Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
เมื่อเริ่มทำงานใหม่ๆ เริ่มปี 2520 บ้านอยู่ฝั่งธน ขับฮอนด้าซื้อสด 15000 บาท เป็น จยย 110cc ตัวถังอยู่บน ไปทำงานที่ฝั่งพระนคร ขี่ข้ามสะพานนี่หลายปีอยู่ จนเมื่อแต่งงานแล้วย้ายมาอยู่ที่ปากเกร็ดในปัจจุบัน สรพงศ์ มีสมยาว่า พระเอกบ้านนอก เพราะมีการศึกษาน้อย แต่มีนิสัยดีมาก รักการแสดง มีความขยันอดทนเป็นเลิศ แสดงตั้งแต่เป็นพระเอก จนเป็นพ่อ ก็หลายสิบปีอยู่ เท่าที่จำได้มีผลงานแสดงติดอันดับต้นๆ สูสีกับ มิตร ไชยบัญชา สมบัติเมธินีที่เป็นรุ่นพี่ ส อาสนจินดา ตอนหนุ่มเป็นพระเอกไม่กี่ปีก็ผันตัวเป็นผู้กำกับ
สรพงษ์ กับ คุณธิติมา สังขพิทักษ์...เล่นหนังร่วมกันอยู่หลายเรื่องเลยทีเดียว.
เคยดูครับน้ำตาแทบไหลขึ้งมากเรื่องนี้
เวลาผมเดินไปตรงกลางผมกลัวเลย
ทราบหรือไม่ ?สะพานพระราม ๖ เป็นสะพานรถไฟข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งแรกของประเทศไทยในพุทธศักราช ๒๔๖๐ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชดำริว่าทางรถไฟสายเหนือ และทางรถไฟสายใต้ บริเวณสองฟากฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา มีขนาดความกว้างของทาง ตลอดจนรูปส่วนของรถจักรและล้อเลื่อนที่ใช้บนทางรถไฟแตกต่างกัน ส่งผลให้ต้องสะสมเครื่องอะไหล่ในการซ่อมบำรุงเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณปีละหลายล้านบาทแต่หากทำให้รถจักรและล้อเลื่อนมีขนาดเดียวกันได้แล้ว การสะสมเครื่องอะไหล่ก็จะลดลงไปด้วย อีกทั้งการตั้งโรงงานซ่อมบำรุง ก็จะสามารถสร้างรวมกันได้เพียงแห่งเดียว ไม่จำเป็นต้องสร้างโรงงานซ่อมบำรุงเพิ่มสำหรับรถจักร ๒ ชนิด และ ๒ ขนาด ทำให้ประหยัดงบประมาณได้มากขึ้น เพื่อให้การดำเนินงานสำเร็จตามแนวพระราชดำริ จำเป็นที่จะต้องเชื่อมทางรถไฟสายเหนือ และทางรถไฟสายใต้ ให้ติดต่อกันโดยวิธีที่สะดวกที่สุดด้วยเหตุนี้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในพื้นที่บริเวณเหนือวัดละมุด (วัดวิมุตยาราม) และวัดสร้อยทอง โดยมีความยาว ๔๔๓.๖๐ เมตร และความกว้าง ๑๐ เมตร แบ่งพื้นที่ของสะพานเป็นทางรถไฟส่วนหนึ่ง ทางหลวงสำหรับรถยนต์ส่วนหนึ่ง และทางเดินเท้าอีกส่วนหนึ่ง โดยบริษัท Les Etablissement Dayde ของประเทศฝรั่งเศส เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างการก่อสร้างสะพานแห่งนี้ เริ่มต้นขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๕ ซึ่งได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสะพานไว้ตั้งแต่เริ่มก่อสร้างว่า “สะพานพระราม ๖” เพื่อเป็นที่ระลึกแห่งรัชสมัย ด้วยพระราชดำริมุ่งหมายที่จะพระราชทานความสะดวกแก่ประชาชนในการคมนาคมขนส่งสะพานพระราม ๖ ก่อสร้างสร้างแล้วเสร็จในเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๙ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และมีพิธีเปิดสะพานอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ.๒๔๖๙ ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โอกาสนี้ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำรัสในพิธีเปิด อันสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของสะพานพระราม ๖ ความตอนหนึ่งว่า“…การสร้างสะพานพระราม ๖ นี้ ควรนับได้ว่าเป็นงานใหญ่อย่างหนึ่งที่มีเป็นครั้งแรกในเมืองไทย และไม่เฉพาะแต่เชื่อมทางรถไฟเท่านั้น ยังมีทางสำหรับคนเดิน และสำหรับยวดยานพาหนะอย่างอื่นสัญจรไปมาเตรียมไว้ด้วย ต่อไปเมื่อสร้างถนนหนทางขึ้นแล้ว ยานพาหนะอื่นๆ ก็จะเดินติดต่อถึงกันได้สะดวกทั้งสองฟากลำน้ำระหว่างพระนครกับธนบุรี เมื่อได้ระลึกถึงพระราโชบายอันเป็นสาธารณประโยชน์แก่อาณาประชาราษฎร์ดั่งนี้แล้ว กระทำให้เป็นที่เพิ่มพูนพระบารมีแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงโปรดให้เริ่มริการสร้างสะพานนี้เป็นอเนกประการ สะพานพระราม ๖ นี้ ต้องนับว่าเป็นสิ่งหนึ่งในงานอันสำคัญที่สุดแห่งรัชกาลของพระองค์ จึ่งสมควรเป็นพระราชอนุสาวรีย์ที่ระลึกถึงพระองค์โดยแท้…”ต่อมาในช่วงสงครามโลก ครั้งที่ ๒ สะพานพระราม ๖ ถูกระเบิดทำลายจนเสียหายอย่างหนัก ครั้นเมื่อสิ้นสุดสงคราม รัฐบาลจึงได้ดำเนินการซ่อมแซมใหม่ และมีพิธีเปิดสะพานอีกครั้ง เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๙๖ โดยใช้เป็นสะพามเชื่อมทางรถไฟสายเหนือและสายใต้ ที่อยู่สองฟากฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าด้วยกัน ช่วยอำนวยความสะดวกในการคมนาคมของประชาชนมาจนถึงปัจจุบัน
ช่วงปี251-กว่าๆก่อนขึ้นสะพานจะเป็นสี่แยกพระรามหก ผมเวลาเลิกเรียนต้องนั่งรถเมล์ขาวสาย64หรือเมล์เหลืองสาย32จากโรงเรียนมาลงป้ายสี่แยกแล้วเดินไปต่อสาย50ของบริษัทศิริมิตรกลับบ้าน(อู่สาย50จะอยู่ตรงสี่แยก พอตอนเย็นจะมีตลาดขายอาหารประเภทแผงลอย เต็มทั้งสี่แยก)
เมื่อเริ่มทำงานใหม่ๆ เริ่มปี 2520 บ้านอยู่ฝั่งธน ขับฮอนด้าซื้อสด 15000 บาท เป็น จยย 110cc ตัวถังอยู่บน ไปทำงานที่ฝั่งพระนคร ขี่ข้ามสะพานนี่หลายปีอยู่ จนเมื่อแต่งงานแล้วย้ายมาอยู่ที่ปากเกร็ดในปัจจุบัน สรพงศ์ มีสมยาว่า พระเอกบ้านนอก เพราะมีการศึกษาน้อย แต่มีนิสัยดีมาก รักการแสดง มีความขยันอดทนเป็นเลิศ แสดงตั้งแต่เป็นพระเอก จนเป็นพ่อ ก็หลายสิบปีอยู่ เท่าที่จำได้มีผลงานแสดงติดอันดับต้นๆ สูสีกับ มิตร ไชยบัญชา สมบัติเมธินีที่เป็นรุ่นพี่ ส อาสนจินดา ตอนหนุ่มเป็นพระเอกไม่กี่ปีก็ผันตัวเป็นผู้กำกับ
สรพงษ์ กับ คุณธิติมา สังขพิทักษ์...เล่นหนังร่วมกันอยู่หลายเรื่องเลยทีเดียว.
เคยดูครับน้ำตาแทบไหลขึ้งมากเรื่องนี้
เวลาผมเดินไปตรงกลางผมกลัวเลย
ทราบหรือไม่ ?
สะพานพระราม ๖ เป็นสะพานรถไฟข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งแรกของประเทศไทย
ในพุทธศักราช ๒๔๖๐ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชดำริว่าทางรถไฟสายเหนือ และทางรถไฟสายใต้ บริเวณสองฟากฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา มีขนาดความกว้างของทาง ตลอดจนรูปส่วนของรถจักรและล้อเลื่อนที่ใช้บนทางรถไฟแตกต่างกัน ส่งผลให้ต้องสะสมเครื่องอะไหล่ในการซ่อมบำรุงเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณปีละหลายล้านบาท
แต่หากทำให้รถจักรและล้อเลื่อนมีขนาดเดียวกันได้แล้ว การสะสมเครื่องอะไหล่ก็จะลดลงไปด้วย อีกทั้งการตั้งโรงงานซ่อมบำรุง ก็จะสามารถสร้างรวมกันได้เพียงแห่งเดียว ไม่จำเป็นต้องสร้างโรงงานซ่อมบำรุงเพิ่มสำหรับรถจักร ๒ ชนิด และ ๒ ขนาด ทำให้ประหยัดงบประมาณได้มากขึ้น
เพื่อให้การดำเนินงานสำเร็จตามแนวพระราชดำริ จำเป็นที่จะต้องเชื่อมทางรถไฟสายเหนือ และทางรถไฟสายใต้ ให้ติดต่อกันโดยวิธีที่สะดวกที่สุด
ด้วยเหตุนี้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในพื้นที่บริเวณเหนือวัดละมุด (วัดวิมุตยาราม) และวัดสร้อยทอง โดยมีความยาว ๔๔๓.๖๐ เมตร และความกว้าง ๑๐ เมตร แบ่งพื้นที่ของสะพานเป็นทางรถไฟส่วนหนึ่ง ทางหลวงสำหรับรถยนต์ส่วนหนึ่ง และทางเดินเท้าอีกส่วนหนึ่ง โดยบริษัท Les Etablissement Dayde ของประเทศฝรั่งเศส เป็นผู้รับเหมาก่อสร้าง
การก่อสร้างสะพานแห่งนี้ เริ่มต้นขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๕ ซึ่งได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสะพานไว้ตั้งแต่เริ่มก่อสร้างว่า “สะพานพระราม ๖” เพื่อเป็นที่ระลึกแห่งรัชสมัย ด้วยพระราชดำริมุ่งหมายที่จะพระราชทานความสะดวกแก่ประชาชนในการคมนาคมขนส่ง
สะพานพระราม ๖ ก่อสร้างสร้างแล้วเสร็จในเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๙ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และมีพิธีเปิดสะพานอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ.๒๔๖๙ ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
โอกาสนี้ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำรัสในพิธีเปิด อันสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของสะพานพระราม ๖ ความตอนหนึ่งว่า
“…การสร้างสะพานพระราม ๖ นี้ ควรนับได้ว่าเป็นงานใหญ่อย่างหนึ่งที่มีเป็นครั้งแรกในเมืองไทย และไม่เฉพาะแต่เชื่อมทางรถไฟเท่านั้น ยังมีทางสำหรับคนเดิน และสำหรับยวดยานพาหนะอย่างอื่นสัญจรไปมาเตรียมไว้ด้วย ต่อไปเมื่อสร้างถนนหนทางขึ้นแล้ว ยานพาหนะอื่นๆ ก็จะเดินติดต่อถึงกันได้สะดวกทั้งสองฟากลำน้ำระหว่างพระนครกับธนบุรี เมื่อได้ระลึกถึงพระราโชบายอันเป็นสาธารณประโยชน์แก่อาณาประชาราษฎร์ดั่งนี้แล้ว กระทำให้เป็นที่เพิ่มพูนพระบารมีแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงโปรดให้เริ่มริการสร้างสะพานนี้เป็นอเนกประการ
สะพานพระราม ๖ นี้ ต้องนับว่าเป็นสิ่งหนึ่งในงานอันสำคัญที่สุดแห่งรัชกาลของพระองค์ จึ่งสมควรเป็นพระราชอนุสาวรีย์ที่ระลึกถึงพระองค์โดยแท้…”
ต่อมาในช่วงสงครามโลก ครั้งที่ ๒ สะพานพระราม ๖ ถูกระเบิดทำลายจนเสียหายอย่างหนัก ครั้นเมื่อสิ้นสุดสงคราม รัฐบาลจึงได้ดำเนินการซ่อมแซมใหม่ และมีพิธีเปิดสะพานอีกครั้ง เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๙๖ โดยใช้เป็นสะพามเชื่อมทางรถไฟสายเหนือและสายใต้ ที่อยู่สองฟากฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าด้วยกัน ช่วยอำนวยความสะดวกในการคมนาคมของประชาชนมาจนถึงปัจจุบัน
ช่วงปี251-กว่าๆก่อนขึ้นสะพานจะเป็นสี่แยกพระรามหก ผมเวลาเลิกเรียนต้องนั่งรถเมล์ขาวสาย64หรือเมล์เหลืองสาย32จากโรงเรียนมาลงป้ายสี่แยกแล้วเดินไปต่อสาย50ของบริษัทศิริมิตรกลับบ้าน(อู่สาย50จะอยู่ตรงสี่แยก พอตอนเย็นจะมีตลาดขายอาหารประเภทแผงลอย เต็มทั้งสี่แยก)