การหาค่าความพึงพอใจ

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 17 окт 2024

Комментарии • 19

  • @Poomy1000
    @Poomy1000 2 года назад +4

    อธิบายเข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน ข้อมูลละเอียด ขอบคุณมาก ๆ ค่ะ👍👍👍

  • @อรวรรณเครือเนียม

    เข้าใจมากขึ้นเลยค่ะ ขอบคุณช่องนี้มากๆนะคะ

  • @บังอรเพ็งรักษ์

    อธิบายชัดเจนดีมากค่ะ สามารถทำตามได้ ขอบคุณมากค่ะ

  • @nichakansaelao5677
    @nichakansaelao5677 10 месяцев назад

    ขอบคุณมากๆๆค่ะ

  • @nonglscjsen1618
    @nonglscjsen1618 Месяц назад

    ทำไหมค่าเฉลี่ยได้133คะไม่ได้เหมือนอาจารย์คะขอบคุณคะเราไม่ค่อยเก่งเท่าไรแต่อยากเรียนรู้

  • @famlong
    @famlong 8 месяцев назад +1

    รวมค่าเฉลี่ย สูตรเปนยังไงคะ เอาอะไรมาหารกัน

    • @pakkawatkhomwichai8588
      @pakkawatkhomwichai8588  8 месяцев назад

      สูตรค่าเฉลี่ย =average เลือกค่าเฉลี่ยข้อ 1-5 ครับ หรือสูตรเพิ่มเติมลิ้งใต้วิดีโอครับ

  • @chanansirichannel3698
    @chanansirichannel3698 2 месяца назад +1

    สร้างตารางแบบนี้ยังไงคะ 🤔

  • @อาซฮามะแซ-ญ8อ

    หาค่า S.D. เพราะอะไรถึงค่าความพึงพอใจต้องยกกำลัง2ครับครู

  • @นิ้งหน่อง-ท7ฝ
    @นิ้งหน่อง-ท7ฝ 3 года назад +3

    ขอบคุณค่ะ 😊🙏

  • @MiLkyAoN
    @MiLkyAoN 2 года назад +3

    ขอบคุณมากๆๆๆๆเลยค่ะ.

  • @anuwat_sa
    @anuwat_sa 2 года назад +1

    สุดยอดครับ Thx

  • @PP-qu7ei
    @PP-qu7ei 2 года назад +2

    ของผมมันได้แค่ 5 ข้อ บรรทัดต่อไป
    มันขึ้น False

  • @muyarimeen8050
    @muyarimeen8050 9 месяцев назад

    ช่วยบอกการทำแผงผันหน่อยคับ

  • @Channel-cw1yr
    @Channel-cw1yr 11 месяцев назад +1

    ค่า SD คืออะไรคะ

    • @pakkawatkhomwichai8588
      @pakkawatkhomwichai8588  11 месяцев назад +1

      S.D. นั้นย่อมาจาก Standard Deviation หรือที่คุ้นหูในภาษาไทยก็ คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยค่านี้คำนวนมาจากการนำข้อมูลแต่ละตัวมาลบกับคะแนนเฉลี่ยแล้วไปยกกำลังสองทีละตัว พอลบแล้วไปยกกำลังสองเสร็จก็จับทั้งหมดมาบวกกัน หลังจากนั้นก็หารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด แล้วก็ไปถอดรากที่สองอีกครั้ง
      ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานนี่ สิ่งแรกที่สามารถบอกเราได้นั้นก็ คือ บอกว่าข้อมูลนี้เกาะกลุ่มกันมากเพียงได้ ยิ่งค่า S.D. ยิ่งสูงแสดงว่าคะแนนกระจายตัวกันมาก แต่ถ้าค่า S.D. ยิ่งใกล้ศูนย์แสดงว่าข้อมูลชุดนี้ค่อนข้างเกาะกลุ่มกัน แต่ควรจะดูประกอบไปกับคะแนนเฉลี่ยด้วย
      สมมติ ร.ร.ไร่ดอกบัว ได้คะแนนเฉลี่ยโอเนท ๓๐ จาก ๑๐๐ แต่ได้ค่า S.D. ๒ แสดงว่าเด็กที่นี่เรียนอ่อนกันทั้งโรงเรียน แต่ ร.ร.เทพจัง ได้คะแนนเฉลี่ย ๘๔ จาก ๑๐๐ แต่ได้ค่า S.D. ๑๒ ก็แสดงว่าเด็ก ร.ร.เทพจังส่วนใหญ่จะมีเด็กเก่งๆ เยอะ แต่ก็ยังมีเด็กอ่อนๆ พอสมควรเช่นเดียวกัน เพราะคะแนนไม่เกาะกลุ่มเท่าที่ควร
      *ผิดพลาดต้องขออภัยครับ