Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
ถุกต้องเลยครับ เจอคำถามนี้แน่นอน ซึ้งผม เรียนจบ ก็ห่างจากเรื่องวงจรไฟฟ้า มา2ปีเลยได้โอกาศเข้ามาทำงาน ซีเนี่ย ดีครับ สอนผมทุกอย่าง เหมือนอาจารย์คนนึงเลย แล้วเข้าใจกว่าตอนเรียนเพราะได้เห็นหน้างานเลย ได้ลองจริงๆเลย
ยินดีด้วยครับ
ขอบคุณที่ทำคลิปออกมาให้ดู มีประโยชน์มากครับ เรียนมาแต่ทฤษฎีในไดอะแกรม มาเห็นของจริงพร้อมเสียงในฟิล์มแล้วเข้าใจขึ้นเยอะ แต่น่ากลัวใช่เล่น ไม่กล้าเอามือไปแตะเล่นเลย การสตาร์ทที่สตาร์ก่อนเพราะกินกระแสแค่ 33% ของเดลต้า ทอร์คมอเตอร์ก็แค่ 33 % ทำให้สตาร์ทนิ่ม ไม่กระชากไฟเพื่อนบ้านรอบข้าง จากนั้นก็เปลี่ยนเกียร์เป็นเดลต้าตามลำดับ ตามนั้นเลยครับ
ขอบคุณครับ กำลังใจ
ขอบคุณครับ.ได้ยินช่วงเปลี่ยนผ่านสตาร์-เดลต้า..ชัดเจนครับผม..😀😀
ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆครับอผม
ได้ความรู้มากครับจารย์
ผ่านมา3 ปี พี่จ่ายหนี้เพื่อนบริษัทเก่าหมดยังคับ 555555 ขอบคุณความรู้คับ
จ่ายหมดแล้วครับ
การต่อแบบสตาร์จะได้แรงบิดสูงครับ เนื่องจากไฟหนึ่งเฟส( จากสามเฟส )จะไหลผ่านคอล์ยมอเตอร์สองชุด ( จากทั้งหมดสามชุด ) ทำให้สร้างแรงบิดได้สูงกว่าการต่อแบบเดลต้า ที่ไฟหนึ่งเฟสจะไหลผ่านคอล์ยแค่หนึ่งคอล์ย การต่อแบบให้มอเตอร์ออกตัวแบบสตาร์จึงนิยมใช้เป็นระบบสตาร์ทมอเตอร์ตัวใหญ่ที่ต้องใช้แรงบิดในการออกตัวสูง เนื่องจากมีคอล์ยสองชุดต่อเฟสช่วยสร้างแรงบิด ต่างจากแบบเดลต้า ที่มีคอล์ยหนึ่งชุดต่อเฟสที่สร้างแรงบิด
ขอบคุณมากครับพี่สำหรับความรู้
ดีกว่าเก็บเอาไว้คนเดียวครับ
หลักการทำคอนโทรลเล่อร์...พื้นฐานง่ายๆก็คือ...3หลักการ...ที่ต้องจำ...พอจำได้แล้ว..งานไฟฟ้าทุกประเภทก็เป็นเรื่องหมูๆ...เรื่องแรกก็คือ...วงจรคอนโทรล...เราต้องรู้ก่อนว่าเราจะใช้อุปกรณ์อะไร? คอนโทรลอะไร?....เรื่องที่สอง...วงจรภาคจ่ายไฟ...โหลดเป็นอุปกรณ์แบบ1หรือ3. เฟส อย่างที่3. อุปกรณ์ป้องกัน(โปรเทคชั่น)...ไม่ว่าจะเป็นการต่อผิด การลัดวงจรโดยไม่ตั้งใจ...หรือ. อุปกรณ์ชำรุดเอง...เช่น อาร์ฟิวส์...โอเวอร์โหลด..เฟสโปรเทคเตอร์...ล้วนแต่มีความสำคัญทั้งสิ้น...ส่วน รายละเอียดของอุปกรณ์...ก็ขึ้นอยู่ กับลูกเล่น ของผู้ออกแบบ..เช่น..อาจจะใช้ พรอกซ์มิตี้ เซนต์เซอร์...นิวแมทิค..มาทำงานร่วมด้วยก็ได้...หรือ. ดิจอทัล. แอคเคาน์ คอลโทรลเลอร์ มาสนับสนุนให้ทำงานได้หลากหลายมากขึ้น...ถ้า รู้ หรือทำเป็นแล้วยิ่งสนุกกับการทดลองมากขึ้น ออกแบบ..เครื่องยนต์กลไก..ที่สร้างสรรค์เองได้...โดยการ..วาง ไดอแกรมเขียนเล่นบนแผ่นกระดาษ ก่อน..ไม่จำเป็น ต้องเป็นโหลดที่มีแต่มอเตอร์ก็ได้...อาจทำคอนโทรลแสงสว่าง...คอนโทรลน้ำให้เปิด-ปิดเป็นเวลาที่เราต้องการ..หรือแม้ กระทั่ง คอนโทรล อุณหภูมิ ทั้งร้อน-ทั้งเย็น..หรือแม้แต่ ออกแบบเครื่องให้อาหารปลา- อาหารหมาได้...
ขอบคุณครับ
ยินดีครับ
แหล่มๆๆๆ อธิบายเข้าใจง่าย
เจ๋งแจ๋วเลยครับน่าสนใจมาก
ฟังพี่เหมือนครูสอน ชอบมากครับพี่ทำต่อเยอะๆครับ
ขอบคุณครับ จะพยายามครับ
ชอบเข้าใจง้ายดี
ขอบคุณครับ นี่แหละครับคือจุดประสงค์
สุดยอดเลยครับท่านได้รับความรู้มากเลยครับตรงสายงานของผมเลยครับท่าน ผมอยากจะขอคำแนะนำและความรู้การต่อวงจรตู้คอนโทรลชุดนี้ครับ
อยากสอนครับ แต่ไม่มีอุปกรณ์ กำลังคิดหาวิธีการอยู่ครับ
นาทีที่ 2:30 อธิบายแบบนี้เป็นอันตรายต่อคนที่จำไปใช้นะครับ เราจะเลือกรันแบบสตาร์หรือเดลต้าตามใจชอบเราไม่ได้นะครับ จะต่อแบบสตาร์หรือเดลต้าเราต้องรู้ว่าขดลวดของมอเตอร์รับแรงดันที่กี่โวลต์ เช่น มอเตอร์ระบุแรงดันที่เนมเพลท 380V ถ้าระบบไฟที่จ่ายให้กับมอเตอร์เป็น 3 เฟส 380V. เราก็ต้องต่อแบบเดลต้า หรือสามารถสตาร์ทแบบสตาร์ก่อนค่อยรันเป็นเดลต้าก็ได้ ถ้าเป็นมอเตอร์ใหญ่แรงม้าสูงๆ เพื่อลดกระแสไฟช่วงสตาร์ท แต่จะรันแบบสตาร์ไปตลอดเหมือนที่บอกไม่ได้นะครับ มอเตอร์ควันขึ้นแน่ จะได้แค่ช่วงสตาร์ททำงานชั่วขณะเท่านั้น สตาร์ลากยาวไม่ได้ มอเตอร์จะร้อนและไหม้ เพราะว่าขดลวดเขาออกแบบมาสำหรับใช้ไฟ 380V. การต่อแบบสตาร์แรงดันตกคร่อมขดลวดจะเหลือแค่ 220V.เท่านั้นครับ ซึ่งแรงดันไม่พอ ถ้ารันลากยาวมันก็เหมือนแรงดันจ่ายให้มอเตอร์ไม่พอ หรือที่เรียกว่าแรงดันตกนะแหละครับถ้าที่เนมเพลทของมอเตอร์ระบุแรงดันเป็น 220/380V. นั่นแสดงว่าขดลวดของมอเตอร์ทนแรงดันได้ที่ 220V ให้ดูที่ค่าต่ำเป็นหลัก ถ้าเรามีระบบไฟ 3 เฟส 220V. เช่นตามโรงงานของญี่ปุ่นเขาจะมีไฟระบบ 3 เฟส 220V. เราก็ต้องต่อแบบเดลต้า จากสูตร Eline = Ephaseแต่ถ้าระบบไฟเป็นระบบ 3 เฟส 380 V. เราก็ต้องต่อแบบสตาร์ เพื่อให้แรงดันจ่ายขดลวดแต่ละขดให้เหลือแรงดันแค่ 220V. ตามสูตรการต่อขดลวดแบบสตาร์ คือ Ephase = Eline / 1.732 หรือ Ephase = 0.58 * Eline คือแรงดันไฟจาก 380V เมื่อตกคร่อมขดลวดแต่ละขดจะเหลือเพียง 58% ของแรงดันที่ไลน์เท่านั้นครับ ถ้าเนมเพลทระบุแบบนี้เราจะเอาไฟ 380V. จ่ายให้มอเตอร์ต่อแบบเดลต้าก็ไม่ได้นะครับ ไหม้เหมือนกัน เพราะเท่ากับจ่ายแรงดัน 380V. เข้าขดลวดโดยตรง ซึ่งขดลวดของมอเตอร์ทนแรงดันได้แค่ 220V. เท่านั้น
ใช่ครับ ยังมีคนที่ไม่เข้าใจเรื่องการอ่าน Nameplate มอเตอร์ 220/380 และ 380/660 อีกมาก ที่ใช้วิธีการจำแต่ไม่ไม่เข้าใจหลักการไฟฟ้า 3 เฟส คิดว่ามอเตอร์ 3 เฟสแบบไหนก็ต่อ Y-Delta ได้ทั้งหมด เรื่องการปรับกระแสที่ O.L. แบบ Y-Delta กับ Direct on lineซึ่งเป็นคนละค่า และขนาดแมกเนติกส์ ขนาดสายเฟสหรือไลน์ ผลก็คือมอเตอร์ใหม้เสียหายตามมา
ขอบคุณท่านอาจารย์ครับ ผมรู่ไม่ลึกซึ้งขนาดนั้นจริงๆครับ ต้องขออภัยด้วยครับ
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ ผมไม่ใช่ครูบาอาจารย์หรอกครับ เป็นช่างไฟฟ้านี่แหละ แต่จะแม่นทฤษฎีและมาตรฐานหน่อยเท่านั้นเอง อาศัยทำงานมานานและชอบศึกษาเพิ่มเติมครับ
แต่ที่ผมสร้างไลน์ผลิตมาในโรงงานหลายที่ ตัวที่เดิน สตาร์ ทั้งวันก็มีหลายตัวนะครับ คือตัวที่ไม่ต้องการใช้ความเร็วมาก (เช่นตัวลูกกลิ้ง และตัวแขนส่ายซ้ายขวา) ก็เดินสตาร์ทั้งวันไม่เห็นมีไหม้สักตัว (ไฟโรงงานก็ใช้ 380 เฟส-เฟส 3เฟส วัด เฟส-นิวตรอน ก็ 220 3 เส้น ไฟแบบเดียวกันนี่แหละครับ) เป็นเพราะอะไรครับ อาจารย์ (อาจารย์คือผู้ที่ให้ความรู้คนอื่นได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นครูผมก็เรียกอาจารย์ได้ครับ)
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ ต้องย้อนกลับไปอ่านที่ผมอธิบาย รับรองว่าทฤษฎีไม่มีผิดครับ ต้องดูที่เนมเพลทของมอเตอร์ ถ้ามันบอกว่า 220/380V. หรือ 230/400V. คือบอกมา 2 ค่า นั่นคือค่าแรงดันไฟที่ใช้กับขดลวดคือ 220V. หรือ 230 V. ถ้าระบบไฟที่จ่ายเป็น 380หรือ400V. คุณต้องต่อแบบสตาร์ เพื่อให้แรงดันตกคร่อมขดลวดเหลือเพียง 220 V. หรือ 230 V. ตามสูตร Eline = 1.732 Ephaseหรือ Ephase = Eline /1.732หรือ Ephase = 0.58*Eline= 0.58*380 V.= 220 V.*** แต่ถ้าที่เนมเพลทของมอเตอร์บอกมาค่าเดียวเช่น 380V. ยังงี้คุณต่อแบบสตาร์ไม่ได้แน่นอน เพราะขดลวดของมอเตอร์มันรับแรงดันไฟ 380 V. ถ้าคุณต่อแบบสตาร์แรงดันไฟจะตกคร่อมขดลวดเพียง 220-230V.เท่านั้นตามที่ได้อธิบายมา คุณต้องต่อแบบเดลต้าถ้าไฟที่จ่ายเป็นไฟแรงดัน 380V. การต่อขดลวดแบบเดลต้า .Eline จะเท่ากับ Ephase คือแรงดันที่จ่ายให้กับมอเตอร์จะเท่ากับแรงดันตกคร่อมในแต่ละเฟสหรือแต่ละขดของมอเตอ์
ขอบคุณคับ
*** ขอเพิ่มเติมอีกเรื่องคือ ขนาดของสายไฟและพิกัดของแม็กเนติกคอนแท็คเตอร์ ขนาดสายไฟสำหรับการต่อแบบสตาร์และเดลต้าไม่จำเป็นต้องมีขนาดโตเท่ากับสายเมนที่มาจากเบรกเกอร์ เพราะว่าการต่อแบบเดลต้า กระแสไฟที่วิ่งผ่านสายไฟไปยังขดลวดมีเพียง 58% ของกระแสไฟที่ไหลผ่านสายเมน และกระแสไฟในการต่อแบบสตาร์กระแสไฟจะมีเพียง 33% ของกระแสไฟที่ไหลผ่านสายเมนในการต่อแบบเดลต้าและแม็กเนติกคอนแท็คเตอร์ของสตาร์ก็ไม่จำเป็นต้องพิกัดเท่ากันกับของเมนและของเดลต้า เพราะว่า กระแสไฟในการต่อแบบสตาร์กินกระแสไฟเพียง 1/3 เท่าของการต่อแบบเดลต้าหรือ 33% ของการต่อแบบเดลต้า
ขอบคุณอาจารย์ครับ สำหรับวิชาการที่เพิ่มเติมให้ ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยด้วยครับ ในฐานะช่างสายปฏิบัติครับ
สมัยก่อนเราใช้แมกนีติกที่สั่งมาจากต่งประเทศราคาแพง ปัจจุบัน อุปกรณ์ในตู้ที่เห็นราคาถูกมากช่างเลยใช้รุ่นเเละขนาดเดียวกัน
สุดยอดคัพ ทำคลิบมาเยอะๆนะคัพ
ขอบคุณครับ สำหรับกำลังใจ อยากทำครับ แต่ไม่ค่อยมีเวลา จะพยายามครับ
เยี่ยม
แวะมาทักทายและเป็นกำลังใจ ว่างๆแวะไปเยี่ยมที่ช่องบ้างนะครับ
ติดตามแล้วครับ
สาย Power Main กับสายเข้ามอเตอร์เดิน THW ลอยๆมัดเคเบิลไทไม่ร้อยท่อเลยหรือ สายมอเตอร์เห็นพาดบนพื้นเหล็กด้วย อันตรายนะครับแบบนี้
ขอบคุณครับ ผมไม่ได้เป็นคนทำครับ ผมเป็นแค่ช่างมาซ่อมวงจรคอนโทรล เวลาที่มันขำรุดครับ
สุดยอดคีบอาจารย์ขอฝากตัวเป็นลูกศิษย์ด้วยคับ
ไม่ถึงขนาดนั้นครับ
ขอดูการต่อสายมอเตอร์หน่อยครับ หกสายต่อยังไงครับ
ที่จริงมันต่อมาจาก 3 สายนั่นแหละครับ แต่มันแยกออกสายละ 2 ปลาย ทำให้กลายเป็น 6 สาย
ขอบคุณมากๆคับ
เข้าใจภายในไม่กี่นาที สมัยเป็นนักศึกษาเรียนเป็นปีสองปียังไม่เข้าใจ ไม่ตั้งใจเรียนด้วยแหละ อย่าว่าผมโง่เลย 555555
ตอนเรียมผมก็ไม่รู้เรื่องเหมือนกันครับ(พ.ศ.2538) พอไปทำงานแล้วเจอหน้างานของจริงถึงได้เข้าใจ
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ เขาถึงได้บอกไงครับประสบการ์ณสพคัญกว่าความรู้ถ้าเราเรียนเอาแค่ความรู้แต่ไม่มีประสบการณ์ก็เปลาประโยชน์
เข้าใจถูกแค่ครึ่งเดียว...ทำไมต้องใช้สตาร์ในตอนสตาร์ท....คำตอบก็คือ...การต่อขดลวดแบบ สตาร์..ทำให้เกิดแรงบิดเริ่มต้นได้ดีกว่าแบบ. เดลต้า..ซ้ำยังกินกระแสที่น้อยกว่า...ในขณะที่ โนโหลด หรือฟูลโหลด...เมื่อรันไปถึงความเร็วรอบประมาณ3/4(หรือ75%)..วงจรที่ถูกออกแบบมาก็ให้ Timer. เป็นตัวเปลี่ยน การจ่ายไฟเข้าขดลวดเป็นแบบ เดลต้า..ข้อดี ของเดลต้าก็คือ..เมื่อรอบการหมุนของมอเตอร์ลอยตัวแล้ว..ตัวมันเองก็ทำงานได้เต็มขีดจำกัด..
ขอบคุณครับ อาจารย์
สามารถใช้อินเวอร์เตอร์ทำร่วมกันกับวงจร สตาร์ เดลต้า ได้หรือไม่ครับอาจารย์ และเข้า KMไหนครับผม ขอบคุณครับ
สอนการ set overload หน่อยครับว่าควรตั้งไว้กี่ % ของ motor
วงจรสตาร์-เดลต้า โอเวอร์โหลดมันจะคั่นอยู่ตรงกลางของวงจรเดลต้า มันจะไม่เหมือนวงจรสตาร์ทมอเตอร์ทั่วไป ทำให้การตั้งค่าโอเวอร์โหลดมันมีสูตรนิดนึง ขอให้ศึกษาตามลิ้งค์นี้ครับ m.pantip.com/topic/35218170?
ขอบคุณมากๆๆครับ
👍👍👍
ชุดคอนโทรลคอยแม็กเนติกกี่โวลยครับ
220 ครับ
อยู่จังหวัดอะไรครับ
สกลนครครับ
เสียงมอเตอร์เพราะครับ ยังกะ Turbo 2.0 555
เดี๋ยวนี้ Star-delta บริษัท ชั้นนำ เลิกใช้ไปนาน แล้ว....ใช้ inverter กัหมดแล้ว......แต่ แต่ บริษัท ทุกๆ บริษัท..จะเป็นข้อสอบ จะถาม..เขียนวงจร star-delta ให้ดูหน่อย.......55555
เป็นการวัดว่าเป็นช่างไฟโดยสายเลือดหรือเปล่ามั้งครับ
บริษัทชั้นนำมีอยู่ไม่มากครับ แต่บริษัทเล็กมีจำนวนมากวงจรstar. deltaจึงจำเป็นมากครับ
ขอสอบถามครับอาจาร ถ้าเราตั้งทามเมอร์ไว้20วิได้ไหมครับ
ได้ครับ แต่มันจะนานไปหน่อย เพราะในการใช้งานเราต้องการความเร็วรอบที่สูง ถ้ามัวแต่รันสตาร์อยู่ 20วิ มันก็เสียเวลาไปเฉยๆครับ
ครับผมอาจาร ขอบคุณครับ
ถ้าอธิบาย จากการเขียนบล็อกไดอะแกรมวงจรมาเลยน่าจะดูออกและเข้าใจกว่านี้นะครับ
พี่ครับถ้าผมเป็นคนกัมพูชาผมอยากเป็นทำยังไงพี่
ให้ดูของจริงถูกแล้วครับ เพราะการเขียนไดอะแกรมมันแค่ด่านแรก เข้าใจในส่วนไดอะแกรมไม่ช่วยอะไรเอาไปใช้จริงไม่ได้ครับ แต่ถ้ามาดูของจริงแบบนี้แล้วเอาไปเทียบไดอะแกรมเอง จะอ๋อแล้วนึกออกว่าที่เราเขียนๆในไดอะแกรมมันหน้าตายังไง ทำหน้าที่อะไร(บางคนยังไม่รู้อุปกรณ์จริงๆได้แต่เขียน) สัดส่วนไดอะแกรมที่เขียนตรงตำแหน่งกับอุปกรณ์จริงทุกตัวเทียบเอาเองก็ได้
พี่อยู่ที่ไหนคับ ผมจะไปเลี้ยงเบียร์เย็นๆ
วันนี้พี่เมาแล้วครับ
ใครอยากเขียนวงจรเป็นแนะนำวงจร cadesimu ไปลองเขียนดูก่อนครับค่อยต่อเขียนวงจรไม่เป็นอย่าไปต่อเด็ดขาดครับเพราะบางวงจรมันซับซ้อนขึ้นไปอีก
ช่างคนที่ไหนคับ
รบกวนถามนิดครับ..เวลาเปิดทำงานนี้..ต้องเปิดทั้ง2ระบบเลยไหมครับ..หรือตัดต่อช่วงไหนครับ..ตามไม่ทันครับ
สตาร์ทครั้งเดียวครับ จนกว่าจะปิดเครื่อง แค่ตอนสตาร์ทมันมี 2 จังหวะ คือ สตาร์ทด้วยวงจรสตาร์และตามด้วยวงจรเดลต้า แล้วก็ทำงานด้วยวงจรเดลต้าไปตลอด จนกว่าเราจะปิดเครื่องครับ (ผมเข้าใจคำถามถูกใช่มั้ยครับ)
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ รบกวนนิดครับ..ขอวงจร..แบบเขียนให้เลยได้ไหมนะครับ
@@สัมพันธ์โสดสงค์ ใน google มีเยอะแยะเลยครับ ขอไอดีไลน์หน่อยครับ ผมจะส่งรูปไปให้ ในนี้มันส่งรูปไม่ได้ (หรือผมส่งไม่เป็นมั้ง)
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ 0908363117บันทึกเบอร์ผม..ลายก็ขึ้นเลยครับ
มอเตอร์5แรง1เฟสถ้าสตาร์เดลต้าใช้ไม่ได่แล้วจะมีตัวช่วยสตาร์ทมั้ยครับ
ใช้อุปกรณ์ soft start ครับ
อาจารย์ครับสอนวิธีเดินสายตู้แบบนี้ไฟ220หน่อยครับ อยากทำเป็นครับ
ก่อนอื่นต้องออกตัวก่อน ผมไม่ได้เป็นอาจารย์นะครับ ผมเป็นช่างไฟฟ้าคนนึงที่เคยผ่านงานด้านนี้มาและอยากจะแชร์ประสบการณ์ฝากเอาไว้ในยูทูปเผื่อจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นบ้าง แค่นั้นเองครับ
ที่จริงวงคอนโทรลก็ใช้ไฟ 220 v. 1เฟส อยู่แล้วนะครับ แต่วงจรพาวเวอร์หรือไฟที่จะเข้าไปหาตัวมอเตอร์มันเป็น 380 v. 3เฟส ก็เลยยังไม่เข้าใจคำถามอยู่นิดนึงครับ ว่าจะนำไปใช้กับอะไร
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ ผู้ที่ให้ความย่อมเป็นอาจารย์ได้นะ จะต่อปั๊มน้ำพญานาคครับ
@@somchaikhaosalub9627 ถ้าใช้มอเตอร์1เฟสขนาดไม่ใหญ่มาก เช่น ใช้มอเตอร์2แรงม้า(1500w. )จะกินกระแสประมาณ 10 แอมป์ ก็ใช้เบรกเกอร์ 30 แอมป์ ตัวเดียว เปิด-ปิด เลยก็ได้ครับ ประหยัดดี
แต่ถ้าเมื่อไหร่เราต้องการให้มันทำงานเป็นอัตโนมัติ เช่น น้ำเต็มปลายทางแล้วให้ปั้มหยุดเอง อย่างนี้ต้องใช้ตู้คอลโทรลมาควบคุม ถ้าตัวเรา ปืด-เปิด เอง ก็ใช้เบรกเกอร์ตัวเดียวก็พอครับ ประหยัด
มีเบอร์ติดต่อมั้ยครับจะรบกวนปรึกษาเกี่ยวกับมอเตอร์ครับ
หากมีปัญหาเกี่ยวกับมอเตอร์ แวะไปพูดคุยกันที่ช่องได้ครับ
โอ้หนี้ไม่จ่ายเค้า เรื่องจริงใช่ป่าว5555
จ่ายหมดแล้ว ถ้าจำไม่ผิด
ทำไมอาจารผมสองต้องมช้Timer 2ตัวแต่พอทำงานเจอตัวเดียวตลอดเลย
มันมีหลายวงจรครับ ที่ทำงานแบบนี้ แล้วแต่ว่าจะออกแบบวงจรมาแบบไหน แต่สุดท้ายก็ทำงานได้เหมือนกันครับ อยู่ที่งบประมาณเรามีเท่าไหร่ แล้วงบเราเหมาะกับวงจรแบบไหน เท่าที่ผมรู้ วงจรสตาร์-เดลต้า มีไม่น้อยกว่า 3 แบบ มีแบบแมกเนติก 2 ตัวก็มี
ถ้าเป็นมอเตอร์ 1 เฟส ทำได้ไหมครับ
ทำไม่ได้ครับ การพันขดลวดเป็นคนละแบบกัน มอเตอร์ 3 เฟสใช้ขดลวด 3 ขด ผลักและดูดกันในการสตาร์ทและหมุน ส่วน มอเตอร์ 1 เฟส ใช้ขดลวด 2 ขด มีขดสตาร์ทและขดรัน ใช้ขดสตาร์ทในการออกตัวเพื่อหมุน(แค่เสี้ยววินาที)และใช้ขดรันในการหมุน. สรุปส่วนประกอบข้างในมันคนละเรื่องกันเลยครับ. ทำไม่ได้ครับ
สรุปว่าไฟเฟสเดียวไม่สามารถต่อแบบสตาร์เดลต้าได้ใช่มั้ยครับ
แล้วมีวิธีช่วยในการสตาร์ทมอเตอร์เฟสเดียว5hpบ้างมั้ยครับ
@@natdain8869 ต้องใช้อุปกรณ์ soft start & soft stop. ครับ
สตารท์ระยะเวลากีวินาทีครับ
แล้วแต่มอเตอร์ครับ สังเกตุที่เสียงครับ ถ้ารันสตาร์ถึง 100% แล้ว ก็ตัดเป็นเดลต้าได้เลย ก็ประมาณ 3-5 วินาที ครับ
แมกเนติกที่อยู่ติดกับทามเมอร์ใส่ไว้ทำหน้าที่อะไรครับ แมกตัวเล็กข้างๆ ทามเมอรน่ะครับ
อ๋อ ตัวนั้นเป็นอีกวงจรนึงครับ ไม่เกี่ยวกัน ตัวนั้นเอาไว้เปิดปั้มน้ำตัวเล็กๆไว้ดูดน้ำขึ้นมาเติมในเรือนปั้มในกรณีที่น้ำในหัวกะโหลกของปั้มตัวใหญ่มันแห้งหน่ะครับ
พี่ครับสายแมกตัวที่ ใส่โอเวอร์โหลดไว้เป็น K เมนถูกไหม และสายที่ออกจากโอเวอร์โหลด ทั้ง 3 เส้นมาเข้าขั้ว UVW และ อีก 3เส้น มาเข้า XYZ . ใช้สายกำลังเบอร์เท่าไหร่ครับพี่
@@สุทธิชัยเปียฉิม จำไม่ได้แล้วครับ นานๆจะได้ไปซ่อมที นี่ก็จะเป็นปีแล้ว
ปกติสตาร์สวงจรไหน จะรันวงจรนั้น แต่นี้สตาร์ส วงจรสต้าร์ แต่รันเดลต้า งงเลย
ช่วงออกตัวมอเตอร์จะต่อแบบสตาร์ เมื่อหมุนไปที่ประมาณ80% ของความเร็วพิกัดก็จะเปลี่ยนไปเป็นแบบเดลต้า และรันแบบเดลต้าต่อเนื่องไปตลอดที่ช่องมีคลิปการควบคุมมอเตอร์เยอะเลย ว่างๆลองแวะเข้าไปดูได้ครับ
อยากได้วงจรครับ
เซิร์ชหาใน Google ก็ได้ครับ "วงจร สตาร์-เดลต้า"
สอนการเข้าสายด้วยครับ
กำลังคิดอยู่ครับ
เอาวงจรนี้นะครับ
ขอตามครับ
มันยากตรงที่ทำยังไงให้คนดูเข้าใจง่ายๆ
ทำตั้งแต่เลี่มต้นเลียพี้ชาย
จ่ายหนียังครับ555ล้อเล่น
สูบน้ำไปทำอะไรครับ ท่อใหญ่มาก
สูบให้ประชาชนที่ทำเกษตรนอกฤดูกาลครับ โดยส่งไปตามคลอง
ไหม้แน่นวล
เอารูบแต้มพ้อมเลีย อ้าย
บ่เข้าใจครับ
นาทีที่ 5.00 อยากให้อธิบายหน่อยอ่ะครับ ผมเข้ามาเพื่อหาข้อมูลนี้โดยเฉพาะอ่ะครับ ตรงks ที่ช็อตกัน3เส้นอ่ะครับ ผมสงสัยว่าทำไมถึงต้องช็อต แบบว่ามีคำตอบที่อธิบายได้ไหมอ่ะครับ
แอดไลน์ผมไว้ครับ จะได้ส่งรูปได้ ID:0853267549
ไทม์เมอร์ Aหรือป่าวครับ
จำไม่ได้แล้วครับ
มอเตอร์กี่แรงครับ
พาวเวอร์เบรกเกอร์กี่แอมป์ครับ
ไทม์เมอร์กี่บาทครับ
มอเตอร์ 100 แรงม้าครับ เบรกเกอร์จำไม่ได้ น่าจะ300 A. ไทม์เมอร์ น่าจะ600-800 บาท
ขอเบอร์โทรด้วยครับช่างเซฟ
ไม่สะดวกคุยครับ แต่ฝากข้อความไว้ทางไลน์ได้ครับ ว่างแล้วจะตอบครับ id : 0853267549
ถ้าสายไฟฟ้าที่ฟิวแรงต่ำร้องเกินจากสาเหตุอะไรครับ
ร้องหรือร้อนครับ ถ้าร้อนก็เกิดจาก1.กระแสเกินกว่าที่สายจะทนได้(ต้องเปิดตารางเทียบสายกับกระแสดู) หรือ 2. มีการหลวมที่จุดต่อ จุดใดจุดหนึ่งครับ (ใช้สายตาสำรวจหรือใช้กล้องถ่ายภาพความร้อนครับ)
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ ร้อนจนสายเมนล่ะลายครับ ตรงเสาร์สับฟิวส์ไฟฟ้าเลย ถ้าตัดต่อไหม่ได้ป่าวครับ
ตรงขั่วฟิวส์แรงต่ำ ยาวประมาณ 30 เชนติเมตร
แสดงว่ามีการหลุดหลวมหรือหน้าสัมผัสไม่แน่นในบริเวณนั้นครับ ตัดต่อใหม่ได้ครับ อาจต้องเปลี่ยนทั้งชุดทั้งฟิวส์และฐานฟิวส์และหางปลา เสร็จแล้วควรวัดกระแสด้วย(ขณะใช้งาน) ดูว่ากระแสกับสายขนาดเหมาะสมกันหรือไม่ ขอบคุณครับ
ใช้ซอฟสตาร์ทดีกว่าครับ
เห็นด้วย แต่ว่าซอฟสตาร์ท น่าจะแพงกว่าครับ
LSIS ด้วย หุหุ
พอไปได้มั้ยครับ
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ ผมทำบริษัทตู้ก็ส่วนใหญ่ก็ใช้LSคับ
พี่ครับสอนต่อเฟสโพเทคชันหน่อย
ได้ครับ คลิปต่อไปครับ เดี๋ยวมีเวลาก่อนครับ
ruclips.net/video/08PMsEkeiYU/видео.html จัดให้แล้วนะครับ
ขอเบอร์หน่อยครับ
ID.line:0853267549 ไม่ค่อยสะดวกรับสายครับ ทิ้งข้อความไว้ในไลน์สะดวกกว่าครับ
ทำไมต้องต่อ2วงจรให้ยุ่งยากละท่าน ต่อวงจรเดียวไม่ดีกว่ารึ
เป็นวงจรที่ใช้ลดกระแสขณะสตาร์ทครับ สมัยก่อนโน้นนนน ยังไม่มีอินเวอร์เตอร์
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ อ่อ
เห้อ
ใช่พี่คลิปพี่แม่งผมเพิ่งเข้าใจเข้าใจง่ายมากพี่ติดตามแล้วรรับ
ถ้าไทมเมอเสียอาการจะเป็นอย่างไรครับ
แล้วแต่อาการเสียของไทม์เมอร์ครับ1.ถ้าไทม์เมอร์ไม่ยอมนับเวลา เครื่องก็จะรัน สตาร์ ไปตลอดไม่ยอมตัดไป เดลตา2.ถ้าหน้าคอนแทค(NC.)ของไทม์เมอร์ขาด วงจรก็จะไม่ทำงานเลย กดสวิทซ์สตาร์ทแล้วก็เงียบไม่มีอะไรเกิดขึ้น
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ ขอบคุณครับ
ทำต่อแบวงจรนี้ละเอียดให้ดูหน่อยครับ
คิดจะทำอยู่นานแล้วครับ แต่ผมไม่มีแมกเนติก ของเก่าก็ไม่มี ของใหม่ก็ขาดงบประมาณซื้อ
ถ้ามีผู้บริจาคแมกเนติกเก่าให้ จะเป็นพระคุณอย่างสูงครับ (แมกเนติกเก่าที่คอยล์มันยังดูดได้อยู่)
Id Line : pichitchai10 รบกวนอาจารย์แอดไลผมหน่อยครับ..!! ขอบคุณครับแมกเนติกพอจะมีอยุ่ครับ..แต่ต้องไปรื้อในลังพักใหญ่ครับ😅😉
ผมเหันช่างบางคนเขาใช้เมกนิตีกแค่2ตวเอง
วงจรนี้มีหลายแบบให้เลือกใช้ครับ มีตั้งแต่แมกเนติก 1 ตัว ถึง 5 ตัว ก็มีครับ แต่ที่นิยมคือ 3 ตัวครับ
ระบบเดียวกันกับที่ผมทำอยู่ทุกวันนี้
ทำอยู่ไหนครับ
ขาดอีกนิดคับเมนโหลด6สายน่าจะถ่ายตอนเข้ามอเตอร์ให้ดูด้วยว่าต่อยังไง
สายฝั่ง km เข้าขั่ว u1,v1,w1 สายฝั่ง kd,ks เข้าขั่ว w2,u2,v2 ครับ
พี่ครับช่วยแต้มวงจรคอนโทรลและอธิบายให้หน่อยครับ
ถุกต้องเลยครับ เจอคำถามนี้แน่นอน ซึ้งผม เรียนจบ ก็ห่างจากเรื่องวงจรไฟฟ้า มา2ปีเลยได้โอกาศเข้ามาทำงาน ซีเนี่ย ดีครับ สอนผมทุกอย่าง เหมือนอาจารย์คนนึงเลย แล้วเข้าใจกว่าตอนเรียนเพราะได้เห็นหน้างานเลย ได้ลองจริงๆเลย
ยินดีด้วยครับ
ขอบคุณที่ทำคลิปออกมาให้ดู มีประโยชน์มากครับ เรียนมาแต่ทฤษฎีในไดอะแกรม มาเห็นของจริงพร้อมเสียงในฟิล์มแล้วเข้าใจขึ้นเยอะ แต่น่ากลัวใช่เล่น ไม่กล้าเอามือไปแตะเล่นเลย การสตาร์ทที่สตาร์ก่อนเพราะกินกระแสแค่ 33% ของเดลต้า ทอร์คมอเตอร์ก็แค่ 33 % ทำให้สตาร์ทนิ่ม ไม่กระชากไฟเพื่อนบ้านรอบข้าง จากนั้นก็เปลี่ยนเกียร์เป็นเดลต้าตามลำดับ ตามนั้นเลยครับ
ขอบคุณครับ กำลังใจ
ขอบคุณครับ.
ได้ยินช่วงเปลี่ยนผ่าน
สตาร์-เดลต้า..ชัดเจนครับผม..😀😀
ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆครับอผม
ได้ความรู้มากครับจารย์
ผ่านมา3 ปี พี่จ่ายหนี้เพื่อนบริษัทเก่าหมดยังคับ 555555 ขอบคุณความรู้คับ
จ่ายหมดแล้วครับ
การต่อแบบสตาร์จะได้แรงบิดสูงครับ เนื่องจากไฟหนึ่งเฟส( จากสามเฟส )จะไหลผ่านคอล์ยมอเตอร์สองชุด ( จากทั้งหมดสามชุด ) ทำให้สร้างแรงบิดได้สูงกว่าการต่อแบบเดลต้า ที่ไฟหนึ่งเฟสจะไหลผ่านคอล์ยแค่หนึ่งคอล์ย การต่อแบบให้มอเตอร์ออกตัวแบบสตาร์จึงนิยมใช้เป็นระบบสตาร์ทมอเตอร์ตัวใหญ่ที่ต้องใช้แรงบิดในการออกตัวสูง เนื่องจากมีคอล์ยสองชุดต่อเฟสช่วยสร้างแรงบิด ต่างจากแบบเดลต้า ที่มีคอล์ยหนึ่งชุดต่อเฟสที่สร้างแรงบิด
ขอบคุณมากครับพี่สำหรับความรู้
ดีกว่าเก็บเอาไว้คนเดียวครับ
หลักการทำคอนโทรลเล่อร์...พื้นฐานง่ายๆก็คือ...3หลักการ...ที่ต้องจำ...พอจำได้แล้ว..งานไฟฟ้าทุกประเภทก็เป็นเรื่องหมูๆ...เรื่องแรกก็คือ...วงจรคอนโทรล...เราต้องรู้ก่อนว่าเราจะใช้อุปกรณ์อะไร? คอนโทรลอะไร?....เรื่องที่สอง...วงจรภาคจ่ายไฟ...โหลดเป็นอุปกรณ์แบบ1หรือ3. เฟส อย่างที่3. อุปกรณ์ป้องกัน(โปรเทคชั่น)...ไม่ว่าจะเป็นการต่อผิด การลัดวงจรโดยไม่ตั้งใจ...หรือ. อุปกรณ์ชำรุดเอง...เช่น อาร์ฟิวส์...โอเวอร์โหลด..เฟสโปรเทคเตอร์...ล้วนแต่มีความสำคัญทั้งสิ้น...ส่วน รายละเอียดของอุปกรณ์...ก็ขึ้นอยู่ กับลูกเล่น ของผู้ออกแบบ..เช่น..อาจจะใช้ พรอกซ์มิตี้ เซนต์เซอร์...นิวแมทิค..มาทำงานร่วมด้วยก็ได้...หรือ. ดิจอทัล. แอคเคาน์ คอลโทรลเลอร์ มาสนับสนุนให้ทำงานได้หลากหลายมากขึ้น...ถ้า รู้ หรือทำเป็นแล้วยิ่งสนุกกับการทดลองมากขึ้น ออกแบบ..เครื่องยนต์กลไก..ที่สร้างสรรค์เองได้...โดยการ..วาง ไดอแกรมเขียนเล่นบนแผ่นกระดาษ ก่อน..ไม่จำเป็น ต้องเป็นโหลดที่มีแต่มอเตอร์ก็ได้...อาจทำคอนโทรลแสงสว่าง...คอนโทรลน้ำให้เปิด-ปิดเป็นเวลาที่เราต้องการ..หรือแม้ กระทั่ง คอนโทรล อุณหภูมิ ทั้งร้อน-ทั้งเย็น..หรือแม้แต่ ออกแบบเครื่องให้อาหารปลา- อาหารหมาได้...
ขอบคุณครับ
ยินดีครับ
แหล่มๆๆๆ อธิบายเข้าใจง่าย
เจ๋งแจ๋วเลยครับน่าสนใจมาก
ฟังพี่เหมือนครูสอน ชอบมากครับพี่ทำต่อเยอะๆครับ
ขอบคุณครับ จะพยายามครับ
ชอบเข้าใจง้ายดี
ขอบคุณครับ นี่แหละครับคือจุดประสงค์
สุดยอดเลยครับท่านได้รับความรู้มากเลยครับตรงสายงานของผมเลยครับท่าน ผมอยากจะขอคำแนะนำและความรู้การต่อวงจรตู้คอนโทรลชุดนี้ครับ
อยากสอนครับ แต่ไม่มีอุปกรณ์ กำลังคิดหาวิธีการอยู่ครับ
นาทีที่ 2:30 อธิบายแบบนี้เป็นอันตรายต่อคนที่จำไปใช้นะครับ เราจะเลือกรันแบบสตาร์หรือเดลต้าตามใจชอบเราไม่ได้นะครับ จะต่อแบบสตาร์หรือเดลต้าเราต้องรู้ว่าขดลวดของมอเตอร์รับแรงดันที่กี่โวลต์ เช่น มอเตอร์ระบุแรงดันที่เนมเพลท 380V ถ้าระบบไฟที่จ่ายให้กับมอเตอร์เป็น 3 เฟส 380V. เราก็ต้องต่อแบบเดลต้า หรือสามารถสตาร์ทแบบสตาร์ก่อนค่อยรันเป็นเดลต้าก็ได้ ถ้าเป็นมอเตอร์ใหญ่แรงม้าสูงๆ เพื่อลดกระแสไฟช่วงสตาร์ท แต่จะรันแบบสตาร์ไปตลอดเหมือนที่บอกไม่ได้นะครับ มอเตอร์ควันขึ้นแน่ จะได้แค่ช่วงสตาร์ททำงานชั่วขณะเท่านั้น สตาร์ลากยาวไม่ได้ มอเตอร์จะร้อนและไหม้ เพราะว่าขดลวดเขาออกแบบมาสำหรับใช้ไฟ 380V. การต่อแบบสตาร์แรงดันตกคร่อมขดลวดจะเหลือแค่ 220V.เท่านั้นครับ ซึ่งแรงดันไม่พอ ถ้ารันลากยาวมันก็เหมือนแรงดันจ่ายให้มอเตอร์ไม่พอ หรือที่เรียกว่าแรงดันตกนะแหละครับ
ถ้าที่เนมเพลทของมอเตอร์ระบุแรงดันเป็น 220/380V. นั่นแสดงว่าขดลวดของมอเตอร์ทนแรงดันได้ที่ 220V ให้ดูที่ค่าต่ำเป็นหลัก ถ้าเรามีระบบไฟ 3 เฟส 220V. เช่นตามโรงงานของญี่ปุ่นเขาจะมีไฟระบบ 3 เฟส 220V. เราก็ต้องต่อแบบเดลต้า จากสูตร Eline = Ephase
แต่ถ้าระบบไฟเป็นระบบ 3 เฟส 380 V. เราก็ต้องต่อแบบสตาร์ เพื่อให้แรงดันจ่ายขดลวดแต่ละขดให้เหลือแรงดันแค่ 220V. ตามสูตรการต่อขดลวดแบบสตาร์ คือ Ephase = Eline / 1.732 หรือ Ephase = 0.58 * Eline คือแรงดันไฟจาก 380V เมื่อตกคร่อมขดลวดแต่ละขดจะเหลือเพียง 58% ของแรงดันที่ไลน์เท่านั้นครับ ถ้าเนมเพลทระบุแบบนี้เราจะเอาไฟ 380V. จ่ายให้มอเตอร์ต่อแบบเดลต้าก็ไม่ได้นะครับ ไหม้เหมือนกัน เพราะเท่ากับจ่ายแรงดัน 380V. เข้าขดลวดโดยตรง ซึ่งขดลวดของมอเตอร์ทนแรงดันได้แค่ 220V. เท่านั้น
ใช่ครับ ยังมีคนที่ไม่เข้าใจเรื่องการอ่าน Nameplate มอเตอร์ 220/380 และ 380/660 อีกมาก ที่ใช้วิธีการจำแต่ไม่ไม่เข้าใจหลักการไฟฟ้า 3 เฟส คิดว่ามอเตอร์ 3 เฟสแบบไหนก็ต่อ Y-Delta ได้ทั้งหมด เรื่องการปรับกระแสที่ O.L. แบบ Y-Delta กับ Direct on lineซึ่งเป็นคนละค่า และขนาดแมกเนติกส์ ขนาดสายเฟสหรือไลน์ ผลก็คือมอเตอร์ใหม้เสียหายตามมา
ขอบคุณท่านอาจารย์ครับ ผมรู่ไม่ลึกซึ้งขนาดนั้นจริงๆครับ ต้องขออภัยด้วยครับ
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ ผมไม่ใช่ครูบาอาจารย์หรอกครับ เป็นช่างไฟฟ้านี่แหละ แต่จะแม่นทฤษฎีและมาตรฐานหน่อยเท่านั้นเอง อาศัยทำงานมานานและชอบศึกษาเพิ่มเติมครับ
แต่ที่ผมสร้างไลน์ผลิตมาในโรงงานหลายที่ ตัวที่เดิน สตาร์ ทั้งวันก็มีหลายตัวนะครับ คือตัวที่ไม่ต้องการใช้ความเร็วมาก (เช่นตัวลูกกลิ้ง และตัวแขนส่ายซ้ายขวา) ก็เดินสตาร์ทั้งวันไม่เห็นมีไหม้สักตัว (ไฟโรงงานก็ใช้ 380 เฟส-เฟส 3เฟส วัด เฟส-นิวตรอน ก็ 220 3 เส้น ไฟแบบเดียวกันนี่แหละครับ) เป็นเพราะอะไรครับ อาจารย์ (อาจารย์คือผู้ที่ให้ความรู้คนอื่นได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นครูผมก็เรียกอาจารย์ได้ครับ)
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ
ต้องย้อนกลับไปอ่านที่ผมอธิบาย รับรองว่าทฤษฎีไม่มีผิดครับ ต้องดูที่เนมเพลทของมอเตอร์ ถ้ามันบอกว่า 220/380V. หรือ 230/400V. คือบอกมา 2 ค่า นั่นคือค่าแรงดันไฟที่ใช้กับขดลวดคือ 220V. หรือ 230 V. ถ้าระบบไฟที่จ่ายเป็น 380หรือ400V. คุณต้องต่อแบบสตาร์ เพื่อให้แรงดันตกคร่อมขดลวดเหลือเพียง 220 V. หรือ 230 V. ตามสูตร Eline = 1.732 Ephase
หรือ Ephase = Eline /1.732
หรือ Ephase = 0.58*Eline
= 0.58*380 V.
= 220 V.
*** แต่ถ้าที่เนมเพลทของมอเตอร์บอกมาค่าเดียวเช่น 380V. ยังงี้คุณต่อแบบสตาร์ไม่ได้แน่นอน เพราะขดลวดของมอเตอร์มันรับแรงดันไฟ 380 V. ถ้าคุณต่อแบบสตาร์แรงดันไฟจะตกคร่อมขดลวดเพียง 220-230V.เท่านั้นตามที่ได้อธิบายมา คุณต้องต่อแบบเดลต้าถ้าไฟที่จ่ายเป็นไฟแรงดัน 380V. การต่อขดลวดแบบเดลต้า .Eline จะเท่ากับ Ephase คือแรงดันที่จ่ายให้กับมอเตอร์จะเท่ากับแรงดันตกคร่อมในแต่ละเฟสหรือแต่ละขดของมอเตอ์
ขอบคุณคับ
*** ขอเพิ่มเติมอีกเรื่องคือ ขนาดของสายไฟและพิกัดของแม็กเนติกคอนแท็คเตอร์
ขนาดสายไฟสำหรับการต่อแบบสตาร์และเดลต้าไม่จำเป็นต้องมีขนาดโตเท่ากับสายเมนที่มาจากเบรกเกอร์ เพราะว่าการต่อแบบเดลต้า กระแสไฟที่วิ่งผ่านสายไฟไปยังขดลวดมีเพียง 58% ของกระแสไฟที่ไหลผ่านสายเมน และกระแสไฟในการต่อแบบสตาร์กระแสไฟจะมีเพียง 33% ของกระแสไฟที่ไหลผ่านสายเมนในการต่อแบบเดลต้าและแม็กเนติกคอนแท็คเตอร์ของสตาร์ก็ไม่จำเป็นต้องพิกัดเท่ากันกับของเมนและของเดลต้า เพราะว่า กระแสไฟในการต่อแบบสตาร์กินกระแสไฟเพียง 1/3 เท่าของการต่อแบบเดลต้าหรือ 33% ของการต่อแบบเดลต้า
ขอบคุณอาจารย์ครับ สำหรับวิชาการที่เพิ่มเติมให้ ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยด้วยครับ ในฐานะช่างสายปฏิบัติครับ
สมัยก่อนเราใช้แมกนีติกที่สั่งมาจากต่งประเทศราคาแพง ปัจจุบัน อุปกรณ์ในตู้ที่เห็นราคาถูกมากช่างเลยใช้รุ่นเเละขนาดเดียวกัน
สุดยอดคัพ ทำคลิบมาเยอะๆนะคัพ
ขอบคุณครับ สำหรับกำลังใจ อยากทำครับ แต่ไม่ค่อยมีเวลา จะพยายามครับ
เยี่ยม
แวะมาทักทายและเป็นกำลังใจ ว่างๆแวะไปเยี่ยมที่ช่องบ้างนะครับ
ติดตามแล้วครับ
สาย Power Main กับสายเข้ามอเตอร์เดิน THW ลอยๆมัดเคเบิลไทไม่ร้อยท่อเลยหรือ สายมอเตอร์เห็นพาดบนพื้นเหล็กด้วย อันตรายนะครับแบบนี้
ขอบคุณครับ ผมไม่ได้เป็นคนทำครับ ผมเป็นแค่ช่างมาซ่อมวงจรคอนโทรล เวลาที่มันขำรุดครับ
สุดยอดคีบอาจารย์
ขอฝากตัวเป็นลูกศิษย์ด้วยคับ
ไม่ถึงขนาดนั้นครับ
ขอดูการต่อสายมอเตอร์หน่อยครับ หกสายต่อยังไงครับ
ที่จริงมันต่อมาจาก 3 สายนั่นแหละครับ แต่มันแยกออกสายละ 2 ปลาย ทำให้กลายเป็น 6 สาย
ขอบคุณมากๆคับ
เข้าใจภายในไม่กี่นาที สมัยเป็นนักศึกษาเรียนเป็นปีสองปียังไม่เข้าใจ ไม่ตั้งใจเรียนด้วยแหละ อย่าว่าผมโง่เลย 555555
ตอนเรียมผมก็ไม่รู้เรื่องเหมือนกันครับ(พ.ศ.2538) พอไปทำงานแล้วเจอหน้างานของจริงถึงได้เข้าใจ
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ เขาถึงได้บอกไงครับประสบการ์ณสพคัญกว่าความรู้ถ้าเราเรียนเอาแค่ความรู้แต่ไม่มีประสบการณ์ก็เปลาประโยชน์
เข้าใจถูกแค่ครึ่งเดียว...ทำไมต้องใช้สตาร์ในตอนสตาร์ท....คำตอบก็คือ...การต่อขดลวดแบบ สตาร์..ทำให้เกิดแรงบิดเริ่มต้นได้ดีกว่าแบบ. เดลต้า..ซ้ำยังกินกระแสที่น้อยกว่า...ในขณะที่ โนโหลด หรือฟูลโหลด...เมื่อรันไปถึงความเร็วรอบประมาณ3/4(หรือ75%)..วงจรที่ถูกออกแบบมาก็ให้ Timer. เป็นตัวเปลี่ยน การจ่ายไฟเข้าขดลวดเป็นแบบ เดลต้า..ข้อดี ของเดลต้าก็คือ..เมื่อรอบการหมุนของมอเตอร์ลอยตัวแล้ว..ตัวมันเองก็ทำงานได้เต็มขีดจำกัด..
ขอบคุณครับ อาจารย์
สามารถใช้อินเวอร์เตอร์ทำร่วมกันกับวงจร สตาร์ เดลต้า ได้หรือไม่ครับอาจารย์ และเข้า KMไหนครับผม ขอบคุณครับ
สอนการ set overload หน่อยครับว่าควรตั้งไว้กี่ % ของ motor
วงจรสตาร์-เดลต้า โอเวอร์โหลดมันจะคั่นอยู่ตรงกลางของวงจรเดลต้า มันจะไม่เหมือนวงจรสตาร์ทมอเตอร์ทั่วไป ทำให้การตั้งค่าโอเวอร์โหลดมันมีสูตรนิดนึง ขอให้ศึกษาตามลิ้งค์นี้ครับ m.pantip.com/topic/35218170?
ขอบคุณมากๆๆครับ
👍👍👍
ชุดคอนโทรลคอยแม็กเนติกกี่โวลยครับ
220 ครับ
อยู่จังหวัดอะไรครับ
สกลนครครับ
เสียงมอเตอร์เพราะครับ ยังกะ Turbo 2.0 555
เดี๋ยวนี้ Star-delta บริษัท ชั้นนำ เลิกใช้ไปนาน แล้ว....ใช้ inverter กัหมดแล้ว......แต่ แต่ บริษัท ทุกๆ บริษัท..จะเป็นข้อสอบ จะถาม..เขียนวงจร star-delta ให้ดูหน่อย.......55555
เป็นการวัดว่าเป็นช่างไฟโดยสายเลือดหรือเปล่ามั้งครับ
บริษัทชั้นนำมีอยู่ไม่มากครับ แต่บริษัทเล็กมีจำนวนมากวงจรstar. deltaจึงจำเป็นมากครับ
ขอสอบถามครับอาจาร ถ้าเราตั้งทามเมอร์ไว้20วิได้ไหมครับ
ได้ครับ แต่มันจะนานไปหน่อย เพราะในการใช้งานเราต้องการความเร็วรอบที่สูง ถ้ามัวแต่รันสตาร์อยู่ 20วิ มันก็เสียเวลาไปเฉยๆครับ
ครับผมอาจาร ขอบคุณครับ
ถ้าอธิบาย จากการเขียนบล็อกไดอะแกรมวงจรมาเลยน่าจะดูออกและเข้าใจกว่านี้นะครับ
พี่ครับถ้าผมเป็นคนกัมพูชาผมอยากเป็นทำยังไงพี่
ให้ดูของจริงถูกแล้วครับ เพราะการเขียนไดอะแกรมมันแค่ด่านแรก เข้าใจในส่วนไดอะแกรมไม่ช่วยอะไรเอาไปใช้จริงไม่ได้ครับ แต่ถ้ามาดูของจริงแบบนี้แล้วเอาไปเทียบไดอะแกรมเอง จะอ๋อแล้วนึกออกว่าที่เราเขียนๆในไดอะแกรมมันหน้าตายังไง ทำหน้าที่อะไร(บางคนยังไม่รู้อุปกรณ์จริงๆได้แต่เขียน) สัดส่วนไดอะแกรมที่เขียนตรงตำแหน่งกับอุปกรณ์จริงทุกตัวเทียบเอาเองก็ได้
พี่อยู่ที่ไหนคับ ผมจะไปเลี้ยงเบียร์เย็นๆ
วันนี้พี่เมาแล้วครับ
ใครอยากเขียนวงจรเป็นแนะนำวงจร cadesimu ไปลองเขียนดูก่อนครับค่อยต่อเขียนวงจรไม่เป็นอย่าไปต่อเด็ดขาดครับเพราะบางวงจรมันซับซ้อนขึ้นไปอีก
ช่างคนที่ไหนคับ
สกลนครครับ
รบกวนถามนิดครับ..เวลาเปิดทำงานนี้..ต้องเปิดทั้ง2ระบบเลยไหมครับ..หรือตัดต่อช่วงไหนครับ..ตามไม่ทันครับ
สตาร์ทครั้งเดียวครับ จนกว่าจะปิดเครื่อง แค่ตอนสตาร์ทมันมี 2 จังหวะ คือ สตาร์ทด้วยวงจรสตาร์และตามด้วยวงจรเดลต้า แล้วก็ทำงานด้วยวงจรเดลต้าไปตลอด จนกว่าเราจะปิดเครื่องครับ (ผมเข้าใจคำถามถูกใช่มั้ยครับ)
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ รบกวนนิดครับ..ขอวงจร..แบบเขียนให้เลยได้ไหมนะครับ
@@สัมพันธ์โสดสงค์ ใน google มีเยอะแยะเลยครับ ขอไอดีไลน์หน่อยครับ ผมจะส่งรูปไปให้ ในนี้มันส่งรูปไม่ได้ (หรือผมส่งไม่เป็นมั้ง)
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ 0908363117บันทึกเบอร์ผม..ลายก็ขึ้นเลยครับ
มอเตอร์5แรง1เฟส
ถ้าสตาร์เดลต้าใช้ไม่ได่แล้วจะมีตัวช่วยสตาร์ทมั้ยครับ
ใช้อุปกรณ์ soft start ครับ
อาจารย์ครับสอนวิธีเดินสายตู้แบบนี้ไฟ220หน่อยครับ อยากทำเป็นครับ
ก่อนอื่นต้องออกตัวก่อน ผมไม่ได้เป็นอาจารย์นะครับ ผมเป็นช่างไฟฟ้าคนนึงที่เคยผ่านงานด้านนี้มาและอยากจะแชร์ประสบการณ์ฝากเอาไว้ในยูทูปเผื่อจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นบ้าง แค่นั้นเองครับ
ที่จริงวงคอนโทรลก็ใช้ไฟ 220 v. 1เฟส อยู่แล้วนะครับ แต่วงจรพาวเวอร์หรือไฟที่จะเข้าไปหาตัวมอเตอร์มันเป็น 380 v. 3เฟส ก็เลยยังไม่เข้าใจคำถามอยู่นิดนึงครับ ว่าจะนำไปใช้กับอะไร
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ ผู้ที่ให้ความย่อมเป็นอาจารย์ได้นะ จะต่อปั๊มน้ำพญานาคครับ
@@somchaikhaosalub9627 ถ้าใช้มอเตอร์1เฟสขนาดไม่ใหญ่มาก เช่น ใช้มอเตอร์2แรงม้า(1500w. )จะกินกระแสประมาณ 10 แอมป์ ก็ใช้เบรกเกอร์ 30 แอมป์ ตัวเดียว เปิด-ปิด เลยก็ได้ครับ ประหยัดดี
แต่ถ้าเมื่อไหร่เราต้องการให้มันทำงานเป็นอัตโนมัติ เช่น น้ำเต็มปลายทางแล้วให้ปั้มหยุดเอง อย่างนี้ต้องใช้ตู้คอลโทรลมาควบคุม ถ้าตัวเรา ปืด-เปิด เอง ก็ใช้เบรกเกอร์ตัวเดียวก็พอครับ ประหยัด
มีเบอร์ติดต่อมั้ยครับ
จะรบกวนปรึกษาเกี่ยวกับมอเตอร์ครับ
หากมีปัญหาเกี่ยวกับมอเตอร์ แวะไปพูดคุยกันที่ช่องได้ครับ
โอ้หนี้ไม่จ่ายเค้า เรื่องจริงใช่ป่าว5555
จ่ายหมดแล้ว ถ้าจำไม่ผิด
ทำไมอาจารผมสองต้องมช้Timer 2ตัวแต่พอทำงานเจอตัวเดียวตลอดเลย
มันมีหลายวงจรครับ ที่ทำงานแบบนี้ แล้วแต่ว่าจะออกแบบวงจรมาแบบไหน แต่สุดท้ายก็ทำงานได้เหมือนกันครับ อยู่ที่งบประมาณเรามีเท่าไหร่ แล้วงบเราเหมาะกับวงจรแบบไหน เท่าที่ผมรู้ วงจรสตาร์-เดลต้า มีไม่น้อยกว่า 3 แบบ มีแบบแมกเนติก 2 ตัวก็มี
ถ้าเป็นมอเตอร์ 1 เฟส ทำได้ไหมครับ
ทำไม่ได้ครับ การพันขดลวดเป็นคนละแบบกัน มอเตอร์ 3 เฟสใช้ขดลวด 3 ขด ผลักและดูดกันในการสตาร์ทและหมุน ส่วน มอเตอร์ 1 เฟส ใช้ขดลวด 2 ขด มีขดสตาร์ทและขดรัน ใช้ขดสตาร์ทในการออกตัวเพื่อหมุน(แค่เสี้ยววินาที)และใช้ขดรันในการหมุน. สรุปส่วนประกอบข้างในมันคนละเรื่องกันเลยครับ. ทำไม่ได้ครับ
ขอบคุณครับ
สรุปว่าไฟเฟสเดียวไม่สามารถต่อแบบสตาร์เดลต้าได้ใช่มั้ยครับ
แล้วมีวิธีช่วยในการสตาร์ทมอเตอร์เฟสเดียว5hpบ้างมั้ยครับ
@@natdain8869 ต้องใช้อุปกรณ์ soft start & soft stop. ครับ
สตารท์ระยะเวลากีวินาทีครับ
แล้วแต่มอเตอร์ครับ สังเกตุที่เสียงครับ ถ้ารันสตาร์ถึง 100% แล้ว ก็ตัดเป็นเดลต้าได้เลย ก็ประมาณ 3-5 วินาที ครับ
แมกเนติกที่อยู่ติดกับทามเมอร์ใส่ไว้ทำหน้าที่อะไรครับ แมกตัวเล็กข้างๆ ทามเมอรน่ะครับ
อ๋อ ตัวนั้นเป็นอีกวงจรนึงครับ ไม่เกี่ยวกัน ตัวนั้นเอาไว้เปิดปั้มน้ำตัวเล็กๆไว้ดูดน้ำขึ้นมาเติมในเรือนปั้มในกรณีที่น้ำในหัวกะโหลกของปั้มตัวใหญ่มันแห้งหน่ะครับ
พี่ครับสายแมกตัวที่ ใส่โอเวอร์โหลดไว้เป็น K เมนถูกไหม และสายที่ออกจากโอเวอร์โหลด ทั้ง 3 เส้นมาเข้าขั้ว UVW และ อีก 3เส้น มาเข้า XYZ . ใช้สายกำลังเบอร์เท่าไหร่ครับพี่
@@สุทธิชัยเปียฉิม จำไม่ได้แล้วครับ นานๆจะได้ไปซ่อมที นี่ก็จะเป็นปีแล้ว
ปกติสตาร์สวงจรไหน จะรันวงจรนั้น แต่นี้สตาร์ส วงจรสต้าร์ แต่รันเดลต้า งงเลย
ช่วงออกตัวมอเตอร์จะต่อแบบสตาร์ เมื่อหมุนไปที่ประมาณ80% ของความเร็วพิกัดก็จะเปลี่ยนไปเป็นแบบเดลต้า และรันแบบเดลต้าต่อเนื่องไปตลอด
ที่ช่องมีคลิปการควบคุมมอเตอร์เยอะเลย ว่างๆลองแวะเข้าไปดูได้ครับ
อยากได้วงจรครับ
เซิร์ชหาใน Google ก็ได้ครับ "วงจร สตาร์-เดลต้า"
สอนการเข้าสายด้วยครับ
กำลังคิดอยู่ครับ
เอาวงจรนี้นะครับ
ขอตามครับ
มันยากตรงที่ทำยังไงให้คนดูเข้าใจง่ายๆ
ทำตั้งแต่เลี่มต้นเลียพี้ชาย
จ่ายหนียังครับ555ล้อเล่น
สูบน้ำไปทำอะไรครับ ท่อใหญ่มาก
สูบให้ประชาชนที่ทำเกษตรนอกฤดูกาลครับ โดยส่งไปตามคลอง
ไหม้แน่นวล
เอารูบแต้มพ้อมเลีย อ้าย
บ่เข้าใจครับ
นาทีที่ 5.00 อยากให้อธิบายหน่อยอ่ะครับ ผมเข้ามาเพื่อหาข้อมูลนี้โดยเฉพาะอ่ะครับ ตรงks ที่ช็อตกัน3เส้นอ่ะครับ ผมสงสัยว่าทำไมถึงต้องช็อต แบบว่ามีคำตอบที่อธิบายได้ไหมอ่ะครับ
แอดไลน์ผมไว้ครับ จะได้ส่งรูปได้ ID:0853267549
ไทม์เมอร์ Aหรือป่าวครับ
จำไม่ได้แล้วครับ
มอเตอร์กี่แรงครับ
พาวเวอร์เบรกเกอร์กี่แอมป์ครับ
ไทม์เมอร์กี่บาทครับ
มอเตอร์ 100 แรงม้าครับ เบรกเกอร์จำไม่ได้ น่าจะ300 A. ไทม์เมอร์ น่าจะ600-800 บาท
ขอเบอร์โทรด้วยครับช่างเซฟ
ไม่สะดวกคุยครับ แต่ฝากข้อความไว้ทางไลน์ได้ครับ ว่างแล้วจะตอบครับ id : 0853267549
ถ้าสายไฟฟ้าที่ฟิวแรงต่ำร้องเกินจากสาเหตุอะไรครับ
ร้องหรือร้อนครับ ถ้าร้อนก็เกิดจาก
1.กระแสเกินกว่าที่สายจะทนได้(ต้องเปิดตารางเทียบสายกับกระแสดู)
หรือ 2. มีการหลวมที่จุดต่อ จุดใดจุดหนึ่งครับ (ใช้สายตาสำรวจหรือใช้กล้องถ่ายภาพความร้อนครับ)
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ ร้อนจนสายเมนล่ะลายครับ ตรงเสาร์สับฟิวส์ไฟฟ้าเลย ถ้าตัดต่อไหม่ได้ป่าวครับ
ตรงขั่วฟิวส์แรงต่ำ ยาวประมาณ 30 เชนติเมตร
แสดงว่ามีการหลุดหลวมหรือหน้าสัมผัสไม่แน่นในบริเวณนั้นครับ ตัดต่อใหม่ได้ครับ อาจต้องเปลี่ยนทั้งชุดทั้งฟิวส์และฐานฟิวส์และหางปลา เสร็จแล้วควรวัดกระแสด้วย(ขณะใช้งาน) ดูว่ากระแสกับสายขนาดเหมาะสมกันหรือไม่ ขอบคุณครับ
ใช้ซอฟสตาร์ทดีกว่าครับ
เห็นด้วย แต่ว่าซอฟสตาร์ท น่าจะแพงกว่าครับ
LSIS ด้วย หุหุ
พอไปได้มั้ยครับ
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ ผมทำบริษัทตู้ก็ส่วนใหญ่ก็ใช้LSคับ
พี่ครับสอนต่อเฟสโพเทคชันหน่อย
ได้ครับ คลิปต่อไปครับ เดี๋ยวมีเวลาก่อนครับ
ruclips.net/video/08PMsEkeiYU/видео.html จัดให้แล้วนะครับ
ขอเบอร์หน่อยครับ
ID.line:0853267549 ไม่ค่อยสะดวกรับสายครับ ทิ้งข้อความไว้ในไลน์สะดวกกว่าครับ
ทำไมต้องต่อ2วงจรให้ยุ่งยากละท่าน ต่อวงจรเดียวไม่ดีกว่ารึ
เป็นวงจรที่ใช้ลดกระแสขณะสตาร์ทครับ สมัยก่อนโน้นนนน ยังไม่มีอินเวอร์เตอร์
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ อ่อ
เห้อ
👍👍👍
ใช่พี่คลิปพี่แม่งผมเพิ่งเข้าใจเข้าใจง่ายมากพี่ติดตามแล้วรรับ
ขอบคุณครับ
ถ้าไทมเมอเสียอาการจะเป็นอย่างไรครับ
แล้วแต่อาการเสียของไทม์เมอร์ครับ
1.ถ้าไทม์เมอร์ไม่ยอมนับเวลา เครื่องก็จะรัน สตาร์ ไปตลอดไม่ยอมตัดไป เดลตา
2.ถ้าหน้าคอนแทค(NC.)ของไทม์เมอร์ขาด วงจรก็จะไม่ทำงานเลย กดสวิทซ์สตาร์ทแล้วก็เงียบไม่มีอะไรเกิดขึ้น
@@ช่างเซฟบ้านธาตุ ขอบคุณครับ
ทำต่อแบวงจรนี้ละเอียดให้ดูหน่อยครับ
คิดจะทำอยู่นานแล้วครับ แต่ผมไม่มีแมกเนติก ของเก่าก็ไม่มี ของใหม่ก็ขาดงบประมาณซื้อ
ถ้ามีผู้บริจาคแมกเนติกเก่าให้ จะเป็นพระคุณอย่างสูงครับ (แมกเนติกเก่าที่คอยล์มันยังดูดได้อยู่)
Id Line : pichitchai10
รบกวนอาจารย์แอดไลผมหน่อยครับ..!! ขอบคุณครับ
แมกเนติกพอจะมีอยุ่ครับ..แต่ต้องไปรื้อในลังพักใหญ่ครับ😅😉
ผมเหันช่างบางคนเขาใช้เมกนิตีกแค่2ตวเอง
วงจรนี้มีหลายแบบให้เลือกใช้ครับ มีตั้งแต่แมกเนติก 1 ตัว ถึง 5 ตัว ก็มีครับ แต่ที่นิยมคือ 3 ตัวครับ
ระบบเดียวกันกับที่ผมทำอยู่ทุกวันนี้
ทำอยู่ไหนครับ
ขาดอีกนิดคับเมนโหลด6สายน่าจะถ่ายตอนเข้ามอเตอร์ให้ดูด้วยว่าต่อยังไง
สายฝั่ง km เข้าขั่ว u1,v1,w1 สายฝั่ง kd,ks เข้าขั่ว w2,u2,v2 ครับ
พี่ครับช่วยแต้มวงจรคอนโทรลและอธิบายให้หน่อยครับ