Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
กราบสวัสดี พี่ๆทุกคนคะ ข้าพเจ้าขอกราบรบกวน ขออนุญาตอนุโมทนาบุญให้ประเทศต่างๆ ทุกประเทศในโลกใบนี้ให้หนีโควิด ขอกราบอภัยพี่ๆไว้ก่อนเลยถ้าทำให้พวกพี่ ลำบาก สมุทรสาคร อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุเชียงราย อนุโมทนาสาธุเชียงใหม่ อนุโมทนาสาธุ น่าน อนุโมทนาสาธุ พะเยา อนุโมทนาสาธุแพร่ อนุโมทนาสาธุแม่ฮ่องสอน อนุโมทนาสาธุลำปาง อนุโมทนาสาธุลำพูนอนุโมทนาสาธุกาฬสินธุ์อนุโมทนาสาธุนครพนมอนุโมทนาสาธุบึงกาฬ อนุโมทนาสาธุ บุรีรัมย์อนุโมทนาสาธุมหาสารคาม อนุโมทนาสาธุมุกดาหาร อนุโมทนาสาธุยโสธร อนุโมทนาสาธุร้อยเอ็ด อนุโมทนาสาธุ สกลนคร อนุโมทนาสาธุสุรินทร์ ศรีสะเกษ อนุโมทนาสาธุหนองคาย อนุโมทนาสาธุหนองบัวลำภู อนุโมทนาสาธุอำนาจเจริญ อนุโมทนาสาธุ พิษณุโลก อนุโมทนาสาธุ ลพบุรี อนุโมทนาสาธุ สิงห์บุรี อนุโมทนาสาธุ สุโขทัย อนุโมทนาสาธุ อุทัยธานี อนุโมทนาสาธุ จันทบุรี อนุโมทนาสาธุ ตราด อนุโมทนาสาธุ สระแก้วอนุโมทนาสาธุ กาญจนบุรี อนุโมทนาสาธุชุมพร อนุโมทนาสาธุ ชุมพร อนุโมทนาสาธุปัตตานี อนุโมทนาสาธุ พังงา อนุโมทนาสาธุ พัทลุง อนุโมทนาสาธุ ระนอง อนุโมทนาสาธุ ยะลา อนุโมทนาสาธุไทย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุอินเดีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุโลก อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุสหรัฐอเมริกา อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุสเปน อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุ อิตาลี อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุ เยอรมนี อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุ สหราชอาณาจักร อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุ ฝรั่งเศส อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุ ตุรกี อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุ อิหร่าน อนุโมทนาสาธุ สาธุสาธุสาธุ จีน อนุโมทนาสาธุ สาธุสาธุสาธุ รัสเซีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ บราซิล อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เบลเยียม อนุโมทนาสาธุ สาธุสาธุสาธุแคนนาดา อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เนเธอร์แลนด์ อนุโมทนาสาธุ สาธุสาธุสาธุ สวิตเซอร์แลนด์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ อินเดีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ โปรตุเกส อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เอกวาดอร์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เปรู อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุไอร์แลนด์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ สวีเดน อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ซาอุดีอาระเบีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ออสเตรีย อนุโมทนาสาธุ สาธุสาธุสาธุ อิสราเอล อนุโมทนาสาธุ สาธุสาธุสาธุ เม็กซิโกอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ญี่ปุ่นอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ชิลีอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ สิงคโปร์อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ปากีสถานอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ โปแลนด์อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เกาหลี อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ โรมาเนีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เบลารุส อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ กาตาร์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ อินโดนีเซีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เดนมาร์ก อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ยูเครน อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เซอร์เบียร์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ นอร์เวย์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ประเทศเช็กเกีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ฟิลิปปินส์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ออสเตรเลีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ สาธารณรัฐโดมินิกัน อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ มาเลเซีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ปานามา อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ โคลอมเบีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ บังกลาเทศ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ฟินแลนด์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ แอฟริกาใต้ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ อียิปต์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ โมร็อคโก อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ อลักเซมเบิร์ก อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ อาร์เจนตินา อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ แอลจีเรีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ มอลโดวา อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ประเทศไทย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ คูเวต อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ บาห์เรน อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ กรีซ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุแม่ประทุม สาธุอนุโมทนาสาธุแม่ประทุมอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุแม่ประทุมอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุสาธุสาธุปังปอนด์อนุโมทนาสาธุเปาอนุโมทนาสาธุเปา พิมพ์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุแดง วัดเขาถ้ำ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุแม่องค์ขายส้มตำ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุเล็ก ใหญ่ ออด บางมดอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุI อนุโมทนาสาธุ99,999,931
เห็นต้นเหตุแห่งทุกขง่ายขึ้นเมื่อได้ฟังท่านอาจารย์ครับ กราบขอบพระคุณท่านมากครับ
ขอกราบเท้าอาจารย์ที่เคารพครับ
สาธุๆค่ะท่านอาจารย์
(๑๓๙) เห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทรมนัสในโลกเสียได้ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่าเสวยสุขเวทนา เมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู่ชัดว่าเสวยทุกขเวทนา เมื่อเสวยอทุกขมสุข ก็รู้ชัดว่าเสวยอทุกขมสุขเวทนา เมื่อเสวยสุขเวทนามีอามิส ย่อมรู้ชัดว่าเสวยสุขเวทนามีอามิส เมื่อเสวยสุขเวทนาไม่มีอามิส ย่อมรู้ชัดว่าเสวยสุขเวทนาไม่มีอามิส เมื่อเสวยทุกขเวทนามีอามิส ย่อมรู้ชัดว่าเสวยทุกขเวทนามีอามิส เมื่อเสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิส ย่อมรู้ชัดว่าเสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิส เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิส ย่อมรู้ชัดว่าเสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิส เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มีอามิส ย่อมรู้ชัดว่าเสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มีอามิส ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า เห็นเวทนาในเวทนาภายในบ้าง หายใจออก เห็นเวทนาในเวทนาภายนอกบ้าง หายใจเข้า เห็นเวทนาในเวทนาทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในเวทนาบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมคือความเสื่อมในเวทนาบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในเวทนาบ้าง หายใจเข้า ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่าเวทนามีอยู่ หายใจออก ก็เพียงสักว่าความรู้ในเวทนานี้ หายใจเข้าเพียงสักว่าอาศัยเวทนานี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ หายใจออก
ขอนอบน้อมในธรรมของพระบรมศาสดาที่ทรงไว้เพื่อสอนสัตว์โลกให้พ้นทุกข์ และขอน้อมจิตอนุโมทนาบุญกับท่านอาจสรย์ที่นำธรรมมาเผยแผ่เป็นธรรมทานเพท่อประโยชน์แก่ผู้ปฏิบัติได้อย่างดีเยี่ยมค่ะ 🌼🙏🙏🙏🌼
(๑๔๑) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคือนิวรณ์๕ อยู่อย่างไรเล่า ? ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พึงพิจารณา ๑.เมื่อกามฉันทะมีอยู่ ณ.ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่ากามฉันทะมีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา เมื่อกามฉันทะไม่มีอยู่ ณ.ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่ากามฉันทะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่งกามฉันทะ ที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อนึ่งกามฉันทะ ที่เกิดขึ้นแล้วจะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อนึ่งกามฉันทะ ที่ละได้แล้วจะไม่เกิดขึ้นอีกด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย เมื่อพยาบาท... เมื่อถิ่นมิทธะ... เมื่ออุทธัจจกุกกุจจะ... เมื่อวิจิกิจฉามีอยู่ ณ.ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่ากามฉันทะมีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา เมื่อวิจิกิจฉาไม่มีอยู่ ณ.ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่ากามฉันทะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่งวิจิกิจฉา ที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อนึ่งวิจิกิจฉา ที่เกิดขึ้นแล้วจะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อนึ่งวิจิกิจฉา ที่ละได้แล้วจะไม่เกิดขึ้นอีกด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า เห็นธรรมในธรรมภายในบ้าง หายใจออก เห็นธรรมในธรรมภายนอกบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมในธรรมทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรมบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมคือความเสื่อมในธรรมบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในธรรมบ้าง หายใจเข้า ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่าธรรมมีอยู่ หายใจออก ก็เพียงสักว่าความรู้ในธรรมนี้ หายใจเข้า เพียงสักว่าอาศัยธรรมนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคือนิวรณ์ ๕ อยู่ หายใจออก ๒.พิจารณาธรรมในธรรม คือ อุปาทานขันธ์ ๕... ๓.พิจารณาธรรมในธรรมคือ อายตนะภายใน๖ภายนอก๖... ๔.พิจารณาธรรมในธรรมคือ โพชฌงค์๗... ๕.พิจารณาธรรมในธรรมคือ สัจจบรรพ (อริยสัจ๔)..คือทุกข สมุทัย นิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ผลของการปฏิบัติสติปัฏฐาน ๔ คือก็ผู้หนึ่งผู้ใด พึงเจริญสติปัฏฐาน๔ นี้อยู่อย่างนี้ตลอด ๗-๖-๕-๔-๓-๒-๑ ปี ตอลด ๗-๖-๕-๔-๓-๒-๑-ครึ่งเดือน ตลอด ๗ วัน เขาพึงหวังผล ๒ ประการ อย่างใดอย่างหนึ่งคือพระอรหันตผลในปัจจุบันหรือเมื่อยังมีขันธปัญจกเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี
ใครจะว่ายังไงก็ช่าง อาจารย์ทำให้หนูเข้าใจหลักธรรมคำสอนของพระพุทธองค์มากขึ้น จากเมื่อก่อนที่หนูปฏิบัติก็มัวแต่ยึดกับหลักการว่าจะต้องทำแบบนี้ เดินแบบนี้ นั่งแบบนี้ ตอนนี้เริ่มคลายความยึดมั่นถือมั่นลงได้บ้างแล้ว อยากให้อาจารย์เผนแพร่คำสอนของพระศาสดาต่อไป ไม่ว่าจะอยู่ในเพศฆราวาส หรือสมณะ ขออนุโมทนาสาธุการอาจารย์ทำได้ดีที่สุดแล้ว กราบขอบพระคุณอาจารย์เป็นอย่างสูง
จรูญลักษณ์ ธ
กายที่ ๓ พิจารณาสัมปชัญญะ...รู้ในการก้าวไปข้างหน้าและถอยกลับ รู้ในการแลไปข้างหน้ารู้ในการเหลียวซ้ายแลขวา รู้ในการคู้อวัยวะเข้าเหยียดอวัยวะออก รู้ในการทรงผ้าสังฆาฏิ -บาตร-จีวร รู้ในการกิน ดื่ม เคี้ยว ลิ้มรส รู้ในการถ่ายอุจาระ-ปัสสาวะ รู้เวลาเดิน ยืน นั่ง นอน รู้เวลาหลับ ตื่น พูด นิ่งกายที่ ๔ พิจารณาปฏิกูล.ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก หัวใจ ม้าม ปอด ตับ ไต ไส้น้อย ไส้ใหญ่ พังผืด อาหารใหม่ อาหารเก่า มันสมอง ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น เปลวมัน น้ำตา น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตรคูถ..กายที่ ๕ พิจารณาธาตุ..นี้ธาตุดิน นี่ธาตุน้ำ นี้ธาตุไฟ นี้ธาตุลม.กายที่ ๖ (พิจารณานวสีวถิกา)พิจารณาเห็นสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า ตายมาแล้ว ๑ วัน ๒ วัน ๓ วัน ...กายที่ ๗ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า ที่ฝูงสัตว์ต่างๆกัดกินอยู่บ้าง ...กายที่ ๘ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ยังมีเลือดและเนื้อ ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่ ...กายที่ ๙ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ยังเปื้อนเลือดแลต่ปราศจากเนื้อแล้ว ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่...กายที่ ๑๐ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก แต่ปราศจากเลือดและเนื้อแล้ว ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่...กายที่ ๑๑ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ปราศจากเส้นเอ็นผูกรัดแล้ว กระเรี่ยรายไปในทิศน้อยทิศใหญ่...กายที่ ๑๒ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูกสีขาว เปรียบด้วยสีสังข์...กายที่ ๑๓ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูก กองเรี่ยราย เก่าเกินปีหนึ่งไปแล้ว...กายที่ ๑๔ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูกผุละเอียดแล้ว...เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า ถึงกายอันนี้เล่า ก็มีอยู่อย่างนี้เป็นธรรมดาคงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงความเป็นอย่างนี้ไปได้องค์ของการพิจารณากายทุในกาย..ทุกๆกายดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออกพิจารณาให้เห็นกายเป็นบัญญัติ เป็นอย่างไร ?พิจารณาให้เห็นกายเป็นปรมัต เป็นอย่างไร ?จนเห็นกายนี้ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)สาธุ สาธุ สาธุขอความเจริญในธรรมจงมีแก่ทุกๆท่านพระสูตรนี้ มีท่านพระอาจารย์สุรศักดิ์ สอนได้ดีที่สุด ครับ23/04/63 ...21.09-23.03 ...ROCK CITYHUNTER...
สาธุครับ อาจารย์อธิบายขยายความได้กระจ่างแจ่มชัดดีรวมไปถึงรู้จักการใช้สื่ออย่างพอดีพอเหมาะ หากสังคมเรา เข้าถึงธรรมอย่างอาจารย์และช่วยกันเผยแผ่พระพุทธศาสนา สังคมเราคงร่มเย้นมากกว่าทุกวันนี้ ขออนุโมทนา กับธรรมทาน ของอาจารย์ ครับ
สาธุค่ะ 🙏
กราบสาธุๆๆค่ะ
ท่านอาจารย์บรรยายธรรมโดยนำพุทธวจนะมาสาธยายธรรมได้ดีมาก เข้าใจง่ายและสามารถนำไปปฏิบัติได้ในชีวิตฆราวาสให้คลายทุกข์หรือทุกข์น้อยลงได้
ສາທຸ ສາທຸ ສາທຸ
ฟังแล้ว เข้าใจ และปฏิบัติได้ง่ายขึ้น ขอบคุณมากค่ะ
ฟังแบบยึดหลักกาลามสูตร ฟัง คิด พิจารณา สิ่งที่อาจารย์ถ่ายทอดล้วนเป็นสิ่งรู้ได้เฉพาะคน อนุโมทนาค่ะ
กายที่ ๒ อริยาปถเมื่อยืน ก็รู้ชัดว่า เรายืน หายใจออกเมื่อเดิน ก็รู้ชัดว่า เราเดิน หายใจเข้าเมื่อนั่ง ก็รู้ชัดว่า เรานั่ง หายใจออกเมื่อนอน ก็รู้ชัดว่า เรานอน ทายใจเข้าดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
กราบขอบพระคุณ อาจารย์ประเสริฐ อุทัยเฉลิม มากเลยค่ะท่านสอนได้ดีมาก ทำให้เข้าใจสิ่งต่าง ๆ ได้ดีมากขึ้นและนำไปสู่แนวทางการปฏิบัติได้จริง ๆ ด้วยค่ะ
ทางอื่นไม่มี มรรค 8 นี้แหละสุดยอดแล้ว
ใช้คำของคนธรรมดาอธิบายคำของพระพุทธเจ้า หลงทางครับ คำของพระพุทธเจ้าสมบูรณ์แล้วไม่ต้องอธิบาย ถ้าจะอธิบายก็ต้องใช้คำของพระพุทธเจ้ามาอธิบาย เช่นเหตุทีเกิดทุก ความดับไม่เหลือแห่งทุก อธิบายด้วย ปฎิจมุปบาท คำของพระพุทธเจ้าเป็นปฎิหาริย์ทีเหนือกว่าปฎิหาริย์ทั้งหลาย อนุสาสนีปฎิหาริย์
นุ่มนวล สาดแสง สว่างจ้า ด้วยท่วงทำนองธรรมของ อาจารย์ประเสริฐ อุทัยเฉลิม สาธุ และขอขอบคุณอาจารย์มากครับ
อย่าง คุณ ประเสริฐ เนี่ย..หาก คิดว่าตนเอง เข้าใจธรรมมะ ดีแล้ว..หนทางที่เหลือ คือ การ ปฎิบัติ การ ที่จะ หวังลาภยศ จากสังคมคน คง ไม่มีเหลือ ในใจ เพราะ มันไม่มีอะไร เป้นตัวตน จริงๆ การทำ จิตตนให้แจ้ง พระนิพพาน จึงเป็นงานหลัก..และการ จะถึงนิพพานได้ หาก ยัง อยู่ในเพศ ฆราวาส มัน ก้ จะถึงยาก..เพราะ ความที่ยัง มีภาระ ผูกพัน อันเนื่องด้วย เพศสภาวะ..หาก บวชแล้ว บรรลุธรรม ได้ การ ออกสั่งสอนธรรม ยังไม่สาย และจะสง่างาม กว่านี้มาก...เจริญพร
สาธุอนุโมทนาคำสอนของพระอาจารย์ที่จะทำทางไปสู่การปฏิบัติตามคำของพระสาสดา สาธุธรรมคะ
(๑๔๐)ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพึงพิจารณาเห็นจิตในจิต อยู่อย่างไรเล่า? ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พึงพิจารณา เมื่อจิตมีราคะ ก็รู้ชัดว่าจิตเรามีราคะ เมื่อจิตปราศจากราคะ ก็รู้ชัดว่าจิตเราปราศจากราคะ เมื่อจิตมีโทสะ ก็รู้ชัดว่าจิตเรามีโทสะ เมื่อจิตปราศจากโทสะ ก็รู้ชัดว่าจิตเราปราศจากโทสะ เมื่อจิตมีโมหะ ก็รู้ชัดว่าจิตเรามีโมหะ เมื่อจิตปราศจากโมหะ ก็รู้ชัดว่าจิตเราปราศจากโมหะ เมื่อจิตหดหู่ ก็รู้ชัดว่าจิตเราหดหู่ เมื่อจิตฟุ้งซ่าน ก็รู้ชัดว่าจิตเราฟุ้งซ่าน เมื่อจิตเป็นมหรคต ก็รู้ชัดว่าจิตเราเป็นมหรคต เมื่อจิตไม่เป็นมหรคต ก็รู้ชัดว่าจิตเราไม่เป็นมหรคต เมื่อจิตมีธรรมอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ชัดว่าจิตเรามีธรรมอื่นยิ่งกว่า เมื่อจิตไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ชัดว่าจิตเราไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า เมื่อจิตตั้งมั่น ก็รู้ชัดว่าจิตเราตั้งมั่น เมื่อจิตไม่ตั้งมั่น ก็รู้ชัดว่าจิตเราไม่ตั้งมั่น เมื่อจิตหลุดพ้น ก็รู้ชัดว่าจิตเราหลุดพ้น เมื่อจิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ชัดว่าจิตเราไม่หลุดพ้น ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า เห็นจิตในจิตภายในบ้าง หายใจออก เห็นจิตในจิตภายนอกบ้าง หายใจเข้า เห็นจิตในจิตทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในจิตบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมคือความเสื่อมในจิตบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในจิตบ้าง หายใจเข้า ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่าจิตมีอยู่ หายใจออก ก็เพียงสักว่าความรู้ในจิต หายใจเข้า เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ หายใจออก
🙏🙏🙏
ธรรมของพระพุทธองค์ที่อาจารย์นำมาแสดงเข้าใจง่าย ปฏิบัติง่ายค่ะ สาธุๆๆ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิธัมมัง สะระณัง คัจฉามิสังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
เข้าใจได้ง่ายมากๆค่ะ สาธุๆค่ะ
ประทับใจมากครับ สาธุ
30:001. สัมมาทิฎฐิ ความเห็นชอบความรู้ในอริยสัจ สี่2. สัมมาสังกัปโป ความดำริชอบดำริในการออกจากกาม(ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) ดำริในการไม่มุ่งร้าย ไม่เบียดเบียน3. สัมมาวาจาพูดจริง vs พูดส่อเสียด(ก่อให้เกิดความแตกแยก) พิจารณาถึงน้ำหนักที่จะเกิดขึ้น4. สัมมากัมมันโต การทำการงานชอบเจตนาเป็นเครื่องเว้น เจตนาเป็นกรรม5. สัมมาอาชีโว เลี้ยงชีพชอบ6. สัมมาวายาโม ความพากเพียรชอบ6.1 พอใจ เพียรในการไม่ทำอกุศล6.2 พอใจ เพียรในการละอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว6.3 พอใจ เพียรในการสร้างกุศล6.4 พอใจ เพียรในการรักษา พัฒนากุศล7. สัมมาสติ ความระลึกชอบเห็นกายในกาย มีสติเห็นการเคลื่อนของกาย เช่น เห็นลมหายใจ เห็นเวทนาในเวทนา เห็นจิตในจิต เห็นธรรมในธรรม อยู่เป็นประจำด้วยใจเป็นกลางมีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสติ มีสัมปัชชัญญะ ถอนความพอใจและไม่พอใจในโลกออก8. สัมมาสมาธิ สงัดแล้วจากกาม, อกุศล เข้าสู่ปิติสุข เข้าสู่อุเบกขา คือละจากปิติสุข ย่อลงได้ ปัญญา ศีล สมาธิปล่อยวาง แม้อุเบกขา เพื่อเข้าสุญญาตา
(๑๓๑) ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ (จากพระไตรปิฏก ฉบับหลวง๔๕เล่ม ในเล่มที่๑๐)สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในแค้วนกุรุ มีนิคมหนึ่งของแค้วนกุรุ ชื่อกัมมาสธรรม ณ.ที่นั่น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่าดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าทูลรับต่อพระผู้มีพระภาคแล้ว.(๑๓๒) พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสพระพุทธภาษิตนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายหนทางนี้เห็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัสเพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำพระนิพพานให้แจ้งหนทางนี้คือ สติปัฏฐาน ๔ ประการ สติปัฏฐาน ๔ ประการเป็นไฉน ?ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑พิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑การพิจารณาเห็นกายในกายอยู่อย่างไรเล่า ?ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไปสู่ป่าก็ดี ไปสู่โคนไม้ก็ดี ไปสู่เรือนว่างก็ดี เธอนั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสตไว้เฉพาะหน้ากายที่ ๑ ลมหายใจออก ลมหายใจเข้ามีสติ หายใจออกมีสติ หายใจเข้าเมื่อหายใจออกยาว ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจออกยาวเมื่อหายใจเข้ายาว ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาวเมื่อหายใจออกสั้น ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้นเมื่อหายใจเข้าสั้น ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้นย่อมสำเหนียกว่า เราเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจออกย่อมสำเหนียกว่า เราเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจเข้าย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร หายใจออกย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้าดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออกภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้าเห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออกเห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้าเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออกเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้าเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออกเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้าย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออกก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้าเพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออกเธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้าไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออกดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้าภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
สาธุๆธรรมค่ะ
จะยึดเป็นแนวทางปฏิบัติ ขอบคุณมากครับอาจารย์
อนุโมทนา สาธุค่ะ
มรรค 8 สุดยอดของสิ่งที่มนุษย์ควรยึดเป็นหลักคำสอน และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันค่ะชีวิตทุกวันนี้ อยู่ได้อย่างสุขใจ มีชีวิตอยู่เป็นปกติสุขก็เพราะอยู่ในมรรคมีองค์แปดนี้ค่ะ
ท่านสอนดีมาก
ขอบคุณครับ อ.ประเสริฐ อุทัยเฉลิมเพื่อนๆท่านใดได้ชม-ได้ฟัง อริยมรรคมีองค์๘ นี้แล้ว ยังไม่รู้จะปฏิบัติอย่างไร?ผมเห็นด้วยครับ...แต่ผมข้อแนะนำต่อจาก อ.น่ะครับ เพราะ อ. ท่านคงไม่มีเวลาพอทางปฏิบัตินั้นคือ สติปัฏฐาน ๔ ครับ..ก็คือการปฏิบัติ"สัมมาสติ"นั่นเองครับที่อ.อธิบายมานั้น เนื้อหาของสติปัฏฐาน๔ มีแค่นิดเดียว ครับ เนื้อหาโดยย่ออยู่ด้านล่างที่ผมโพสมานี่แหละครับอยากรู้เพิ่มเติมขอเชิญเข้า"กลุ่มสติปัฏฐาน๔"ในเฟสบุ๊ค หรือท่านรู้แล้วก็สามารถหาศึกษาด้วยตัวเองจากพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ ในเน๊ตเล่มที่ ๑๒ ท่านอ่านแล้วจะเข้าใจ เรื่องอริยมรรคมีองค์ ๘ มากขึ้น
ขอบคุณ อ.ประเสริฐ ท่านทำหน้าที่สื่อนำธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัดรู้มาเผยแผ่เป็นภาษาไทย ทำให้เข้าใจธรรมของพระพุทธองค์ได้.ขั้นตอนนำเสนอเข้าใจง่าย..สาระอยู่ตรงนี้มิใช่หรือ..
ขอบคุณผู้แบ่งปันครับ
ธรรมที่อาจารย์บรรยายทำให้เข้าใจง่าย(สำคัญมาก)และน่าติดตามมากครับ
ขอบพระคุณ และขออนุโมทนา สาธุค่ะ
ผมได้มีโอกาสไปฟังที่สวนยินดีธรรม กับคณะ ประทับใจมากทำให้เข้าใจและเป็นเส้นทางที่ผมนำไปเรียนรู้และปฏิบัติ
🙏
อนุโมธนาสาธุคับ
ท่าน อ. ประเสริฐ อุทัยเฉลิม อธิบายได้ชัดเจนมาก
ขออนุโมทนา สาธุ การเผยแผ่ธรรมของท่านอย่างแจ่มแจ้ง
อาจารย์ดูใจดีจังเลยค่ะ และไขข้อข้องใจของนู๋ได้เลยทีเดียว
ห่างจาก สิ่งสมมติ ฉุดให้หลง คงบอกดี มีที่ใจใช่ที่อื่น...
สาธุๆๆเจริญธรรม
ขอแก้ไขข้อผิดพลาดมีใครเคยอ่านแผ่นพับ เรื่อง มรรค 8 หนทางพ้นทุกข์สู่พระนิพพาน ที่ทำโดยผู้ก่อการดีที่ผมเคยบริจาคขอแก้ไขข้อผิดพลาดครับ ตรงสัมมากัมมันตะ ขอแก้ไม่ประพฤติผิดในกามารมณ์ เป็นไม่ประพฤติผิดในกาม ล่วงประเวณีคู่ครองของผู้อื่นและขอแก้ตรงการรักษาศีล ข้อที่ 4 ในศีล 5 เท่ากับสัมมาวาจา ต้องเป็นการรักษาศีล ข้อที่ 4 และประพฤติวจีสุจริตข้ออื่นๆด้วย เท่ากับสัมมาวาจา และแผ่นพับเรื่องอื่นๆ ที่ทำโดยผู้ก่อการดีด้วยครับ ถ้ามีข้อผิดพลาดต้องขออภัย และขอให้ท่านทั้งหลายได้ศึกษาเพิ่มเติมอย่างละเอียดโดยพิจารณาด้วยหลักของกาลามสูตร กาลามสูตร คือ พระสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ชาวกาลามะ หมู่บ้านเกสปุตตนิคม แคว้นโกศล (เรียกอีกอย่างว่า เกสปุตตสูตร ก็มี[1]) กาลามสูตรเป็นหลักแห่งความเชื่อที่พระพุทธองค์ทรงวางไว้ให้แก่พุทธศาสนิกชน ไม่ให้เชื่อสิ่งใด ๆ อย่างงมงายโดยไม่ใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นจริงถึงคุณโทษหรือดีไม่ดีก่อนเชื่อ มีอยู่ 10 ประการ ได้แก่1.มา อนุสฺสวเนน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการฟังตามๆ กันมา2.มา ปรมฺปราย - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการถือสืบๆ กันมา3.มา อิติกิราย - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเล่าลือ4.มา ปิฏกสมฺปทาเนน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการอ้างตำราหรือคัมภีร์5.มา ตกฺกเหตุ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเดาว่าเป็นเหตุผลกัน6.มา นยเหตุ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะการอนุมานคาดคะเน7.มา อาการปริวิตกฺเกน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเดาจากอาการที่เห็น8.มา ทิฎฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว9.มา ภพฺพรูปตา - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะผู้พูดมีลักษณะน่าเชื่อถือ10.มา สมโณ โน ครูติ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่า ท่านสมณะนี้ เป็นครูของเราเมื่อใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่า..ธรรมเหล่านั้นเป็นอกุศลหรือมีโทษเมื่อนั้นพึงละเสีย และเมื่อใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่า..ธรรมเหล่านั้นเป็นกุศลหรือไม่มีโทษ เมื่อนั้นพึงถือปฏิบัติจงพิจารณาและปฏิบัติให้เห็นตามความเป็นจริงของธรรมชาติ...
ช
ขอบคุณที่เอามาแบ่งปันนะคะ _/\_
ท่านอธิบายได้ชัดเจนจนเห็นภาพสาธุ
สาธุค่ะ
สาธุ สาธุ สาธุ
เป็นความรู้มากๆเลยครับ สาธุ สาธุ
ผมยังไม่ได้ดู แต่ดูจากหัวข้อ และบอก ง่ายๆพ้นทุก คนเรารู้อยูสิ่งไหนดีไม่ดี เท่านั้น ถ้าทำแต่สิ่งดี ใจก็เกิดบุญแล้ว จบ
สาธุ ตัวอย่างชัดเจนมาก
ยินดีในธรรมคะ
ขออนุญาต แชร์ในกลุ่มนะคะ สาธุค่ะ
ขอบคุณครับ
เราไม่ได้บอกว่า อาจารย์บรรลุนะคะ แต่เราบอกว่า ฆราวาสสามารถเข้าถึงธรรมะได้เหมือนกัน และสามารถแสดงธรรมได้เหมือนกัน อย่างที่บอกไปในก่อนหน้านี้ถึงคนสี่ประเภทที่จะช่วยธำรงพระศาสนา เพราะฉะนั้นจะมาบอกว่า ฆราวาสไม่ควรแสดงธรรมนี่เราว่า..มันคับแคบเกินไปน่ะค่ะ
ดีมากครับได้นำเสนอให้ผู้คนได้รับฝังเป็นบุญกุลศลชั้นเลิศครับ ขอบพระคุณครับที่จังสิ่งดีๆมาเป็นบุญครับ ขอบพระคุณมากครับ?
...เริ่มต้นด้วยการ...รักษาศีล ๕ ให้ครบถ้วนบริบูรณ์ ก่อนดีกว่ามั๊ยครับ
nueng2027 ปุถุชนทั่วไปควรรักษาศีล 5เมื่อบุคคลตั้งใจเริ่มปฏิบัติธรรมแล้ว ควรทำกุศลกรรมบท 10 ซึ่งขยายเพิ่มขึ้นมาจากศีล 5บุคคลผู้ทำกุศลกรรมบท 10 นั้น ย่อมเข้าสู่ขั้นของมรรคมีองค์แปด ตั้งแต่ข้อที่ 1-5ลองไล่เปรียบเทียบดูนะครับ แล้วจะเข้าใจว่าทำไมบุคคลผู้รักษาศีล 5 แล้วจึงสามารถปฏิบัติมรรคมีองค์แปดได้อย่างรวดเร็วกว่าบุคคลผู้ที่ไม่มีศีล 5 หรือมีไม่ครบ
2.08.20 >> ช่วงที่พูดถึงพระที่ฆ่าตัวตาย อันนี้ขอขยายความดังคำของหลวงพ่อฤาษีลิงดำ ท่านว่า มิใช้ว่าระลึกถึงศีล แต่ท่านเป็นผู้ที่ป่วยง่ายมิอาจเจริญสมาธิได้จึงเกิดเบื่อหน่ายในขันธ์ รู้สึกว่าขันธ์มันแย่ ถ้าขันธ์มันดีป่านนี้คงสามารถทำสมาธิสำเร็จมรรคผลแล้ว ด้วยความคิดเช่นนี้จึงได้ฆ่าตัวตาย เช่นนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ต้องการในขันธ์ท่านจึงเข้าสู่นิพพาน
ผมกราบขอบคุณท่านอาจารย์มากที่ใด้ให้ความกระจ่างในการปฏิบัติมากขึ้น
อธิบายแจ่มแจ้ง ขอบคุณครับ
@alexy757 เอ่อ..อ่านแล้วเหมือนจะบอกว่า เป็นฆราวาสไม่ควรออกแสดงธรรมเหรอคะ? อาจารย์ประเสริฐท่านก็ย้ำเสมอว่าธรรมะที่ท่านพูดคือมาจากพระพุทธองค์ค่ะ ไม่เคยยกตนเองฆราวาสทำไมจะแสดงธรรมไม่ได้คะ? ฆราวาสบรรลุโสดาบันตั้งแต่ 7 ขวบยังมี บรรลุถึงอรหันต์ก็ยังมี ทำไมต้องพระภิกษุหรือพระสงฆ์เท่านั้นคะที่จะแสดงธรรมได้? เอาจากไหนมาคะว่าฆราวาสแสดงธรรมแล้วเป็นการไม่เคารพพระศาสดาคะ?
นิพพานไม่ได้เจาะจงเฉพาะภิขษุ ผู้ใดรู้อริยสัจ ไม่ว่าจะเป็นภิขษุ(ผู้ละจากการครองเรือน) อุบาสถ อุบสิกา ( ผู้ครองเรือนทั่วไป ) ย่อมบรรลุธรรมอริยสัจเช่นเดียวกันมิได้มีสิ่งใดมากางกั้นได้ไม่........
เรื่อง คนอายุ 7 ขวบ บรรลุ โสดาบัน ..มีหรือไม่ ผมไใ่เคยพบ แต่ในพระไตรปิฏก มีกล่าว ถึงเรื่องนี้ ไว้ หลายๆ จุด แต่ พระอรหันต์ ในเพศฆราวาส..ในยุคปัจจุบัน ผมไม่เคยเห็น และไม่มี ข่าว..นี้ มีแต่ฆราวาส ที่บรรลุแล้ว ตายทันที..อันนี้ ผม เคยได้ยินข่าว..ส่วนในพระไตรปิฏกที่เป็น ฆราวาส แล้วบรรลุธรรม นั้น หาก ไม่ บวช ผมเห็น ตามตำรา ก็ ตาย ซะ ก่อนได้บวช ส่วน คนไหน บรรลุธรรมแล้ว ที่จะไม่ขอบวช ไม่มี เลย คนไหนบรรลุธรรมขั้นสูง มีแต่ ขอบวชทั้งสิ้น..เพราะ ชีวิต ฆราวาส คับแคบ..เ้สี่ยง เกินไป.เพราะจิตพ้นแล้ว
ใครรู้ช่วยบอกทีว่าศูนย์ปติบัติธรรมของอ.อยู่ที่ไหนติดต่อยังไงครับ ขอบคุณมากครับ
อาจารย์ ประเสริฐ เข้าใจธรรมมะ มาก ทำไม ไม่บวช ในพระพุทธศาสนา ซะ การถือ ครอง เพศ ฆราวาส แล้ว ออกมาแสดงธรรม นี้ เหมือนไม่ให้เกียรติ ต่อ พระรัตนตรัย และ ไไม่เคารพใน องค์พระศาสดาจริง เพระา คำสอนทั้งหมด มี จุดเริ่มต้นมาจาก พระพุทธองค์ ทั้งสิ้น
เทพบุตร ชาวดินดำ เคยบวชแล้วครับ แต่ด้วยคดีความเลยต้องลาสิกขา ถ้าคุณจะไม่สมาทานแก ผมโอเคนะ เข้าใจได้ แต่ผมสมาทานแกว่ะ
อ่านอันก่อนหน้านี้ก่อนนะคะ เดี๋ยวจะงงที่คัดค้านเพราะคุณบอกว่าอาจารย์ไม่ให้เกียรติและไม่เคารพองค์พระศาสดา (ด้วยการใช้ประโยชคก่อนหน้านั้นว่า ถือเพศฆราวาสแล้วยังออกแสดงธรรม)...ซึ่งเราก็เลยถามไงคะว่า ฆราวาสแสดงธรรมเป็นการไม่เคารพพระศาสดาตรงไหน?แล้วก็..พระพุทธองค์ สมณโคมดม ไม่ใช่องค์แรกในกัปป์นี้ค่ะ ท่านเป็นองค์ที่ 4 แล้วค่ะ เป็นองค์ที่สี่ในภัทรกัปป์
sa dhu ka
Naliphôney
"ใคร" เป็นผู้รู้ว่า "ทุกข์"อย่าขายก่อนซื้อ
คำเดียว (คนไทย)?
ศาสนาพุทธเอง พระพุทธเจ้าท่านก็บอกว่ามีคนสี่ประเภทที่จะช่วงธำรงศาสนาพุทธต่อไปไม่ใช่เหรอคะ? ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา แล้วการที่คุณจะบอกว่า ให้คนที่เข้าใจศาสนา ฆราวาสควรบวชทั้งหมดเพื่อเป็นการเคารพพระพุทธองค์และให้เกียรติท่าน งั้นอุบาสก อุบาสิกาก็ไม่ต้องมี เป็นภิกษุ ภิกษุณี (ซึ่งในไทยไม่ยอมรับให้มี) กันหมดสิคะ
@theworpor คุณ ไม่เข้าใจ สิ่งที่ผม กล่าวนะ...อย่ามอง เชิง หา ข้อ คัดค้าน เพื่อถกเถียงสิครับ..ผม บอกว่า เข้าใจศาสนาดีแล้ว น่าจะบวช..เพื่อ การเผยแผ่ธรรมจะได้ เป็น เอกเทศ ที่ดีงาม เพราะ คำสอน ทั้งปวง ล้วนมาจาก พระพุทธองค์ ท่านทรง ค้นพบเป็น องค์ แรกใน กัปป์นี้..การ แสดงธรรม จึงควร แต่งกาย และ แต่งใจ ให้สมเป็น พุทธบุตร..แท้ๆเป็นการ เคารพ พระพุทธองค์ และให้เกียรติ ท่าน..ใน ฐานะ ที่ท่าน ทรงเป้นศาสดา แห่งคำสอน..ผม พูด ผิด หรอ ไร
เข้าใจแต่ไม่เข้าจิต ไปปฏิบัติเถิด
ทะเลาะกันทำไม
อยากได้บทสวด
สาธุครับ
ยินดีในบุญท่านผู้เผยแผ่ธรรมและผู้ฟังธรรมทุกท่านครับ
น้อมกราบท่านอาจารย์เจ้าค่ะ
อนุโมทนาสาธุครับ
ยินดีในบุญท่านผู้บรรยายและยินดีในกุศลจิตผู้ฟังธรรมทุกท่านครับ
อาจารย์สอนได้ดีมากและเข้าใจง่ายครับกราบโมธนาสาธุครับ
ຂອບໃຈທີເພີ່ນອະທິບາຍໃຫ້ເຂົ້າໃຈມັກມີອົງ8
กราบสวัสดี พี่ๆทุกคนคะ ข้าพเจ้าขอกราบรบกวน ขออนุญาตอนุโมทนาบุญให้ประเทศต่างๆ ทุกประเทศในโลกใบนี้ให้หนีโควิด ขอกราบอภัยพี่ๆไว้ก่อนเลยถ้าทำให้พวกพี่ ลำบาก สมุทรสาคร อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุเชียงราย อนุโมทนาสาธุเชียงใหม่ อนุโมทนาสาธุ น่าน อนุโมทนาสาธุ พะเยา อนุโมทนาสาธุแพร่ อนุโมทนาสาธุแม่ฮ่องสอน อนุโมทนาสาธุลำปาง อนุโมทนาสาธุลำพูนอนุโมทนาสาธุกาฬสินธุ์อนุโมทนาสาธุนครพนมอนุโมทนาสาธุบึงกาฬ อนุโมทนาสาธุ บุรีรัมย์อนุโมทนาสาธุมหาสารคาม อนุโมทนาสาธุมุกดาหาร อนุโมทนาสาธุยโสธร อนุโมทนาสาธุร้อยเอ็ด อนุโมทนาสาธุ สกลนคร อนุโมทนาสาธุสุรินทร์ ศรีสะเกษ อนุโมทนาสาธุหนองคาย อนุโมทนาสาธุหนองบัวลำภู อนุโมทนาสาธุอำนาจเจริญ อนุโมทนาสาธุ พิษณุโลก อนุโมทนาสาธุ ลพบุรี อนุโมทนาสาธุ สิงห์บุรี อนุโมทนาสาธุ สุโขทัย อนุโมทนาสาธุ อุทัยธานี อนุโมทนาสาธุ จันทบุรี อนุโมทนาสาธุ ตราด อนุโมทนาสาธุ สระแก้วอนุโมทนาสาธุ กาญจนบุรี อนุโมทนาสาธุชุมพร อนุโมทนาสาธุ ชุมพร อนุโมทนาสาธุปัตตานี อนุโมทนาสาธุ พังงา อนุโมทนาสาธุ พัทลุง อนุโมทนาสาธุ ระนอง อนุโมทนาสาธุ ยะลา อนุโมทนาสาธุไทย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุอินเดีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุโลก อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุสหรัฐอเมริกา อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุสเปน อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุ อิตาลี อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุ เยอรมนี อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุ สหราชอาณาจักร อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุ ฝรั่งเศส อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุ ตุรกี อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ สาธุ อิหร่าน อนุโมทนาสาธุ สาธุสาธุสาธุ จีน อนุโมทนาสาธุ สาธุสาธุสาธุ รัสเซีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ บราซิล อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เบลเยียม อนุโมทนาสาธุ สาธุสาธุสาธุแคนนาดา อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เนเธอร์แลนด์ อนุโมทนาสาธุ สาธุสาธุสาธุ สวิตเซอร์แลนด์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ อินเดีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ โปรตุเกส อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เอกวาดอร์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เปรู อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุไอร์แลนด์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ สวีเดน อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ซาอุดีอาระเบีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ออสเตรีย อนุโมทนาสาธุ สาธุสาธุสาธุ อิสราเอล อนุโมทนาสาธุ สาธุสาธุสาธุ เม็กซิโกอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ญี่ปุ่นอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ชิลีอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ สิงคโปร์อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ปากีสถานอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ โปแลนด์อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เกาหลี อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ โรมาเนีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เบลารุส อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ กาตาร์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ อินโดนีเซีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เดนมาร์ก อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ยูเครน อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ เซอร์เบียร์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ นอร์เวย์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ประเทศเช็กเกีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ฟิลิปปินส์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ออสเตรเลีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ สาธารณรัฐโดมินิกัน อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ มาเลเซีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ปานามา อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ โคลอมเบีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ บังกลาเทศ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ฟินแลนด์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ แอฟริกาใต้ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ อียิปต์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ โมร็อคโก อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ อลักเซมเบิร์ก อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ อาร์เจนตินา อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ แอลจีเรีย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ มอลโดวา อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ ประเทศไทย อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ คูเวต อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ บาห์เรน อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ กรีซ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุแม่ประทุม สาธุอนุโมทนาสาธุ
แม่ประทุมอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุแม่ประทุมอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุสาธุสาธุปังปอนด์อนุโมทนาสาธุเปาอนุโมทนาสาธุเปา พิมพ์ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุแดง วัดเขาถ้ำ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุแม่องค์ขายส้มตำ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุ
เล็ก ใหญ่ ออด บางมดอนุโมทนาสาธุสาธุสาธุสาธุI อนุโมทนาสาธุ99,999,931
เห็นต้นเหตุแห่งทุกขง่ายขึ้นเมื่อได้ฟังท่านอาจารย์ครับ กราบขอบพระคุณท่านมากครับ
ขอกราบเท้าอาจารย์ที่เคารพครับ
สาธุๆค่ะท่านอาจารย์
(๑๓๙) เห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทรมนัสในโลกเสียได้ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่าเสวยสุขเวทนา เมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู่ชัดว่าเสวยทุกขเวทนา เมื่อเสวยอทุกขมสุข ก็รู้ชัดว่าเสวยอทุกขมสุขเวทนา เมื่อเสวยสุขเวทนามีอามิส ย่อมรู้ชัดว่าเสวยสุขเวทนามีอามิส เมื่อเสวยสุขเวทนาไม่มีอามิส ย่อมรู้ชัดว่าเสวยสุขเวทนาไม่มีอามิส เมื่อเสวยทุกขเวทนามีอามิส ย่อมรู้ชัดว่าเสวยทุกขเวทนามีอามิส เมื่อเสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิส ย่อมรู้ชัดว่าเสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิส เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิส ย่อมรู้ชัดว่าเสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิส เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มีอามิส ย่อมรู้ชัดว่าเสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มีอามิส ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า เห็นเวทนาในเวทนาภายในบ้าง หายใจออก เห็นเวทนาในเวทนาภายนอกบ้าง หายใจเข้า เห็นเวทนาในเวทนาทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในเวทนาบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมคือความเสื่อมในเวทนาบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในเวทนาบ้าง หายใจเข้า ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่าเวทนามีอยู่ หายใจออก ก็เพียงสักว่าความรู้ในเวทนานี้ หายใจเข้าเพียงสักว่าอาศัยเวทนานี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ หายใจออก
ขอนอบน้อมในธรรมของพระบรมศาสดาที่ทรงไว้เพื่อสอนสัตว์โลกให้พ้นทุกข์ และขอน้อมจิตอนุโมทนาบุญกับท่านอาจสรย์ที่นำธรรมมาเผยแผ่เป็นธรรมทานเพท่อประโยชน์แก่ผู้ปฏิบัติได้อย่างดีเยี่ยมค่ะ 🌼🙏🙏🙏🌼
(๑๔๑) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคือนิวรณ์๕ อยู่อย่างไรเล่า ? ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พึงพิจารณา ๑.เมื่อกามฉันทะมีอยู่ ณ.ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่ากามฉันทะมีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา เมื่อกามฉันทะไม่มีอยู่ ณ.ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่ากามฉันทะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่งกามฉันทะ ที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อนึ่งกามฉันทะ ที่เกิดขึ้นแล้วจะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อนึ่งกามฉันทะ ที่ละได้แล้วจะไม่เกิดขึ้นอีกด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย เมื่อพยาบาท... เมื่อถิ่นมิทธะ... เมื่ออุทธัจจกุกกุจจะ... เมื่อวิจิกิจฉามีอยู่ ณ.ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่ากามฉันทะมีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา เมื่อวิจิกิจฉาไม่มีอยู่ ณ.ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่ากามฉันทะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่งวิจิกิจฉา ที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อนึ่งวิจิกิจฉา ที่เกิดขึ้นแล้วจะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อนึ่งวิจิกิจฉา ที่ละได้แล้วจะไม่เกิดขึ้นอีกด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า เห็นธรรมในธรรมภายในบ้าง หายใจออก เห็นธรรมในธรรมภายนอกบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมในธรรมทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรมบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมคือความเสื่อมในธรรมบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในธรรมบ้าง หายใจเข้า ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่าธรรมมีอยู่ หายใจออก ก็เพียงสักว่าความรู้ในธรรมนี้ หายใจเข้า เพียงสักว่าอาศัยธรรมนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคือนิวรณ์ ๕ อยู่ หายใจออก ๒.พิจารณาธรรมในธรรม คือ อุปาทานขันธ์ ๕... ๓.พิจารณาธรรมในธรรมคือ อายตนะภายใน๖ภายนอก๖... ๔.พิจารณาธรรมในธรรมคือ โพชฌงค์๗... ๕.พิจารณาธรรมในธรรมคือ สัจจบรรพ (อริยสัจ๔)..คือทุกข สมุทัย นิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ผลของการปฏิบัติสติปัฏฐาน ๔ คือก็ผู้หนึ่งผู้ใด พึงเจริญสติปัฏฐาน๔ นี้อยู่อย่างนี้ตลอด ๗-๖-๕-๔-๓-๒-๑ ปี ตอลด ๗-๖-๕-๔-๓-๒-๑-ครึ่งเดือน ตลอด ๗ วัน เขาพึงหวังผล ๒ ประการ อย่างใดอย่างหนึ่งคือพระอรหันตผลในปัจจุบันหรือเมื่อยังมีขันธปัญจกเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี
ใครจะว่ายังไงก็ช่าง อาจารย์ทำให้หนูเข้าใจหลักธรรมคำสอนของพระพุทธองค์มากขึ้น จากเมื่อก่อนที่หนูปฏิบัติก็มัวแต่ยึดกับหลักการว่าจะต้องทำแบบนี้ เดินแบบนี้ นั่งแบบนี้ ตอนนี้เริ่มคลายความยึดมั่นถือมั่นลงได้บ้างแล้ว อยากให้อาจารย์เผนแพร่คำสอนของพระศาสดาต่อไป ไม่ว่าจะอยู่ในเพศฆราวาส หรือสมณะ ขออนุโมทนาสาธุการอาจารย์ทำได้ดีที่สุดแล้ว กราบขอบพระคุณอาจารย์เป็นอย่างสูง
จรูญลักษณ์ ธ
กายที่ ๓ พิจารณาสัมปชัญญะ...รู้ในการก้าวไปข้างหน้าและถอยกลับ รู้ในการแลไปข้างหน้ารู้ในการเหลียวซ้ายแลขวา รู้ในการคู้อวัยวะเข้าเหยียดอวัยวะออก
รู้ในการทรงผ้าสังฆาฏิ -บาตร-จีวร รู้ในการกิน ดื่ม เคี้ยว ลิ้มรส รู้ในการถ่ายอุจาระ-ปัสสาวะ รู้เวลาเดิน ยืน นั่ง นอน รู้เวลาหลับ ตื่น พูด นิ่ง
กายที่ ๔ พิจารณาปฏิกูล.ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก หัวใจ ม้าม ปอด ตับ ไต ไส้น้อย ไส้ใหญ่ พังผืด อาหารใหม่ อาหารเก่า มันสมอง
ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น เปลวมัน น้ำตา น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตรคูถ..
กายที่ ๕ พิจารณาธาตุ..นี้ธาตุดิน นี่ธาตุน้ำ นี้ธาตุไฟ นี้ธาตุลม.
กายที่ ๖ (พิจารณานวสีวถิกา)พิจารณาเห็นสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า ตายมาแล้ว ๑ วัน ๒ วัน ๓ วัน ...
กายที่ ๗ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า ที่ฝูงสัตว์ต่างๆกัดกินอยู่บ้าง ...
กายที่ ๘ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ยังมีเลือดและเนื้อ ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่ ...
กายที่ ๙ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ยังเปื้อนเลือดแลต่ปราศจากเนื้อแล้ว ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่...
กายที่ ๑๐ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก แต่ปราศจากเลือดและเนื้อแล้ว ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่...
กายที่ ๑๑ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ปราศจากเส้นเอ็นผูกรัดแล้ว กระเรี่ยรายไปในทิศน้อยทิศใหญ่...
กายที่ ๑๒ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูกสีขาว เปรียบด้วยสีสังข์...
กายที่ ๑๓ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูก กองเรี่ยราย เก่าเกินปีหนึ่งไปแล้ว...
กายที่ ๑๔ พิจารณาสรีระ ที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นกระดูกผุละเอียดแล้ว...เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า ถึงกายอันนี้เล่า ก็มีอยู่อย่างนี้เป็นธรรมดา
คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงความเป็นอย่างนี้ไปได้
องค์ของการพิจารณากายทุในกาย..ทุกๆกาย
ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก
ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า
เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก
เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า
เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า
เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า
ย่อมอยู่ หายใจออก
อนึ่ง หายใจเข้า
สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก
ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า
เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก
เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า
ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก
ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า
ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
พิจารณาให้เห็นกายเป็นบัญญัติ เป็นอย่างไร ?
พิจารณาให้เห็นกายเป็นปรมัต เป็นอย่างไร ?
จนเห็นกายนี้ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)
สาธุ สาธุ สาธุ
ขอความเจริญในธรรมจงมีแก่ทุกๆท่าน
พระสูตรนี้ มีท่านพระอาจารย์สุรศักดิ์ สอนได้ดีที่สุด ครับ
23/04/63 ...21.09-23.03 ...ROCK CITYHUNTER...
สาธุครับ อาจารย์อธิบายขยายความได้กระจ่างแจ่มชัดดีรวมไปถึงรู้จักการใช้สื่ออย่างพอดีพอเหมาะ หากสังคมเรา เข้าถึงธรรมอย่างอาจารย์และช่วยกันเผยแผ่พระพุทธศาสนา สังคมเราคงร่มเย้นมากกว่าทุกวันนี้ ขออนุโมทนา กับธรรมทาน ของอาจารย์ ครับ
สาธุค่ะ 🙏
กราบสาธุๆๆค่ะ
ท่านอาจารย์บรรยายธรรมโดยนำพุทธวจนะมาสาธยายธรรมได้ดีมาก เข้าใจง่ายและสามารถนำไปปฏิบัติได้ในชีวิตฆราวาสให้คลายทุกข์หรือทุกข์น้อยลงได้
ສາທຸ ສາທຸ ສາທຸ
ฟังแล้ว เข้าใจ และปฏิบัติได้ง่ายขึ้น ขอบคุณมากค่ะ
ฟังแบบยึดหลักกาลามสูตร ฟัง คิด พิจารณา สิ่งที่อาจารย์ถ่ายทอดล้วนเป็นสิ่งรู้ได้เฉพาะคน อนุโมทนาค่ะ
กายที่ ๒ อริยาปถ
เมื่อยืน ก็รู้ชัดว่า เรายืน หายใจออก
เมื่อเดิน ก็รู้ชัดว่า เราเดิน หายใจเข้า
เมื่อนั่ง ก็รู้ชัดว่า เรานั่ง หายใจออก
เมื่อนอน ก็รู้ชัดว่า เรานอน ทายใจเข้า
ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก
ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า
เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก
เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า
เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า
เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า
ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า
สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก
ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า
เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก
เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า
ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก
ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า
ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
กราบขอบพระคุณ อาจารย์ประเสริฐ อุทัยเฉลิม มากเลยค่ะ
ท่านสอนได้ดีมาก ทำให้เข้าใจสิ่งต่าง ๆ ได้ดีมากขึ้น
และนำไปสู่แนวทางการปฏิบัติได้จริง ๆ ด้วยค่ะ
ทางอื่นไม่มี มรรค 8 นี้แหละสุดยอดแล้ว
ใช้คำของคนธรรมดาอธิบายคำของพระพุทธเจ้า หลงทางครับ คำของพระพุทธเจ้าสมบูรณ์แล้วไม่ต้องอธิบาย ถ้าจะอธิบายก็ต้องใช้คำของพระพุทธเจ้ามาอธิบาย เช่นเหตุทีเกิดทุก ความดับไม่เหลือแห่งทุก อธิบายด้วย ปฎิจมุปบาท คำของพระพุทธเจ้าเป็นปฎิหาริย์ทีเหนือกว่าปฎิหาริย์ทั้งหลาย อนุสาสนีปฎิหาริย์
นุ่มนวล สาดแสง สว่างจ้า ด้วยท่วงทำนองธรรมของ อาจารย์ประเสริฐ อุทัยเฉลิม สาธุ และขอขอบคุณอาจารย์มากครับ
อย่าง คุณ ประเสริฐ เนี่ย..หาก คิดว่าตนเอง เข้าใจธรรมมะ ดีแล้ว..หนทางที่เหลือ คือ การ ปฎิบัติ การ ที่จะ หวังลาภยศ จากสังคมคน คง ไม่มีเหลือ ในใจ เพราะ มันไม่มีอะไร เป้นตัวตน จริงๆ การทำ จิตตนให้แจ้ง พระนิพพาน จึงเป็นงานหลัก..และการ จะถึงนิพพานได้ หาก ยัง อยู่ในเพศ ฆราวาส มัน ก้ จะถึงยาก..เพราะ ความที่ยัง มีภาระ ผูกพัน อันเนื่องด้วย เพศสภาวะ..หาก บวชแล้ว บรรลุธรรม ได้ การ ออกสั่งสอนธรรม ยังไม่สาย และจะสง่างาม กว่านี้มาก...เจริญพร
สาธุอนุโมทนาคำสอนของพระอาจารย์ที่จะทำทางไปสู่การปฏิบัติตามคำของพระสาสดา สาธุธรรมคะ
(๑๔๐)ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพึงพิจารณาเห็นจิตในจิต อยู่อย่างไรเล่า? ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พึงพิจารณา เมื่อจิตมีราคะ ก็รู้ชัดว่าจิตเรามีราคะ เมื่อจิตปราศจากราคะ ก็รู้ชัดว่าจิตเราปราศจากราคะ เมื่อจิตมีโทสะ ก็รู้ชัดว่าจิตเรามีโทสะ เมื่อจิตปราศจากโทสะ ก็รู้ชัดว่าจิตเราปราศจากโทสะ เมื่อจิตมีโมหะ ก็รู้ชัดว่าจิตเรามีโมหะ เมื่อจิตปราศจากโมหะ ก็รู้ชัดว่าจิตเราปราศจากโมหะ เมื่อจิตหดหู่ ก็รู้ชัดว่าจิตเราหดหู่ เมื่อจิตฟุ้งซ่าน ก็รู้ชัดว่าจิตเราฟุ้งซ่าน เมื่อจิตเป็นมหรคต ก็รู้ชัดว่าจิตเราเป็นมหรคต เมื่อจิตไม่เป็นมหรคต ก็รู้ชัดว่าจิตเราไม่เป็นมหรคต เมื่อจิตมีธรรมอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ชัดว่าจิตเรามีธรรมอื่นยิ่งกว่า เมื่อจิตไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ชัดว่าจิตเราไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า เมื่อจิตตั้งมั่น ก็รู้ชัดว่าจิตเราตั้งมั่น เมื่อจิตไม่ตั้งมั่น ก็รู้ชัดว่าจิตเราไม่ตั้งมั่น เมื่อจิตหลุดพ้น ก็รู้ชัดว่าจิตเราหลุดพ้น เมื่อจิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ชัดว่าจิตเราไม่หลุดพ้น ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า เห็นจิตในจิตภายในบ้าง หายใจออก เห็นจิตในจิตภายนอกบ้าง หายใจเข้า เห็นจิตในจิตทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในจิตบ้าง หายใจเข้า เห็นธรรมคือความเสื่อมในจิตบ้าง หายใจออก เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในจิตบ้าง หายใจเข้า ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่าจิตมีอยู่ หายใจออก ก็เพียงสักว่าความรู้ในจิต หายใจเข้า เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ หายใจออก
🙏🙏🙏
ธรรมของพระพุทธองค์ที่อาจารย์นำมาแสดงเข้าใจง่าย ปฏิบัติง่ายค่ะ สาธุๆๆ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
เข้าใจได้ง่ายมากๆค่ะ สาธุๆค่ะ
ประทับใจมากครับ สาธุ
30:00
1. สัมมาทิฎฐิ ความเห็นชอบ
ความรู้ในอริยสัจ สี่
2. สัมมาสังกัปโป ความดำริชอบ
ดำริในการออกจากกาม(ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) ดำริในการไม่มุ่งร้าย ไม่เบียดเบียน
3. สัมมาวาจา
พูดจริง vs พูดส่อเสียด(ก่อให้เกิดความแตกแยก) พิจารณาถึงน้ำหนักที่จะเกิดขึ้น
4. สัมมากัมมันโต การทำการงานชอบ
เจตนาเป็นเครื่องเว้น เจตนาเป็นกรรม
5. สัมมาอาชีโว เลี้ยงชีพชอบ
6. สัมมาวายาโม ความพากเพียรชอบ
6.1 พอใจ เพียรในการไม่ทำอกุศล
6.2 พอใจ เพียรในการละอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว
6.3 พอใจ เพียรในการสร้างกุศล
6.4 พอใจ เพียรในการรักษา พัฒนากุศล
7. สัมมาสติ ความระลึกชอบ
เห็นกายในกาย มีสติเห็นการเคลื่อนของกาย เช่น เห็นลมหายใจ เห็นเวทนาในเวทนา เห็นจิตในจิต เห็นธรรมในธรรม อยู่เป็นประจำด้วยใจเป็นกลาง
มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสติ มีสัมปัชชัญญะ ถอนความพอใจและไม่พอใจในโลกออก
8. สัมมาสมาธิ สงัดแล้วจากกาม, อกุศล เข้าสู่ปิติสุข เข้าสู่อุเบกขา คือละจากปิติสุข
ย่อลงได้ ปัญญา ศีล สมาธิ
ปล่อยวาง แม้อุเบกขา เพื่อเข้าสุญญาตา
(๑๓๑) ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ (จากพระไตรปิฏก ฉบับหลวง๔๕เล่ม ในเล่มที่๑๐)
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในแค้วนกุรุ มีนิคมหนึ่งของแค้วนกุรุ ชื่อกัมมาสธรรม ณ.ที่นั่น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าทูลรับต่อพระผู้มีพระภาคแล้ว.
(๑๓๒) พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสพระพุทธภาษิตนี้ว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
หนทางนี้เห็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์
เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส
เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำพระนิพพานให้แจ้ง
หนทางนี้คือ สติปัฏฐาน ๔ ประการ สติปัฏฐาน ๔ ประการเป็นไฉน ?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้
พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑
พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑
พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑
พิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสียได้ ๑
การพิจารณาเห็นกายในกายอยู่อย่างไรเล่า ?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไปสู่ป่าก็ดี ไปสู่โคนไม้ก็ดี ไปสู่เรือนว่างก็ดี เธอนั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสตไว้เฉพาะหน้า
กายที่ ๑ ลมหายใจออก ลมหายใจเข้า
มีสติ หายใจออก
มีสติ หายใจเข้า
เมื่อหายใจออกยาว ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจออกยาว
เมื่อหายใจเข้ายาว ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว
เมื่อหายใจออกสั้น ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น
เมื่อหายใจเข้าสั้น ย่อมรู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้น
ย่อมสำเหนียกว่า เราเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจออก
ย่อมสำเหนียกว่า เราเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจเข้า
ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร หายใจออก
ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า
ดังพรรณนามาฉะนี้ หายใจออก
ภิกษุย่อมพิจารณา หายใจเข้า
เห็นกายในกายภายในบ้าง หายใจออก
เห็นกายในกายภายนอกบ้าง หายใจเข้า
เห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง หายใจเข้า
เห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง หายใจออก
เห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง หายใจเข้า
ย่อมอยู่ หายใจออก อนึ่ง หายใจเข้า
สติของเธอตั้งมั่นอยู่ว่ากายมีอยู่ หายใจออก
ก็เพียงสักว่าความรู้ในกายนี้ หายใจเข้า
เพียงสักว่าอาศัยกายนี้ระลึกเท่านั้น หายใจออก
เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว หายใจเข้า
ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆในโลกแล้ว หายใจออก
ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ หายใจเข้า
ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ หายใจออก
สาธุๆธรรมค่ะ
จะยึดเป็นแนวทางปฏิบัติ ขอบคุณมากครับอาจารย์
อนุโมทนา สาธุค่ะ
มรรค 8 สุดยอดของสิ่งที่มนุษย์ควรยึดเป็นหลักคำสอน และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันค่ะ
ชีวิตทุกวันนี้ อยู่ได้อย่างสุขใจ มีชีวิตอยู่เป็นปกติสุขก็เพราะอยู่ในมรรคมีองค์แปดนี้ค่ะ
ท่านสอนดีมาก
ขอบคุณครับ อ.ประเสริฐ อุทัยเฉลิม
เพื่อนๆท่านใดได้ชม-ได้ฟัง อริยมรรคมีองค์๘ นี้แล้ว ยังไม่รู้จะปฏิบัติอย่างไร?
ผมเห็นด้วยครับ...แต่ผมข้อแนะนำต่อจาก อ.น่ะครับ เพราะ อ. ท่านคงไม่มีเวลาพอ
ทางปฏิบัตินั้นคือ สติปัฏฐาน ๔ ครับ..ก็คือการปฏิบัติ"สัมมาสติ"นั่นเองครับ
ที่อ.อธิบายมานั้น เนื้อหาของสติปัฏฐาน๔ มีแค่นิดเดียว ครับ เนื้อหาโดยย่ออยู่ด้านล่างที่ผมโพสมานี่แหละครับ
อยากรู้เพิ่มเติมขอเชิญเข้า"กลุ่มสติปัฏฐาน๔"ในเฟสบุ๊ค หรือท่านรู้แล้วก็สามารถหาศึกษาด้วยตัวเองจาก
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ ในเน๊ตเล่มที่ ๑๒
ท่านอ่านแล้วจะเข้าใจ เรื่องอริยมรรคมีองค์ ๘ มากขึ้น
ขอบคุณ อ.ประเสริฐ ท่านทำหน้าที่สื่อนำธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัดรู้มาเผยแผ่เป็นภาษาไทย ทำให้เข้าใจธรรมของพระพุทธองค์ได้.ขั้นตอนนำเสนอเข้าใจง่าย..สาระอยู่ตรงนี้มิใช่หรือ..
ขอบคุณผู้แบ่งปันครับ
ธรรมที่อาจารย์บรรยายทำให้เข้าใจง่าย(สำคัญมาก)และน่าติดตามมากครับ
ขอบพระคุณ และขออนุโมทนา สาธุค่ะ
ผมได้มีโอกาสไปฟังที่สวนยินดีธรรม กับคณะ ประทับใจมากทำให้เข้าใจและเป็นเส้นทางที่ผมนำไปเรียนรู้และปฏิบัติ
🙏
อนุโมธนาสาธุคับ
ท่าน อ. ประเสริฐ อุทัยเฉลิม อธิบายได้ชัดเจนมาก
ขออนุโมทนา สาธุ การเผยแผ่ธรรมของท่านอย่างแจ่มแจ้ง
อาจารย์ดูใจดีจังเลยค่ะ และไขข้อข้องใจของนู๋ได้เลยทีเดียว
ห่างจาก สิ่งสมมติ ฉุดให้หลง คงบอกดี มีที่ใจ
ใช่ที่อื่น...
สาธุๆๆเจริญธรรม
ขอแก้ไขข้อผิดพลาด
มีใครเคยอ่านแผ่นพับ เรื่อง มรรค 8 หนทางพ้นทุกข์สู่พระนิพพาน ที่ทำโดยผู้ก่อการดีที่ผมเคยบริจาคขอแก้ไขข้อผิดพลาดครับ ตรงสัมมากัมมันตะ ขอแก้ไม่ประพฤติผิดในกามารมณ์ เป็นไม่ประพฤติผิดในกาม ล่วงประเวณีคู่ครองของผู้อื่นและขอแก้ตรงการรักษาศีล ข้อที่ 4 ในศีล 5 เท่ากับสัมมาวาจา ต้องเป็นการรักษาศีล ข้อที่ 4 และประพฤติวจีสุจริตข้ออื่นๆด้วย เท่ากับสัมมาวาจา และแผ่นพับเรื่องอื่นๆ ที่ทำโดยผู้ก่อการดีด้วยครับ ถ้ามีข้อผิดพลาดต้องขออภัย และขอให้ท่านทั้งหลายได้ศึกษาเพิ่มเติมอย่างละเอียดโดยพิจารณาด้วยหลักของกาลามสูตร กาลามสูตร คือ พระสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ชาวกาลามะ หมู่บ้านเกสปุตตนิคม แคว้นโกศล (เรียกอีกอย่างว่า เกสปุตตสูตร ก็มี[1]) กาลามสูตรเป็นหลักแห่งความเชื่อที่พระพุทธองค์ทรงวางไว้ให้แก่พุทธศาสนิกชน ไม่ให้เชื่อสิ่งใด ๆ อย่างงมงายโดยไม่ใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นจริงถึงคุณโทษหรือดีไม่ดีก่อนเชื่อ มีอยู่ 10 ประการ ได้แก่
1.มา อนุสฺสวเนน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการฟังตามๆ กันมา
2.มา ปรมฺปราย - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการถือสืบๆ กันมา
3.มา อิติกิราย - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเล่าลือ
4.มา ปิฏกสมฺปทาเนน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการอ้างตำราหรือคัมภีร์
5.มา ตกฺกเหตุ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเดาว่าเป็นเหตุผลกัน
6.มา นยเหตุ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะการอนุมานคาดคะเน
7.มา อาการปริวิตกฺเกน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเดาจากอาการที่เห็น
8.มา ทิฎฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว
9.มา ภพฺพรูปตา - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะผู้พูดมีลักษณะน่าเชื่อถือ
10.มา สมโณ โน ครูติ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่า ท่านสมณะนี้ เป็นครูของเรา
เมื่อใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่า..ธรรมเหล่านั้นเป็นอกุศลหรือมีโทษเมื่อนั้นพึงละเสีย และเมื่อใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่า..ธรรมเหล่านั้นเป็นกุศลหรือไม่มีโทษ เมื่อนั้นพึงถือปฏิบัติ
จงพิจารณาและปฏิบัติให้เห็นตามความเป็นจริงของธรรมชาติ...
ช
ขอบคุณที่เอามาแบ่งปันนะคะ _/\_
ท่านอธิบายได้ชัดเจนจนเห็นภาพสาธุ
สาธุค่ะ
สาธุ สาธุ สาธุ
เป็นความรู้มากๆเลยครับ สาธุ สาธุ
ผมยังไม่ได้ดู แต่ดูจากหัวข้อ และบอก ง่ายๆพ้นทุก คนเรารู้อยูสิ่งไหนดีไม่ดี เท่านั้น ถ้าทำแต่สิ่งดี ใจก็เกิดบุญแล้ว จบ
สาธุ ตัวอย่างชัดเจนมาก
ยินดีในธรรมคะ
ขออนุญาต แชร์ในกลุ่มนะคะ สาธุค่ะ
ขอบคุณครับ
เราไม่ได้บอกว่า อาจารย์บรรลุนะคะ แต่เราบอกว่า ฆราวาสสามารถเข้าถึงธรรมะได้เหมือนกัน และสามารถแสดงธรรมได้เหมือนกัน อย่างที่บอกไปในก่อนหน้านี้ถึงคนสี่ประเภทที่จะช่วยธำรงพระศาสนา เพราะฉะนั้นจะมาบอกว่า ฆราวาสไม่ควรแสดงธรรมนี่เราว่า..มันคับแคบเกินไปน่ะค่ะ
ดีมากครับได้นำเสนอให้ผู้คนได้รับฝังเป็นบุญกุลศลชั้นเลิศครับ ขอบพระคุณครับที่จังสิ่งดีๆมาเป็นบุญครับ ขอบพระคุณมากครับ?
...เริ่มต้นด้วยการ...รักษาศีล ๕ ให้ครบถ้วนบริบูรณ์ ก่อนดีกว่ามั๊ยครับ
nueng2027
ปุถุชนทั่วไปควรรักษาศีล 5
เมื่อบุคคลตั้งใจเริ่มปฏิบัติธรรมแล้ว ควรทำกุศลกรรมบท 10 ซึ่งขยายเพิ่มขึ้นมาจากศีล 5
บุคคลผู้ทำกุศลกรรมบท 10 นั้น ย่อมเข้าสู่ขั้นของมรรคมีองค์แปด ตั้งแต่ข้อที่ 1-5
ลองไล่เปรียบเทียบดูนะครับ แล้วจะเข้าใจว่าทำไมบุคคลผู้รักษาศีล 5 แล้วจึงสามารถปฏิบัติมรรคมีองค์แปดได้อย่างรวดเร็วกว่าบุคคลผู้ที่ไม่มีศีล 5 หรือมีไม่ครบ
2.08.20 >> ช่วงที่พูดถึงพระที่ฆ่าตัวตาย อันนี้ขอขยายความดังคำของหลวงพ่อฤาษีลิงดำ ท่านว่า มิใช้ว่าระลึกถึงศีล แต่ท่านเป็นผู้ที่ป่วยง่ายมิอาจเจริญสมาธิได้จึงเกิดเบื่อหน่ายในขันธ์ รู้สึกว่าขันธ์มันแย่ ถ้าขันธ์มันดีป่านนี้คงสามารถทำสมาธิสำเร็จมรรคผลแล้ว ด้วยความคิดเช่นนี้จึงได้ฆ่าตัวตาย เช่นนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ต้องการในขันธ์ท่านจึงเข้าสู่นิพพาน
ผมกราบขอบคุณท่านอาจารย์มากที่ใด้ให้ความกระจ่างในการปฏิบัติมากขึ้น
อธิบายแจ่มแจ้ง ขอบคุณครับ
@alexy757 เอ่อ..อ่านแล้วเหมือนจะบอกว่า เป็นฆราวาสไม่ควรออกแสดงธรรมเหรอคะ? อาจารย์ประเสริฐท่านก็ย้ำเสมอว่าธรรมะที่ท่านพูดคือมาจากพระพุทธองค์ค่ะ ไม่เคยยกตนเอง
ฆราวาสทำไมจะแสดงธรรมไม่ได้คะ? ฆราวาสบรรลุโสดาบันตั้งแต่ 7 ขวบยังมี บรรลุถึงอรหันต์ก็ยังมี ทำไมต้องพระภิกษุหรือพระสงฆ์เท่านั้นคะที่จะแสดงธรรมได้? เอาจากไหนมาคะว่าฆราวาสแสดงธรรมแล้วเป็นการไม่เคารพพระศาสดาคะ?
นิพพานไม่ได้เจาะจงเฉพาะภิขษุ ผู้ใดรู้อริยสัจ ไม่ว่าจะเป็นภิขษุ(ผู้ละจากการครองเรือน) อุบาสถ อุบสิกา ( ผู้ครองเรือนทั่วไป ) ย่อมบรรลุธรรมอริยสัจเช่นเดียวกันมิได้มีสิ่งใดมากางกั้นได้ไม่........
เรื่อง คนอายุ 7 ขวบ บรรลุ โสดาบัน ..มีหรือไม่ ผมไใ่เคยพบ แต่ในพระไตรปิฏก มีกล่าว ถึงเรื่องนี้ ไว้ หลายๆ จุด แต่ พระอรหันต์ ในเพศฆราวาส..ในยุคปัจจุบัน ผมไม่เคยเห็น และไม่มี ข่าว..นี้ มีแต่ฆราวาส ที่บรรลุแล้ว ตายทันที..อันนี้ ผม เคยได้ยินข่าว..ส่วนในพระไตรปิฏกที่เป็น ฆราวาส แล้วบรรลุธรรม นั้น หาก ไม่ บวช ผมเห็น ตามตำรา ก็ ตาย ซะ ก่อนได้บวช ส่วน คนไหน บรรลุธรรมแล้ว ที่จะไม่ขอบวช ไม่มี เลย คนไหนบรรลุธรรมขั้นสูง มีแต่ ขอบวชทั้งสิ้น..เพราะ ชีวิต ฆราวาส คับแคบ..เ้สี่ยง เกินไป.เพราะจิตพ้นแล้ว
ใครรู้ช่วยบอกทีว่าศูนย์ปติบัติธรรมของอ.อยู่ที่ไหนติดต่อยังไงครับ ขอบคุณมากครับ
อาจารย์ ประเสริฐ เข้าใจธรรมมะ มาก ทำไม ไม่บวช ในพระพุทธศาสนา ซะ การถือ ครอง เพศ ฆราวาส แล้ว ออกมาแสดงธรรม นี้ เหมือนไม่ให้เกียรติ ต่อ พระรัตนตรัย และ ไไม่เคารพใน องค์พระศาสดาจริง เพระา คำสอนทั้งหมด มี จุดเริ่มต้นมาจาก พระพุทธองค์ ทั้งสิ้น
เทพบุตร ชาวดินดำ เคยบวชแล้วครับ แต่ด้วยคดีความเลยต้องลาสิกขา ถ้าคุณจะไม่สมาทานแก ผมโอเคนะ เข้าใจได้
แต่ผมสมาทานแกว่ะ
อ่านอันก่อนหน้านี้ก่อนนะคะ เดี๋ยวจะงง
ที่คัดค้านเพราะคุณบอกว่าอาจารย์ไม่ให้เกียรติและไม่เคารพองค์พระศาสดา (ด้วยการใช้ประโยชคก่อนหน้านั้นว่า ถือเพศฆราวาสแล้วยังออกแสดงธรรม)...ซึ่งเราก็เลยถามไงคะว่า ฆราวาสแสดงธรรมเป็นการไม่เคารพพระศาสดาตรงไหน?
แล้วก็..พระพุทธองค์ สมณโคมดม ไม่ใช่องค์แรกในกัปป์นี้ค่ะ ท่านเป็นองค์ที่ 4 แล้วค่ะ เป็นองค์ที่สี่ในภัทรกัปป์
sa dhu ka
Naliphôney
"ใคร" เป็นผู้รู้ว่า "ทุกข์"
อย่าขายก่อนซื้อ
คำเดียว (คนไทย)?
ศาสนาพุทธเอง พระพุทธเจ้าท่านก็บอกว่ามีคนสี่ประเภทที่จะช่วงธำรงศาสนาพุทธต่อไปไม่ใช่เหรอคะ? ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา แล้วการที่คุณจะบอกว่า ให้คนที่เข้าใจศาสนา ฆราวาสควรบวชทั้งหมดเพื่อเป็นการเคารพพระพุทธองค์และให้เกียรติท่าน งั้นอุบาสก อุบาสิกาก็ไม่ต้องมี เป็นภิกษุ ภิกษุณี (ซึ่งในไทยไม่ยอมรับให้มี) กันหมดสิคะ
@theworpor คุณ ไม่เข้าใจ สิ่งที่ผม กล่าวนะ...อย่ามอง เชิง หา ข้อ คัดค้าน เพื่อถกเถียงสิครับ..ผม บอกว่า เข้าใจศาสนาดีแล้ว น่าจะบวช..เพื่อ การเผยแผ่ธรรมจะได้ เป็น เอกเทศ ที่ดีงาม เพราะ คำสอน ทั้งปวง ล้วนมาจาก พระพุทธองค์ ท่านทรง ค้นพบเป็น องค์ แรกใน กัปป์นี้..การ แสดงธรรม จึงควร แต่งกาย และ แต่งใจ ให้สมเป็น พุทธบุตร..แท้ๆเป็นการ เคารพ พระพุทธองค์ และให้เกียรติ ท่าน..ใน ฐานะ ที่ท่าน ทรงเป้นศาสดา แห่งคำสอน..ผม พูด ผิด หรอ ไร
เข้าใจแต่ไม่เข้าจิต ไปปฏิบัติเถิด
ทะเลาะกันทำไม
อยากได้บทสวด
สาธุครับ
ยินดีในบุญท่านผู้เผยแผ่ธรรมและผู้ฟังธรรมทุกท่านครับ
น้อมกราบท่านอาจารย์เจ้าค่ะ
อนุโมทนาสาธุครับ
สาธุค่ะ
ยินดีในบุญท่านผู้บรรยายและยินดีในกุศลจิตผู้ฟังธรรมทุกท่านครับ
อาจารย์สอนได้ดีมากและเข้าใจง่ายครับกราบโมธนาสาธุครับ
สาธุครับ
ຂອບໃຈທີເພີ່ນອະທິບາຍໃຫ້ເຂົ້າໃຈມັກມີອົງ8