เหรียญบาทตราแผ่นดินปี2505: จากเงินตราสู่เครื่องรางล้างอาถรรพ์ | บทความบรรยายเสียง |

Поделиться
HTML-код

Комментарии • 14

  • @plotmadeetv
    @plotmadeetv  Месяц назад +11

    📌บทความนี้เป็นเนื้อหาทางด้านประวัติศาสตร์และความเชื่อเท่านั้น *ทางช่องรายการ ไม่มีส่วนในการรับซื้อขายใดๆทั้งสิ้น หากท่านใดสนใจเหรียญก็สามารถหาซื้อกันได้ทางสื่อออนไลน์หรือกลุ่มซื้อขายเหรียญ

  • @penpornchunkonghom1899
    @penpornchunkonghom1899 22 дня назад +3

    เหรียญสลึงตราแผ่นดิน เก็บไว้ให้เด็กๆห้อยคอ น่ารักดี

  • @วนิดาศิริบูรณ์-ต4ฃ

    ยายอยู่มีอยู่ 22 เหรียญค่ะน้าบ้านเลขที่ 75/2 บ้านจอมเสด็จหมู่ 11 ตำบลหาดคำอำเภอเมืองจังหวัดหนองคายค่ะย่านอยากขายที่หน้าบ้านเท่านั้นนะคะเพราะว่ายายแก่แล้วค่ะไปไหนไม่ได้เลยค่ะ อื่นๆก็มีเยอะกว่า

  • @gmangman841
    @gmangman841 Месяц назад +3

    สาธุ ขอบคุณข้อมูลค่ะ

  • @สมบัติกิ่งธาราแก้ว

    เรามีสองเหรียญ เก็บไว้มานานไม่มีใครเซื้อ

  • @spicephone952
    @spicephone952 20 дней назад

    มีค่ะแต่ไม่มีใครซื้อจริง

  • @Storytelling639
    @Storytelling639 27 дней назад +1

    มีอยู่600เหรียญ

  • @บัวไขเคนค่ํา

    มีอยู่ 20 เหรียนค่ะอยากขาย ขายไม่ใด้ ไม่มีใครซื้อ

  • @rungrat4947
    @rungrat4947 26 дней назад +1

    คนรุ่นปู่ - ย่า - ตา - ยา เรียกตราตำรวจ ส่วนตราครุฑ เป็นตราแผ่นดิน อยากฟังข้อพิพาทจากแอดมิ้น

    • @plotmadeetv
      @plotmadeetv  25 дней назад +7

      (หากผิดพลาดขออภัย)
      *ตราแผ่นดินเดิม ที่ปรากฏบนเหรียญ 1 บาท ปี พ.ศ. 2505 คือ ตรา "ภูมิเทวาพิทักษ์" ซึ่งมีรูปพระมหามงกุฎบนพานแว่นฟ้าและช้างสามเศียร สื่อถึงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่ในปี พ.ศ. 2453 ได้มีการเปลี่ยนมาใช้ ตราครุฑพ่าห์ อย่างเป็นทางการ เพื่อแสดงถึงพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ และแทนที่ตราเดิมในเอกสารราชการ หัวหนังสือ และสัญลักษณ์ของรัฐ
      *ตราสัญลักษณ์ตำรวจ มีการอัญเชิญตราแผ่นดินของรัชกาลที่ 5 มาใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2492 โดยเพิ่มเติมอักษร "พิทักษ์สันติราษฎร์" ไว้บนแพรริ้วใต้ตรา เพื่อสื่อถึงหน้าที่ของตำรวจในการปกป้องความสงบเรียบร้อยของประชาชน
      *ข้อแตกต่างสำคัญ:
      1. ตราครุฑพ่าห์ ใช้แทนตราแผ่นดินเดิมในฐานะสัญลักษณ์ของอำนาจรัฐทั่วประเทศ
      2. ตราตำรวจ เป็นตราประจำองค์กรตำรวจ มีความเฉพาะตัว โดยยังคงใช้ตราแผ่นดินเดิมเป็นส่วนประกอบหลักเพื่อสืบทอดความหมายดั้งเดิม แต่ปรับบริบทให้สอดคล้องกับภารกิจของตำรวจ
      ***การเปลี่ยนจากตราแผ่นดินเดิมมาเป็น ตราครุฑพ่าห์ ในปี พ.ศ. 2453 เป็นการปรับให้สอดคล้องกับรัฐสมัยใหม่ที่เน้นแนวคิดสมมติเทพและพระราชอำนาจ ในขณะที่ ตราตำรวจ ยังคงสะท้อนบทบาทเฉพาะตัวขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการพิทักษ์ประชาชน.

    • @rungrat4947
      @rungrat4947 4 дня назад +1

      @@plotmadeetv เยี่ยมมาก อ่านข้อความแล้ว เหมือน ได้อ่านราชกิจจานุเบกษา..ที่ประกาศเปลี่ยนตราแผ่นดิน