้ดีรวมทั้งมีมาตรฐานการรับรองจากสถาบันต่างๆและค่ายผู้ผลิตยานยนต์มากมายทั่วโลก ซึ่งแต่ละปรูฟหรือมาตรฐานต่างๆบนฉลากสินค้าต้องมีการรับรองอย่างถูกต้องตามกฏหมายจากผู้ผลิตยานยนต์ค่ายต่างๆแล้วเท่านั้นจึงเหมาะสมกับยานยนต์ที่ใช้ในปัจจุบันทั้งรถทั่วไปรวมไปถึงรถที่สำหรับใช้ในการแข่งขันนั้นก็ย่อมได้ เพียงแค่เลือกให้ถูกเบอร์ ถูกสเปคและตรงกับความต้องการที่แท้จริงของเครื่องยนต์ของเรานั่นเอง.
🔵 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นในกลุ่ม 3 Hydrocrack-Spec ในเยอรมนีและโซนยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Synthetics-Technology (เกรดสังเคราะห์ที่ผสม Additives สเปคสูง) / หรือถ้าอิงตามมาตรฐาน API ในแถบเอเชียก็คือเทียบเท่าเกรด Fully Synthetics
🔴 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นกลุ่ม 4 หรือ (PAO) ในเยอรมนีและยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Vollsynthetic / Fully Synthetics (เกรดสังเคราะห์แท้ที่ผสม Additives สเปคสูง)
#LiquiMolyThailand 🇩🇪 🇹🇭
☑️ www.liqui-moly.com/ liqui-molythai.com/ ✅
ของ150เกียร์ ควรใช่ตัวใหนคับ
street กับ formula ต่างกันยังไงครับ (เห็นว่าเป็น กึ่งสังเคราะห์ group 3 เหมือนกัน) ทำไม street แพงกว่า
Liqui Moly เค้าเน้นที่ Additive ครับ ดังนั้น ที่ทำให้ราคา 2 รุ่นนี้ต่างกันหลักๆ เลยคือ สารเติมแต่งที่แตกต่างไปในแต่ละสูตรครับ
แอมซอย "จบสุด ไม่เคยเปลี่ยนใจ
ลากเกียร์ยาวๆอัดข้ามจังหวัดสบายๆ
ก็ว่าละ แบรนนี้ก็โคตรดัง แต่ไม่ค่อยเห็นมีใครเล่น ไม่เจอใครแนะนำกัน กึ่งสังเคราะห์ราคานี้ไปสังเคราะห์100 ตัวอื่นดีกว่า
✅ ทำไมน้ำมันเครื่อง Liqui Moly จึงไม่ใช้ Ester Base หรือน้ำมันตั้งต้นกรุ๊ป 5 เพื่อใช้การผลิตน้ำมันเครื่องที่จัดจำหน่ายทั่วโลก จริงๆไม่ใช่ Ester นั้นจะไม่มีข้อดี แต่มันเป็นเรื่องของมาตรฐานสำหรับการใช้งานในระยะยาวที่สามารถคงประสิทธิภาพได้อย่างต่อเนื่องโดยมีผลทางลบน้อยที่สุด สำหรับ Base Oil group ที่เหมาะสมกับการทำน้ำมันเครื่องสำหรับใช้กับเครื่องยนต์ทั่วไปและมีเอฟเฟคในทางลบน้อยที่ทางผู้ผลิตจากเยอรมนีแนะนำก็คือ Group I, Group II, Group III, Group III+, Group IV / (PAO = Polyalphaolefines) ☑️
⚡Base oil Group 5 = Naphthenics, Esters, etc จะถือเป็นกลุ่มเฉพาะที่เหมาะสมกับรถแข่งที่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์เป็นพิเศษแล้ว เช่นใช้เชื้อเพลิงจำพวกแอลกอฮอลล์ตั้งแต่85%ขึ้นไป หรือ Ethanol-100% และพวก Octance ผสมพิเศษที่ใช้ในการแข่งขัน อาทิรถแข่ง F1 หรือ การแข่งขันประเภท Drag Racing แต่อาจไม่เหมาะสมในการใช้กับรถยนต์ทั่วไปหรือรถที่ไม่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์มามากหรือรถยนต์วิ่งบนถนน (Street Use) ทั่วๆไป
❗เนื่องจาก Ester Base นั้นมีคุณสมบัติที่โดดเด่นของโมเลกุลในการยึดเกาะผิวโลหะและคงสภาพได้ดีแม้ในสภาวะที่มีความร้อนและแรงเฉือนสูงแต่มันก็มีผลข้างเคียงคือมีเอฟเฟคในการกัดกร่อนที่สูงซึ่งอาจจะทำปฏิกิริยาที่เป็นอันตรายกับซีลยางอุตสาหกรรมที่ใช้ในรถทั่วไปถ้าผสม Ester ในอัตราส่วนที่มากจนเกินไป ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลที่ว่าทางผู้ผลิตรถยนต์ / เครื่องยนต์จะไม่มีการ Approve API GroupV เพียวๆนี้สำหรับรถที่เป็นกลุ่ม Street Use หรือที่ใช้งานปกติทั่วไปรวมถึงรถ Standard จากโรงงานผู้ผลิตยานยนต์นั่นเอง กลุ่มนี้จึงเหมาะสำหรับใช้ในการแข่งขันเป็นหลักเท่านั้น
🔥 ส่วนตัวสินค้าประเภทน้ำมันเครื่องของแบรนด์ Liqui Moly ที่เรานำเข้ามานั้นใช้ Base oil ตั้งต้นที่เป็น Group III และ Group IV ชนิด Hi-Spec Level + Special Additives สูตรเฉพาะเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต ซึ่งแต่ละสูตรนั้นก็มีความโดดเด่นที่แตกต่างกันไปซึ่งเหมาะสมและใช้งานได้ดีรวมทั้งมีมาตรฐานการรับรองจากสถาบันต่างๆและค่ายผู้ผลิตยานยนต์มากมายทั่วโลก ซึ่งแต่ละปรูฟหรือมาตรฐานต่างๆบนฉลากสินค้าต้องมีการรับรองอย่างถูกต้องตามกฏหมายจากผู้ผลิตยานยนต์ค่ายต่างๆแล้วเท่านั้นจึงเหมาะสมกับยานยนต์ที่ใช้ในปัจจุบันทั้งรถทั่วไปรวมไปถึงรถที่สำหรับใช้ในการแข่งขันนั้นก็ย่อมได้ เพียงแค่เลือกให้ถูกเบอร์ ถูกสเปคและตรงกับความต้องการที่แท้จริงของเครื่องยนต์ของเรานั่นเอง.
🔵 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นในกลุ่ม 3 Hydrocrack-Spec ในเยอรมนีและโซนยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Synthetics-Technology (เกรดสังเคราะห์ที่ผสม Additives สเปคสูง) / หรือถ้าอิงตามมาตรฐาน API ในแถบเอเชียก็คือเทียบเท่าเกรด Fully Synthetics
🔴 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นกลุ่ม 4 หรือ (PAO) ในเยอรมนีและยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Vollsynthetic / Fully Synthetics (เกรดสังเคราะห์แท้ที่ผสม Additives สเปคสูง)
#LiquiMolyThailand 🇩🇪 🇹🇭
☑️ www.liqui-moly.com/ liqui-molythai.com/ ✅
กึ่งสังเคราะห์ที่ดีกว่าสังเคราะห์ 100% ของหลายๆแบรน เพราะมาตรฐานของเขาสูงใช้น้ำมันกรุ๊ป3 อย่างต่ำถ้าเป็นแบรนอื่นจะติดป้ายเป็นสังเคราะห์100%
ไม่มีใครเล่นเพราะราคามันแพงก็ตามคุณภาพ ไหนรองยกตัวอย่างสังเคราะห์100 ยี่ห้ออื่นๆมาที
พี่ครับตัวฉลากแดงผมไปดูมา มันจะของ scooter กับ street มันต่างกันยังไงหรอครับผมดูในช๊อปปี้ รายละเอียดบอกเหมือนกันเป๊ะเลย
มันบอกว่าใช้กับครัชเปียกได้ แต่กล่องเขียน scooter
ไม่ดีครับ แพง แค่กึ่งสังเคราะห์ราคาแพงกว่าสังเคราะห์แท้ของยี่ห้ออื่น ผมลองแล้วสู้สังเคราะห์แท้100%ของยี่ห้ออื่นไม่ได้ ตอนวิ่งความเร็วสูงเครื่องร้อนๆแตกต่างชัดเจน เสียงเครื่องดังกว่า ผมซื้อมาก็คิดว่าสังเคราะห์100% เหมือนโดนหรอก เสียตังค์ฟรีต้องถ่ายออก เอาเชลล์100%ใส่เหมือนเดิม
อย่าหาใส่ เสียความหวังและตั้งใจมากกะว่าใส่ของดีๆราคาแรงหน่อยก็เอา แต่ห่วยขั้นเทพเมื่อเทียบกับราคา เอาง่ายๆเชลล์สังเคราะห์100% ราคา350. แต่Liqui Molyกึ่งสังเคราะห์ตัวนี้แหล่ะ 450. ผมว่ามีเล่ห์เหลี่ยมทางการตลาดเพื่อทำราคาเกินไป มาดูคลิปนี้ถึงบางอ้อ แค่กึ่งสังเคราะห์ ถึงว่าผมขี่มันสัมผัสได้เลยว่ามันต่างกันชัดผมก็คิดทำไมมันห่วยกว่าน้ำมันเครื่องเดิมที่ถ่ายออก คงต้องบอกลา กลับไปกินเชลล์เหมือนเดิมคุ้มค่าไม่ผิดหวัง บ่นซะเยอะขอสักที
ยี่ห้ออื่นที่บอกเป็นสังเคราะห์แท้ สังเคราะห์ 100 เท่าที่เห็น ก็เป็น กรุ๊ป3 นะครับ ซึ่งหลายๆประเทศก็ให้การยอมรับว่า กรุ๊ป 3 เทียบเท่ากับ fully แต่บางประเทศที่เข้มงวดเรื่องกฏหมายสิ่งแวดล้อมก็อาจจะไม่ให้การยอมรับ
โดยสังเคราะห์แท้(แท้ๆ) มันคือกรุ๊ป 4 ที่เป็น pao หรือ กรุ๊ป 5 ซึ่งราคาค่อนข้างโดดไปเยอะ 1ลิตร ไม่ต่ำกว่า 600-700 บาท หลายๆยี่ห้อก็จะระบุไปด้วยเลยว่าเป็น pao หรือ ester
มองในแง่ดี liqui moly เค้าอาจจะไม่ได้หลอกครับ เผลอๆจะตรงไปตรงมากว่าหลายๆยี่ห้อที่เลียงบาลีด้วยซ้ำ ซึ่งเค้าไม่ระบุว่า fully แต่เค้ามาเน้นในเรื่องของเทคโนฯไฮโดรแคร็คที่เป็นเทคโนโลยีในการเพิ่มประสิทธิ่ภาพน้ำมันและ สารเติมแต่งที่เค้าขึ้นชื่อแทน
ส่วนในเรื่องการใช้งาน ไม่ทราบเหมือนกันเพราะยังไม่เคยลอง แต่ก็เคยเห็นหลายๆคนลองแล้วก็แตกต่างกันไปในทัศนะ ครับ
ไม่ได้อวยนะครับ เพราะยังไม่เคยลอง และกำลังจะลองของเชลล์อยู่
ผมก็ไม่รู้หรอก แต่เขาเขียนชัดว่า 100% SYNTHETIC ผมอาศัยความรู้สึกเวลาขี่มันหรอกผมไม่ได้เหมือนตัวหนังสือ
ruclips.net/video/xfuxe8_KOi0/видео.html
@@foreverlucky6287 สอบถามหน่อยครับพี่สังเคราะห์ 100 ของเชลล์กับของแอมซอย 2 ตัวนี้อันไหนดีกว่ากันครับในราคาที่ไล่เลี่ยกัน 290บาทขอบคุณครับ
@@สานิตย์มณีล้ํา-ณ2ญผมเชียร์แอม ซอยครับ ลื่นเลยถ้ารถบ้านเดิมๆลากไปได้4-5พันเลยเกียร์ไม่แข็งนิ่มๆ
ผมใช่มาตั้งเเต่ออกรถ ถือว่าดีนะครับ
ขนาดกึ่งสังเคราะห์เเต่ก็โอเคเลย
ถ้าเทียบของศูนย์ที่เป็นสังเคราะห์แท้ตัวไหนดีกว่า
@@channaronglappa6036 ลิควิโมลี่ดีกว่าอยู่แล้วครับ นมค.ศูนย์มันไม่ได้เรื่อง
โดนป้ายยามาจากช่องๆนึง แล้วมาช่องนี้เอ้าโดนต้ม5555
แบรนด์นี้กับโมตุลสังเคราะแท้ตัวไหนน่าใช้กว่ากันครับ
ผมเอาความคุ้มค่าเป็นตัวตั้งนะครับ ถ้าราคาสังเคราะห์แท้ ผมเลือก Motul 7100 ครับ ถูกกว่าและ ได้ Ester ซึ่งเป็น Base oil กรุ๊ป 5
@@house_husband งั้นผมใช้โมตุลต่อไปครับ ขอบคุณมากครับพี่ พวกนี้ได้กี่โลครับ
ตัว scooter สีส้มเป็นน้ำกรุ๊ปอะไรครับ และ ทำไมกึ่งสังเคราะห์ตัวนี้ราคา 290 ถึงแพงกว่าเจ้าอื่นครับ
ข้อเสียข้อเดียวของแร่ในน้ำมัน ก็คือ แร่พวกนี้เวลาผสมกับเขม่าจากห้องเผาไหม้ มันจะจับตัวเหนียวเลอะฝังแน่นเกาะติดผนังเครื่องได้ง่ายกว่าFullyทั่วไป ต้องถอดมาล้าง ฟลัชเครื่อง บ่อยกว่า แต่มันจะไม่บ่อยเท่า ไม่เหนียวติดหนักหนาเท่าน้ำมันแร่ราคาถูกธรรมดาๆแน่นอน
ส่วนข้อดีของแร่พวกนี้ ก็คือ มันดักจับเขม่าที่มาจากห้องเผาไหม้ได้ดี ทำให้ห้องเผาไหม้สะอาด เขม่าในห้องเผาไหม้จะน้อย ทำให้อัตราเร่ง ระบบไฟ ไอดี ไอเสีย ไหลเวียนดีขึ้น เผาไหม้สะอาดขึ้น แถมยืดอายุการใข้งานทั้งห้องเผาไหม้ ชุดลูกสูบ ระบบวาล์ว น้ำมัน ไอดี ไอเสีย ลดเขม่าที่จะเข้าไปสะสมเป็นขี้เกลือในระยะยาว จนชิ้นส่วนติดขัด ลามไปถึงขั้นเครื่องสึกอีกด้วย ( คุณจะเลือกล้างห้องเผาไหม้ เปลี่ยนอะไหล่วาล์ว ลูกสูบ
หรือ แค่ล้างผิวๆ อุปกรณ์ทั่วไปในเครื่อง แต่ไม่ลึกถึงห้องเผาไหม้ล่ะ ? )
จริงๆแล้ว Fully ยี่ห้อทั่วไป มันก็มีเทคโนโลยีเเบบเเร่ช่วยดักจับเขม่าห้องเผาไหม้อยู่แล้ว แถมไม่ต้องล้างเครื่องบ่อยด้วย แต่เขาขายความวินเทจขายแบรนด์แหละ ขายคุณภาพด้วยการสื่อว่า น้ำมันเครื่องที่ดี มันควรจะมีคุณสมบัติอะไรบ้าง ไม่ว่าจะเป็น หล่อลื่นดี คงทนสถานะความหนืดความไขในอุณหภูมิสุดขั้วทั้งร้อนทั้งเย็นได้ดี มีหัวเชื้อวิตามินสารหล่อลื่นเคลือบผิวเครื่องลดการสึกหรอผสมอยู่ มีคุณสมบัติดักจับสิ่งสกปรกจากเขม่าการเผาไหม้ได้ดี ซึ่ง liqui moly มีครบ
เรื่องความลื่น ความถนอมผิวเครื่อง ดักจับเขม่า อายุการใช้งาน ไม่เเพ้Fullyเลย แถมมีวิตามินเช้มข้นที่Fullyบางตัว ไม่มี
ของแพงมันต้องมีคุณภาพอยู่แล้ว อย่าอัคติเพราะแค่มันเป็นน้ำมันแร่ มันก็มีข้อดี
คงจะเหมาะกับพวกสายวินเทจ ชอบรสดั้งเดิม
พวกเน้นเเบรนด์เก่าแก่ ชอบของมีคุณภาพ
และก็พวกหมั่นดูแลดีจัดๆอ่ะ มีเงิน มีเวลา ฟลัชเครื่องทุกครั้งที่ถ่ายน้ำมัน ผ่าล้างเครื่องปีละ1-2ครั้ง รักรถยิ่งกว่าเมีย ถึงจะตอบโจทย์กับตัวนี้ที่สุด
หลายคนไม่รู้ เพราะ เยอรมันเขาไม่เรียกกรุ๊ป3 100% แต่ในไทยกรุ๊ป3 ก็เรียกตัวเอง100%แล้ว เลยพิมพ์มา100%ไม่ได้
แต่น้ำมันเขาคุณภาพมาก
✅ ทำไมน้ำมันเครื่อง Liqui Moly จึงไม่ใช้ Ester Base หรือน้ำมันตั้งต้นกรุ๊ป 5 เพื่อใช้การผลิตน้ำมันเครื่องที่จัดจำหน่ายทั่วโลก จริงๆไม่ใช่ Ester นั้นจะไม่มีข้อดี แต่มันเป็นเรื่องของมาตรฐานสำหรับการใช้งานในระยะยาวที่สามารถคงประสิทธิภาพได้อย่างต่อเนื่องโดยมีผลทางลบน้อยที่สุด สำหรับ Base Oil group ที่เหมาะสมกับการทำน้ำมันเครื่องสำหรับใช้กับเครื่องยนต์ทั่วไปและมีเอฟเฟคในทางลบน้อยที่ทางผู้ผลิตจากเยอรมนีแนะนำก็คือ Group I, Group II, Group III, Group III+, Group IV / (PAO = Polyalphaolefines) ☑️
⚡Base oil Group 5 = Naphthenics, Esters, etc จะถือเป็นกลุ่มเฉพาะที่เหมาะสมกับรถแข่งที่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์เป็นพิเศษแล้ว เช่นใช้เชื้อเพลิงจำพวกแอลกอฮอลล์ตั้งแต่85%ขึ้นไป หรือ Ethanol-100% และพวก Octance ผสมพิเศษที่ใช้ในการแข่งขัน อาทิรถแข่ง F1 หรือ การแข่งขันประเภท Drag Racing แต่อาจไม่เหมาะสมในการใช้กับรถยนต์ทั่วไปหรือรถที่ไม่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์มามากหรือรถยนต์วิ่งบนถนน (Street Use) ทั่วๆไป
❗เนื่องจาก Ester Base นั้นมีคุณสมบัติที่โดดเด่นของโมเลกุลในการยึดเกาะผิวโลหะและคงสภาพได้ดีแม้ในสภาวะที่มีความร้อนและแรงเฉือนสูงแต่มันก็มีผลข้างเคียงคือมีเอฟเฟคในการกัดกร่อนที่สูงซึ่งอาจจะทำปฏิกิริยาที่เป็นอันตรายกับซีลยางอุตสาหกรรมที่ใช้ในรถทั่วไปถ้าผสม Ester ในอัตราส่วนที่มากจนเกินไป ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลที่ว่าทางผู้ผลิตรถยนต์ / เครื่องยนต์จะไม่มีการ Approve API GroupV เพียวๆนี้สำหรับรถที่เป็นกลุ่ม Street Use หรือที่ใช้งานปกติทั่วไปรวมถึงรถ Standard จากโรงงานผู้ผลิตยานยนต์นั่นเอง กลุ่มนี้จึงเหมาะสำหรับใช้ในการแข่งขันเป็นหลักเท่านั้น
🔥 ส่วนตัวสินค้าประเภทน้ำมันเครื่องของแบรนด์ Liqui Moly ที่เรานำเข้ามานั้นใช้ Base oil ตั้งต้นที่เป็น Group III และ Group IV ชนิด Hi-Spec Level + Special Additives สูตรเฉพาะเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต ซึ่งแต่ละสูตรนั้นก็มีความโดดเด่นที่แตกต่างกันไปซึ่งเหมาะสมและใช้งานได้ดีรวมทั้งมีมาตรฐานการรับรองจากสถาบันต่างๆและค่ายผู้ผลิตยานยนต์มากมายทั่วโลก ซึ่งแต่ละปรูฟหรือมาตรฐานต่างๆบนฉลากสินค้าต้องมีการรับรองอย่างถูกต้องตามกฏหมายจากผู้ผลิตยานยนต์ค่ายต่างๆแล้วเท่านั้นจึงเหมาะสมกับยานยนต์ที่ใช้ในปัจจุบันทั้งรถทั่วไปรวมไปถึงรถที่สำหรับใช้ในการแข่งขันนั้นก็ย่อมได้ เพียงแค่เลือกให้ถูกเบอร์ ถูกสเปคและตรงกับความต้องการที่แท้จริงของเครื่องยนต์ของเรานั่นเอง.
🔵 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นในกลุ่ม 3 Hydrocrack-Spec ในเยอรมนีและโซนยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Synthetics-Technology (เกรดสังเคราะห์ที่ผสม Additives สเปคสูง) / หรือถ้าอิงตามมาตรฐาน API ในแถบเอเชียก็คือเทียบเท่าเกรด Fully Synthetics
🔴 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นกลุ่ม 4 หรือ (PAO) ในเยอรมนีและยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Vollsynthetic / Fully Synthetics (เกรดสังเคราะห์แท้ที่ผสม Additives สเปคสูง)
#LiquiMolyThailand 🇩🇪 🇹🇭
☑️ www.liqui-moly.com/ liqui-molythai.com/ ✅
ผ่า ล้างเครื่องปีละครั้งสองครั้งเลยเหรอ????😢😢😢
ผม ผู้ใช้ ตัวสตรีทมาตลอด พึ่งรู้ว่า มันไม่ใช่สังเคราะห์ 100% 😅😅😅
มันมี 15w50 มีมาตรฐาน SL แต่ตัว 10w40 มีมาตรฐาน SN Plus ผมยังงงอยู่ครับ
slตัวเก่าครับ ไม่ดี ต้องsn
สังเคราะห์แท้ 100% คือ กรุ๊ป 4,5 ใช่ไหม
ถ้ายี่ห้อนี้ สังเคราะห์ 100 ใช้กรุ๊ป 4 ครับ PAO (Polyalphaolefin)
ข้อมูลถูกหมดครับ ตัวสตีท10-40 เกือบทุกคนคิดว่ามันคือสังเคราะ100 ที่จิงมันคือกึ่งสังเคราห์ ตรงฉลากไม่เขียนเลยว่า สังเคราะ100
เพราะมาตรฐานเยอรมันเขาไม่เรียกกรุ๊ป3 100%ครับ แต่ถ้าไทยผลิตกรุ๊ป3 ก็เรียกตัวเอง100%แล้ว
✅ ทำไมน้ำมันเครื่อง Liqui Moly จึงไม่ใช้ Ester Base หรือน้ำมันตั้งต้นกรุ๊ป 5 เพื่อใช้การผลิตน้ำมันเครื่องที่จัดจำหน่ายทั่วโลก จริงๆไม่ใช่ Ester นั้นจะไม่มีข้อดี แต่มันเป็นเรื่องของมาตรฐานสำหรับการใช้งานในระยะยาวที่สามารถคงประสิทธิภาพได้อย่างต่อเนื่องโดยมีผลทางลบน้อยที่สุด สำหรับ Base Oil group ที่เหมาะสมกับการทำน้ำมันเครื่องสำหรับใช้กับเครื่องยนต์ทั่วไปและมีเอฟเฟคในทางลบน้อยที่ทางผู้ผลิตจากเยอรมนีแนะนำก็คือ Group I, Group II, Group III, Group III+, Group IV / (PAO = Polyalphaolefines) ☑️
⚡Base oil Group 5 = Naphthenics, Esters, etc จะถือเป็นกลุ่มเฉพาะที่เหมาะสมกับรถแข่งที่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์เป็นพิเศษแล้ว เช่นใช้เชื้อเพลิงจำพวกแอลกอฮอลล์ตั้งแต่85%ขึ้นไป หรือ Ethanol-100% และพวก Octance ผสมพิเศษที่ใช้ในการแข่งขัน อาทิรถแข่ง F1 หรือ การแข่งขันประเภท Drag Racing แต่อาจไม่เหมาะสมในการใช้กับรถยนต์ทั่วไปหรือรถที่ไม่มีการปรับแต่งเครื่องยนต์มามากหรือรถยนต์วิ่งบนถนน (Street Use) ทั่วๆไป
❗เนื่องจาก Ester Base นั้นมีคุณสมบัติที่โดดเด่นของโมเลกุลในการยึดเกาะผิวโลหะและคงสภาพได้ดีแม้ในสภาวะที่มีความร้อนและแรงเฉือนสูงแต่มันก็มีผลข้างเคียงคือมีเอฟเฟคในการกัดกร่อนที่สูงซึ่งอาจจะทำปฏิกิริยาที่เป็นอันตรายกับซีลยางอุตสาหกรรมที่ใช้ในรถทั่วไปถ้าผสม Ester ในอัตราส่วนที่มากจนเกินไป ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลที่ว่าทางผู้ผลิตรถยนต์ / เครื่องยนต์จะไม่มีการ Approve API GroupV เพียวๆนี้สำหรับรถที่เป็นกลุ่ม Street Use หรือที่ใช้งานปกติทั่วไปรวมถึงรถ Standard จากโรงงานผู้ผลิตยานยนต์นั่นเอง กลุ่มนี้จึงเหมาะสำหรับใช้ในการแข่งขันเป็นหลักเท่านั้น
🔥 ส่วนตัวสินค้าประเภทน้ำมันเครื่องของแบรนด์ Liqui Moly ที่เรานำเข้ามานั้นใช้ Base oil ตั้งต้นที่เป็น Group III และ Group IV ชนิด Hi-Spec Level + Special Additives สูตรเฉพาะเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต ซึ่งแต่ละสูตรนั้นก็มีความโดดเด่นที่แตกต่างกันไปซึ่งเหมาะสมและใช้งานได้ดีรวมทั้งมีมาตรฐานการรับรองจากสถาบันต่างๆและค่ายผู้ผลิตยานยนต์มากมายทั่วโลก ซึ่งแต่ละปรูฟหรือมาตรฐานต่างๆบนฉลากสินค้าต้องมีการรับรองอย่างถูกต้องตามกฏหมายจากผู้ผลิตยานยนต์ค่ายต่างๆแล้วเท่านั้นจึงเหมาะสมกับยานยนต์ที่ใช้ในปัจจุบันทั้งรถทั่วไปรวมไปถึงรถที่สำหรับใช้ในการแข่งขันนั้นก็ย่อมได้ เพียงแค่เลือกให้ถูกเบอร์ ถูกสเปคและตรงกับความต้องการที่แท้จริงของเครื่องยนต์ของเรานั่นเอง.
🔵 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นในกลุ่ม 3 Hydrocrack-Spec ในเยอรมนีและโซนยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Synthetics-Technology (เกรดสังเคราะห์ที่ผสม Additives สเปคสูง) / หรือถ้าอิงตามมาตรฐาน API ในแถบเอเชียก็คือเทียบเท่าเกรด Fully Synthetics
🔴 น้ำมันเครื่องที่ผลิตจาก Base Oil ตั้งต้นกลุ่ม 4 หรือ (PAO) ในเยอรมนีและยุโรปจะใช้ชื่อบนฉลากกำกับไว้ว่า Vollsynthetic / Fully Synthetics (เกรดสังเคราะห์แท้ที่ผสม Additives สเปคสูง)
#LiquiMolyThailand 🇩🇪 🇹🇭
☑️ www.liqui-moly.com/ liqui-molythai.com/ ✅
สอบถามครับฉลากอันแรกที่ติดกับขวดที่เป็นภาษาต่างประเทศนั้นทำไมมันมีตัวหนังรางๆใต้ตัวหนังสืออีกอะครับ