Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
ขอบคุณครับ
ขอบคุณมากครับ ที่ติดตามรับชม
ใช้กาวอะไรติดตัวฉนวนใยแก้ว กับแผ่นเหล็กได้บ้างครับ
ขอบคุณมากที่กดติดตามช่อง Living of Things และรับชมครับ อันนี้ผมยังไม่เคยทดลองนะครับ ปกติผมจะเชื่อมด้วยเทปฟรอยด์ของ SCG ส่วนกาวตะปูน่าจะตอบโจทย์ครับ
ใยแก้วที่อยู่ในตู้ลำโพงละครับเหมือนกันไหม
บางเพจ ก้อบอกอันตราย ต่างประเทศห้ามใช้แล้ว ทำไมเพจนี้ว่าไม่อันตราย
ขอบคุณมากครับ สำหรับความคิดเห็น ถ้าดูคลิปจบแล้วจะเข้าใจเนื้อหา รวมรายละเอียดเรื่องคุณสมบัติของวัสดุที่เป็นฉนวนกันความร้อนแต่ละชนิด อันตรายหรือไม่อย่างไร ระคายเคืองหรือไม่อย่างไร อีกทั้งเรื่องของชื่อเรียก ชื่อวัสดุ ชื่อทางการค้า ใยแก้ว ใยหิน อื่นๆ มีความแตกต่างกันทั้งสิ้น ในกรณีที่กังวลเรื่องผลเสียต่อสุขภาพแนะนำให้เลือกใช้ฉนวนกันความร้อนแบบอื่นๆ ทดแทนได้ครับ สำหรับฉนวนใยแก้ว ที่นำเสนอนั้นผมอ้างอิงจาก งานวิจัยและผลการทดสอบ ปัจจุบันเท่านั้น ซึ่งในอนาคตก็อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น หรือ อาจมีการห้ามใช้ก็เป็นไปได้ครับ ถ้ามีข้อมูลงานวิจัยที่น่าเชื่อถือผมสนับสนุน หรือ งานวิจัยใหม่ๆ เข้ามา ผมจะนำเสนอให้รับชม และแชร์ให้ฟังเพิ่มเติมนะครับ ขอบคุณมากครับ
1. ยังใช้กันอยู่2. โดนแล้วคันแน่นอน3. หากมันเสื่อมสภาพ ปลิวเข้าระบบทางเดินหายใจ มีคัน - อักเสบแน่นอนTake your risk หากจะใช้
ไม่ถึงกับก่อมะเร็งแต่1. โดนแล้วคัน2. หากเสื่อมสภาพ ปลิวเข้ามาหายใจก็ระคายเคืองซึ่งมันพร้อมจะ แตกหักได้ง่ายด้วย หากจะใช้ก็รับความเสี่ยง
ขอบคุณมากที่กดติดตามช่อง Living of Things และรับชมครับ
ขอบคุณครับ
ขอบคุณมากครับ ที่ติดตามรับชม
ใช้กาวอะไรติดตัวฉนวนใยแก้ว กับแผ่นเหล็กได้บ้างครับ
ขอบคุณมากที่กดติดตามช่อง Living of Things และรับชมครับ อันนี้ผมยังไม่เคยทดลองนะครับ ปกติผมจะเชื่อมด้วยเทปฟรอยด์ของ SCG ส่วนกาวตะปูน่าจะตอบโจทย์ครับ
ใยแก้วที่อยู่ในตู้ลำโพงละครับเหมือนกันไหม
บางเพจ ก้อบอกอันตราย ต่างประเทศห้ามใช้แล้ว ทำไมเพจนี้ว่าไม่อันตราย
ขอบคุณมากครับ สำหรับความคิดเห็น ถ้าดูคลิปจบแล้วจะเข้าใจเนื้อหา รวมรายละเอียดเรื่องคุณสมบัติของวัสดุที่เป็นฉนวนกันความร้อนแต่ละชนิด อันตรายหรือไม่อย่างไร ระคายเคืองหรือไม่อย่างไร อีกทั้งเรื่องของชื่อเรียก ชื่อวัสดุ ชื่อทางการค้า ใยแก้ว ใยหิน อื่นๆ มีความแตกต่างกันทั้งสิ้น
ในกรณีที่กังวลเรื่องผลเสียต่อสุขภาพแนะนำให้เลือกใช้ฉนวนกันความร้อนแบบอื่นๆ ทดแทนได้ครับ
สำหรับฉนวนใยแก้ว ที่นำเสนอนั้นผมอ้างอิงจาก งานวิจัยและผลการทดสอบ ปัจจุบันเท่านั้น ซึ่งในอนาคตก็อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น หรือ อาจมีการห้ามใช้ก็เป็นไปได้ครับ ถ้ามีข้อมูลงานวิจัยที่น่าเชื่อถือผมสนับสนุน หรือ งานวิจัยใหม่ๆ เข้ามา ผมจะนำเสนอให้รับชม และแชร์ให้ฟังเพิ่มเติมนะครับ
ขอบคุณมากครับ
1. ยังใช้กันอยู่
2. โดนแล้วคันแน่นอน
3. หากมันเสื่อมสภาพ ปลิวเข้าระบบทางเดินหายใจ มีคัน - อักเสบแน่นอน
Take your risk หากจะใช้
ไม่ถึงกับก่อมะเร็งแต่
1. โดนแล้วคัน
2. หากเสื่อมสภาพ ปลิวเข้ามาหายใจก็ระคายเคือง
ซึ่งมันพร้อมจะ แตกหักได้ง่ายด้วย หากจะใช้ก็รับความเสี่ยง
ขอบคุณมากที่กดติดตามช่อง Living of Things และรับชมครับ