Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
ตามมาจากจอยลดาเลย😊✊ ได้เห็นอะไรที่แปลกมากเลยน่าสนใจมากๆๆๆๆ
เหมือนกัน🤣🤣
ขอเสียงคนศรีสะเกษหน่อย
ไม่เชื่ออย่าลบหลู่ ไม่รู้จริงอย่าเม้นครับ
ผมเชื่อว่าหาย แต่สิ่งที่ทำให้เราไม่สบายก็คือสิ่งที่นับถือแหละ เพราะเขาอยากเล่นอยากรำ ถ้าไม่เล่นให้เขาก็ตาย
ใช่ครับลา้น%ร่างทรงเฒ่าแก่มันจะทำให้ลูกหลานป่วยผีมันก็ทำให้ป่วยถ้ารับเป็นร่างทรงก็หายเพราะมันเป็นผู้ทำให้ป่วยเองแผนผีสกปรกจริงๆ
@@สําคัญ2233คุณเชื่่อแต่คุณไม่ควรพูดแบบนี้นะครับ
สุรินทร์ก็มีค่ะ
โรคที่ป่วยทางกายวิทยาศาสตร์พิสูจน์ได้ แต่โรคทางใจวิทยาศาสตร์ก็ยังพิสูจน์ไม่ได้แต่ ทุกคนก็รู้ว่าถ้าจิตใจป่วยร่างกายก้ป่วย กันหลั่งฮอร์โมน หลั่งสารที่จะทำให้ร่างกายทำงานปกติก็ไม่ปกติ แต่การละเล่นพื้นบ้านอะไรก็ตามแต่ คือการยกสิ่งที่อธิบายไม่ได้ให้เป็นของสิ่งลี้ลับ เพื่อที่จะได้เข้าใจง่าย แต่ทั้งหมดทั้งมวล คือการรวมกันของญาติๆ การละเล่นร้องรำทำเพลง ทำให้จิตใจได้ผ่อนคลาย เมื่อมีกำลังใจที่ดีก็ทำให้มีพลังใจพลังกายในการใช้ชีวิต เพราะเวลา เขาเชิญสิ่งลี้ลับ ญาติๆจะมาผูกแขนรับขวัญและอวยพรให้โชคดีสุขภาพแข็งแรง อันนี้คือที่ผมรู้สึกได้ ส่วนสิ่งลี้ลับนั้น อาจมีจริงหรือไม่มีจริง ก็ตามแต่คนจะศรัทธา เป็นความเชื่อส่วนบุคคล
ມັນມີອິຫຼີຂ້ອຍເຄີຍພ້ອ
เชื่อหลายครับคนอายุเก้าสิบปีเดินบ่ได้สี่ปีเล่นเเล้วลูกขึ้นได้ฟ้อนทั้งที่นอนในสาด ปัจจุบันยังเดินใด้แบบคนธรรมดา
ถ้าแม่มดอยู่กับเราแล้วเราต้องปติบัตตามกดคือห้ามลอดราวตากผ้าห้ามให้คนอื่นตีหัวห้ามพูดคำหยาบถ้าไม่ทำตามจะผิดครูและอาสเป็นบ้าใด้
นำเสนอข้อมูลผิดเยอะมากครับ.
ບ້ານຂ່ອຍເລ່ນນາງທຽມ,ອ້ອ
บ้านข้อยทั้ง อ้อ.สะเองส่วย.สะเองลาว.แม่มด เก้าเสามุงใบหมากพร้าว
ทางเหนือก็มี เรียกรำผีมด เวลาร่างทรงลง ก็จะแต่งตัวเหมือนกับกับทางเขมรเลย ใส่โสร่ง โพกหัวด้วยผ้าสีแดง
นี้ไปถ่ายบ้านเราเองคนที่ถูกตอนเเรกพี่เราเอง
มีฐานข้อมูลประกอบการอธิบายน้อยเกินไปครับ บางอย่างไม่ครบถ้วน ที่เป็นไปตามความเชื่อมม๊วดคับ
พิธีกรรมนี้ใช้รักษาในผู้สูงอายุที่ซึมเศร้าหรือ ตรอมใจ เครียด จากลูกหลานที่ผิดใจกัน หรือลูกหลานไม่สนใจไม่ค่อยดูแลหรือลูกหลานผิดใจเรื่องมรดกไม่ลงตัว แล้วพ่อแม่ตรอมใจป่วยไม่ร่าเริงไม่สดชื่นทานข้าวไม่อร่อย เมื่อซึมเศร้าทานข้าวไม่อร่อยก็จะทำให้เหนื่อย ให้เพลีย นอนไม่ ถึงตรงนี้โรคต่างๆก็แทรกซ้อนมาละ...มาตรงนี้ก็มาถึงพิธีกรรมตามความเชื่อ ซึ่งตรงนี้สามารถไปอ่านดูทฤษฎีการดูแลของวัตสัน (Watson’s Caring Theory)ซึ่งทำให้เราเข้าใจศาสตร์การดูแลในพิธีนี้ได้ เช่นบางคนก็ไปหาคนทรงหาสาเหตุว่ามะม็วตทำก็มาบนบานไว้จะจัดพิธี เมื่อมีการจัดพิธี เมื่อเริ่มพิธี1.ขั้นเตรียมลูกหลานทุกคนและพี่น้องเพื่อนบ้านก็มาช่วยกัน บ้างเย็บกรวยบายศรี บ้างห่อข้าวต้ม บ้างทำปรำพิธีแสดงออกทุกความสามัคคีความห่วงใย ผู้ป่วยเห็นก็ชื่นใจ ร่างกายก็จะหลั่งสารพวก Dopamine Oxytocin Serotonin และ Endorphin ออกมา สารพวกนี้พูดง่ายๆคือสารแห่งความสุข (อยากรู้เพิ่มถามอาจารย์googleได้) ขั้นที่2.เริ่มพิธีกรรมก็มีการเข้าทรงโดยใช้ดนตรีพื้นบ้าน คือดนตรีกันตรึม ขับกล่อมการเข้าทรง (ดูเรื่องMusic Therapy เพิ่มครับ) ในระหว่างเข้าทรงคนดูก็เชียร์รำสนุกสนาน คนป่วยที่ฟังที่เห็นก็ย่อมมีความสุขไปด้วย 3.ร่างทรงที่เข้ามาส่วนมากบอกว่า จะมาเอาไปอยู่ด้วยแล้วเพราะลูกหลานไม่ค่อยดูแลปล่อยปละละเลยทิ้งขว้าง ลูกหลานทุกคนก็ต้องมาทำพิธีขอขมาผู้ป่วยรับปากกับร่างทรงและผู้ป่วยว่าจะดูแลแล้วไม่ปล่อยปละละเลยแล้ว ผู้ป่วยได้ยินก็ชื่นใจ #บางทีก็บอกว่าลูกหลานทะเลาะกันไม่ถูกกัน ลูกหลานก็ต้องให้คำมั่นสัญญาว่าจะไม่ทะเลาะกัน บางทีก็อาจจะบอกว่ารุกล้ำทางน้ำสาธารณะ ทางสาธารณะกันน้ำสาธารณไว้ใช้คนเดียว ก็ต้องไปแก้ไป (บางคนกฎหมายก็จัดการไม่ได้ร่างทรงบอกรีบถอนหลักที่รุกล้ำทันที ปล.จะทายว่าอะไรนั้นเป็นจิตวิทยาของร่างทรงที่ต้องสังเกตุและเรียนรู้ภูมิหลังของครอบครัวนี้ด้วย รวมทั้งสอบถามโรคการเจ็บป่วยด้วย จะได้ทายถูก ในบางกรณีขั้นตอนที่ 3 นี้ไปให้เข้าทรงรู้มาก่อนแล้วก็บนบานไว้แล้ว ก้มาจัดพิธีแล้วก็มารำรับรองผูกแขนกันไป ขั้นตอนสุดท้้ายก็สู่ขวัญผูกข้อมือ ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเอง “เป็นคนพิเศษ” ทำให้รู้สึกว่าตนเองเป็นคนสำคัญ ร่างกายจะหลั่งหลั่งสาร Serotonin ออกมาได้ ต่อไปก็กัจปกาซาปดานเสร็จพิธี สรุปแล้วพิธีนี้ก็เป็นพิธีเพื่อการดูแลผู้ป่วยสามารถใช้ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน (Watson’s Caring Theory)มาอธิบายได้ เป็นพื้นฐานความเชื่อมนุษยนิยม (Humanism) ว่าด้วยความเชื่อมนุษย์ มะม็วตก็จัดว่าเป็นความเชื่อหนึ่งของคนอีสานใต้ ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน ชี้ให้เห็นองค์รวมของมนุษย์ที่มีความเป็นหนึ่งเดียว (Unitary) (Watson, 2008, 2009) ที่เกิดจากการหลอมรวมกันระหว่างร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ (วัตสันใช้คำว่า mind-body-spirit) และให้ความสำคัญอย่างมากในมิติจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของทฤษฎีนี้ ทำให้ทฤษฎีนี้มีความเฉพาะต่อการบำบัดและเยียวยา (Therapeutic intervention) ความทุกข์ ความทรมาน สามารถอธิบายเรื่องมะม็วตได้ แต่ก็ไม่ส่งเสริมและไม่สนับสนุนให้จัดครับเพราะมองว่าสิ้นเปลืองมากกว่าครับ มะม็วตปัจจุบันเป็น #มะม็วตพานิชย์ไปแล้ว
ชอบๆๆๆๆ
เป็นพิธีที่ให้บรรพบุรุษปกปักรักษาคุ้มครองอย่าให้เจ็บป่วยไข้...คู่กับอีกประเพณีคือแซนโฎนตา...พิธีกรรมเหล่านี้ล้วนโยงไปหาบรรพบุรุษผู้ล่วงลับ...คือเน้นความกตัญญูอยู่ให้ใช้ชีวิตในธรรมนองครองธรรม...ถ้าเป็นผู้ผิดคลองธรรมชีวิตจะตกต่ำหรือประสบพบเจอแต่สิ่งอัปมงคลแก่ชีวิตตน...เข้าหลักของกรรม..สุดท้ายแล้วมนุษย์ทุกผู้ทุกนามล้วนอยู่ภายใต้กฎของกรรม...สำหรับผมมองว่าการที่เรามองให้เห็นในพิธีกรรมในจิตวิญญานของบรรพบุรษให้ลึกซึ้งนั้นไม่น่ากลัว...เพราะไม่มีปู่ย่าตาทวดหรือบรรพบุรุษที่ไหนสอนให้ลูกหลานทำชั่วหรือทำสิ่งไม่ดี...คนจีนนั้นมีตรุษจีนไว้เคราพไหว้บรรพบุรุษของเขาชีวิตมีแต่จะเจริญรุ่งเรือง..เขมรส่วยเยอก็มีแซนโฎนตามะม๊วดนี้แหละไว้เคราพนับถือเตือนใจว่าบรรพบุรุษคือจิตวิญญานที่คอยเฝ้ามองปกปักรักษาให้คุณให้โทษตามสมควร
สุรินทร์ก็เล่น
9 เสา นะคับ ปรัมพิธีกรการเล่นมะม๊วต
ชาวกูยหรือส่วยก็มีพิธีกรรมแกล-มอ เหมือนกันอ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ
ขาดข้อมูลเชิงลึกไปหลายอย่าง เพราะมันยากจะอธิบาย
สามารถ อธิบาย ได้ เชิงลึกสงสัยตรงไหนถามได้
บ้านผมทางขุขันธ์ เด็กๆไม่สบายก็ใช้พิธีกรรมนี้ครับ ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้สูงอายุ
เด็กที่บ้านป่วยไม่รู้เป็นอะไร กินข้าวไม่ได้ นอนจนผอม พ่อแม่ไปดูครูก็บอกมะม็วดไม่มีร่างทรง พอบนไปก็หายเผ็นปกติ
กล่าวมาทั้งหมดทั้งมวลคือ คุณขาดศัทธาต่อเรื่องนี้โดยสิ้นเชิง แต่หากเมื่อไหร่ที่คุณเจอกับตัวเองแล้วจะรู้ว่า ไม่ใช่เบาๆน้าาาา
@@เขมนครลําดวนให้เขาเจอ เมื่อ_เจอเขาคงไม่เชื่อและคงไม่ทำตามหรอกคนปรเภทไม่รู้จริงแต่ดันทุรัง ยกเหตุผลตนเอง
จงเชื่อมั่นในใจจริงตามเเบบของตายายคงเเต่เทวดาจะช่วย ค่ำจุน บำรุงประโยชน์สุขมาให้
คุณตา ไม่สบายนอนเจ็บนอนร้องให้ ทานข้าวไม่ได้ คุณยายเลยลองเอา มะม็อตมาเข้าดู พอเช้าเดินได้ ดีขึ้น เราเชื่อนะ จากคนที่ไม่เชื่อ ต่อจากนี้ จะไม่ลบหลู่
มันคือการบนสารสารกล่าวน่ะพี่!,!คือหากเราเจ็บแล้วบนบานสานกล่าวแล้วต้องแก้คำบนบานด้วยกระทำแบบนี้ขอรับ,!@,อ้จซอจนับ
เริ่มบ่ายสาม นิ่มันมืดขนาดนี้เลยเหรอ
ชาวบ้านเเถบบ้านใจดีเขาเจือนตะสาลบ่าย3จริงๆคะ. เเม่ครูบ้านลำภู
เริ่มเล่น4โมงเย็นเป็นต้นไป
แถวบ้านนอก สี่โมงเยนก้เริ่มมืดแล้ว ไม่เหมือนในเมือง
สับสนหรือป่าวพิธีกร
อาจารย์ชานนท์ให้ข้อมูล
มะม๊วดเป็นพิธีกรรมที่จัดขึ้นเพื่อรักษาคนที่เจ็บไข้ได้ป่วยให้หายป่วยไข้ โดยมากจะจัดขึ้นเมื่อหมอแผนปัจจุบันรักษาไม่ได้ผล มะม๊วดจะมีจังหวะดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะซึ่งสามารถปลุกเร้าให้คนที่เป็นโรคซึมเศร้าป่วยไข้หมดอาลัยตายอยาก ให้เกิดความรู้สึกสดชื่นมีชีวิตชีวาขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ฉะนั้นจังหวะดนตรีและคำร้องของมะม๊วดจคงมีความสำคัญอย่างยิ่ง
มะม็วด แกลมอ ผีฟ้าอ.ปรางค์กู่มีจร้
อำเภอบัวเชดมีความลึกกว่านี้
มั่ว แล้ว เสา๕ เสา
wiwat butngam 9เสาไม่ใช่หรอครับ
มันแล้วแต่กี่เสาก็ได้
บ้านข้อยเอิ้นว่า เลี้ยงข่วงผีหัวแดง
เสา9ต้นน่าาจ่าาา
จิรชัย วรวัฒนร่ำรื่น ใช่คับ
ก่อนจะศึกษาดีๆนะกรุณาศึกษาให้ดีก่อน
มุกดาหารไม่ได้ติดชายแดนกัมพูชาเด้อครับ
ตามมาจากจอยลดาเลย😊✊
ได้เห็นอะไรที่แปลกมากเลยน่าสนใจมากๆๆๆๆ
เหมือนกัน🤣🤣
ขอเสียงคนศรีสะเกษหน่อย
ไม่เชื่ออย่าลบหลู่ ไม่รู้จริงอย่าเม้นครับ
ผมเชื่อว่าหาย แต่สิ่งที่ทำให้เราไม่สบายก็คือสิ่งที่นับถือแหละ เพราะเขาอยากเล่นอยากรำ ถ้าไม่เล่นให้เขาก็ตาย
ใช่ครับลา้น%ร่างทรงเฒ่าแก่มันจะทำให้ลูกหลานป่วยผีมันก็ทำให้ป่วยถ้ารับเป็นร่างทรงก็หายเพราะมันเป็นผู้ทำให้ป่วยเองแผนผีสกปรกจริงๆ
@@สําคัญ2233คุณเชื่่อแต่คุณไม่ควรพูดแบบนี้นะครับ
สุรินทร์ก็มีค่ะ
โรคที่ป่วยทางกายวิทยาศาสตร์พิสูจน์ได้ แต่โรคทางใจวิทยาศาสตร์ก็ยังพิสูจน์ไม่ได้แต่ ทุกคนก็รู้ว่าถ้าจิตใจป่วยร่างกายก้ป่วย กันหลั่งฮอร์โมน หลั่งสารที่จะทำให้ร่างกายทำงานปกติก็ไม่ปกติ แต่การละเล่นพื้นบ้านอะไรก็ตามแต่ คือการยกสิ่งที่อธิบายไม่ได้ให้เป็นของสิ่งลี้ลับ เพื่อที่จะได้เข้าใจง่าย แต่ทั้งหมดทั้งมวล คือการรวมกันของญาติๆ การละเล่นร้องรำทำเพลง ทำให้จิตใจได้ผ่อนคลาย เมื่อมีกำลังใจที่ดีก็ทำให้มีพลังใจพลังกายในการใช้ชีวิต เพราะเวลา เขาเชิญสิ่งลี้ลับ ญาติๆจะมาผูกแขนรับขวัญและอวยพรให้โชคดีสุขภาพแข็งแรง อันนี้คือที่ผมรู้สึกได้ ส่วนสิ่งลี้ลับนั้น อาจมีจริงหรือไม่มีจริง ก็ตามแต่คนจะศรัทธา เป็นความเชื่อส่วนบุคคล
ມັນມີອິຫຼີຂ້ອຍເຄີຍພ້ອ
เชื่อหลายครับคนอายุเก้าสิบปีเดินบ่ได้สี่ปีเล่นเเล้วลูกขึ้นได้ฟ้อนทั้งที่นอนในสาด ปัจจุบันยังเดินใด้แบบคนธรรมดา
ถ้าแม่มดอยู่กับเราแล้วเราต้องปติบัตตามกดคือห้ามลอดราวตากผ้าห้าม
ให้คนอื่นตีหัวห้ามพูดคำหยาบ
ถ้าไม่ทำตามจะผิดครูและอาสเป็นบ้าใด้
นำเสนอข้อมูลผิดเยอะมากครับ.
ບ້ານຂ່ອຍເລ່ນນາງທຽມ,ອ້ອ
บ้านข้อยทั้ง อ้อ.สะเองส่วย.สะเองลาว.แม่มด เก้าเสามุงใบหมากพร้าว
ทางเหนือก็มี เรียกรำผีมด เวลาร่างทรงลง ก็จะแต่งตัวเหมือนกับกับทางเขมรเลย ใส่โสร่ง โพกหัวด้วยผ้าสีแดง
นี้ไปถ่ายบ้านเราเองคนที่ถูกตอนเเรกพี่เราเอง
มีฐานข้อมูลประกอบการอธิบายน้อยเกินไปครับ บางอย่างไม่ครบถ้วน ที่เป็นไปตามความเชื่อมม๊วดคับ
พิธีกรรมนี้ใช้รักษาในผู้สูงอายุที่ซึมเศร้าหรือ ตรอมใจ เครียด จากลูกหลานที่ผิดใจกัน หรือลูกหลานไม่สนใจไม่ค่อยดูแลหรือลูกหลานผิดใจเรื่องมรดกไม่ลงตัว แล้วพ่อแม่ตรอมใจป่วยไม่ร่าเริงไม่สดชื่นทานข้าวไม่อร่อย เมื่อซึมเศร้าทานข้าวไม่อร่อยก็จะทำให้เหนื่อย ให้เพลีย นอนไม่ ถึงตรงนี้โรคต่างๆก็แทรกซ้อนมาละ...มาตรงนี้ก็มาถึงพิธีกรรมตามความเชื่อ ซึ่งตรงนี้สามารถไปอ่านดูทฤษฎีการดูแลของวัตสัน (Watson’s Caring Theory)ซึ่งทำให้เราเข้าใจศาสตร์การดูแลในพิธีนี้ได้ เช่นบางคนก็ไปหาคนทรงหาสาเหตุว่ามะม็วตทำก็มาบนบานไว้จะจัดพิธี เมื่อมีการจัดพิธี เมื่อเริ่มพิธี1.ขั้นเตรียมลูกหลานทุกคนและพี่น้องเพื่อนบ้านก็มาช่วยกัน บ้างเย็บกรวยบายศรี บ้างห่อข้าวต้ม บ้างทำปรำพิธีแสดงออกทุกความสามัคคีความห่วงใย ผู้ป่วยเห็นก็ชื่นใจ ร่างกายก็จะหลั่งสารพวก Dopamine Oxytocin Serotonin และ Endorphin ออกมา สารพวกนี้พูดง่ายๆคือสารแห่งความสุข (อยากรู้เพิ่มถามอาจารย์googleได้) ขั้นที่2.เริ่มพิธีกรรมก็มีการเข้าทรงโดยใช้ดนตรีพื้นบ้าน คือดนตรีกันตรึม ขับกล่อมการเข้าทรง (ดูเรื่องMusic Therapy เพิ่มครับ) ในระหว่างเข้าทรงคนดูก็เชียร์รำสนุกสนาน คนป่วยที่ฟังที่เห็นก็ย่อมมีความสุขไปด้วย 3.ร่างทรงที่เข้ามาส่วนมากบอกว่า จะมาเอาไปอยู่ด้วยแล้วเพราะลูกหลานไม่ค่อยดูแลปล่อยปละละเลยทิ้งขว้าง ลูกหลานทุกคนก็ต้องมาทำพิธีขอขมาผู้ป่วยรับปากกับร่างทรงและผู้ป่วยว่าจะดูแลแล้วไม่ปล่อยปละละเลยแล้ว ผู้ป่วยได้ยินก็ชื่นใจ #บางทีก็บอกว่าลูกหลานทะเลาะกันไม่ถูกกัน ลูกหลานก็ต้องให้คำมั่นสัญญาว่าจะไม่ทะเลาะกัน บางทีก็อาจจะบอกว่ารุกล้ำทางน้ำสาธารณะ ทางสาธารณะกันน้ำสาธารณไว้ใช้คนเดียว ก็ต้องไปแก้ไป (บางคนกฎหมายก็จัดการไม่ได้ร่างทรงบอกรีบถอนหลักที่รุกล้ำทันที ปล.จะทายว่าอะไรนั้นเป็นจิตวิทยาของร่างทรงที่ต้องสังเกตุและเรียนรู้ภูมิหลังของครอบครัวนี้ด้วย รวมทั้งสอบถามโรคการเจ็บป่วยด้วย จะได้ทายถูก ในบางกรณีขั้นตอนที่ 3 นี้ไปให้เข้าทรงรู้มาก่อนแล้วก็บนบานไว้แล้ว ก้มาจัดพิธีแล้วก็มารำรับรองผูกแขนกันไป ขั้นตอนสุดท้้ายก็สู่ขวัญผูกข้อมือ ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเอง “เป็นคนพิเศษ” ทำให้รู้สึกว่าตนเองเป็นคนสำคัญ ร่างกายจะหลั่งหลั่งสาร Serotonin ออกมาได้ ต่อไปก็กัจปกาซาปดานเสร็จพิธี สรุปแล้วพิธีนี้ก็เป็นพิธีเพื่อการดูแลผู้ป่วยสามารถใช้ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน (Watson’s Caring Theory)มาอธิบายได้ เป็นพื้นฐานความเชื่อมนุษยนิยม (Humanism) ว่าด้วยความเชื่อมนุษย์ มะม็วตก็จัดว่าเป็นความเชื่อหนึ่งของคนอีสานใต้ ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน ชี้ให้เห็นองค์รวมของมนุษย์ที่มีความเป็นหนึ่งเดียว (Unitary) (Watson, 2008, 2009) ที่เกิดจากการหลอมรวมกันระหว่างร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ (วัตสันใช้คำว่า mind-body-spirit) และให้ความสำคัญอย่างมากในมิติจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของทฤษฎีนี้ ทำให้ทฤษฎีนี้มีความเฉพาะต่อการบำบัดและเยียวยา (Therapeutic intervention) ความทุกข์ ความทรมาน สามารถอธิบายเรื่องมะม็วตได้ แต่ก็ไม่ส่งเสริมและไม่สนับสนุนให้จัดครับเพราะมองว่าสิ้นเปลืองมากกว่าครับ มะม็วตปัจจุบันเป็น #มะม็วตพานิชย์ไปแล้ว
ชอบๆๆๆๆ
เป็นพิธีที่ให้บรรพบุรุษปกปักรักษาคุ้มครองอย่าให้เจ็บป่วยไข้...คู่กับอีกประเพณีคือแซนโฎนตา...พิธีกรรมเหล่านี้ล้วนโยงไปหาบรรพบุรุษผู้ล่วงลับ...คือเน้นความกตัญญูอยู่ให้ใช้ชีวิตในธรรมนองครองธรรม...ถ้าเป็นผู้ผิดคลองธรรมชีวิตจะตกต่ำหรือประสบพบเจอแต่สิ่งอัปมงคลแก่ชีวิตตน...เข้าหลักของกรรม..สุดท้ายแล้วมนุษย์ทุกผู้ทุกนามล้วนอยู่ภายใต้กฎของกรรม...สำหรับผมมองว่าการที่เรามองให้เห็นในพิธีกรรมในจิตวิญญานของบรรพบุรษให้ลึกซึ้งนั้นไม่น่ากลัว...เพราะไม่มีปู่ย่าตาทวดหรือบรรพบุรุษที่ไหนสอนให้ลูกหลานทำชั่วหรือทำสิ่งไม่ดี...คนจีนนั้นมีตรุษจีนไว้เคราพไหว้บรรพบุรุษของเขาชีวิตมีแต่จะเจริญรุ่งเรือง..เขมรส่วยเยอก็มีแซนโฎนตามะม๊วดนี้แหละไว้เคราพนับถือเตือนใจว่าบรรพบุรุษคือจิตวิญญานที่คอยเฝ้ามองปกปักรักษาให้คุณให้โทษตามสมควร
สุรินทร์ก็เล่น
9 เสา นะคับ ปรัมพิธีกรการเล่นมะม๊วต
ชาวกูยหรือส่วยก็มีพิธีกรรมแกล-มอ เหมือนกัน
อ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ
ขาดข้อมูลเชิงลึกไปหลายอย่าง เพราะมันยากจะอธิบาย
พิธีกรรมนี้ใช้รักษาในผู้สูงอายุที่ซึมเศร้าหรือ ตรอมใจ เครียด จากลูกหลานที่ผิดใจกัน หรือลูกหลานไม่สนใจไม่ค่อยดูแลหรือลูกหลานผิดใจเรื่องมรดกไม่ลงตัว แล้วพ่อแม่ตรอมใจป่วยไม่ร่าเริงไม่สดชื่นทานข้าวไม่อร่อย เมื่อซึมเศร้าทานข้าวไม่อร่อยก็จะทำให้เหนื่อย ให้เพลีย นอนไม่ ถึงตรงนี้โรคต่างๆก็แทรกซ้อนมาละ...มาตรงนี้ก็มาถึงพิธีกรรมตามความเชื่อ ซึ่งตรงนี้สามารถไปอ่านดูทฤษฎีการดูแลของวัตสัน (Watson’s Caring Theory)ซึ่งทำให้เราเข้าใจศาสตร์การดูแลในพิธีนี้ได้ เช่นบางคนก็ไปหาคนทรงหาสาเหตุว่ามะม็วตทำก็มาบนบานไว้จะจัดพิธี เมื่อมีการจัดพิธี เมื่อเริ่มพิธี1.ขั้นเตรียมลูกหลานทุกคนและพี่น้องเพื่อนบ้านก็มาช่วยกัน บ้างเย็บกรวยบายศรี บ้างห่อข้าวต้ม บ้างทำปรำพิธีแสดงออกทุกความสามัคคีความห่วงใย ผู้ป่วยเห็นก็ชื่นใจ ร่างกายก็จะหลั่งสารพวก Dopamine Oxytocin Serotonin และ Endorphin ออกมา สารพวกนี้พูดง่ายๆคือสารแห่งความสุข (อยากรู้เพิ่มถามอาจารย์googleได้) ขั้นที่2.เริ่มพิธีกรรมก็มีการเข้าทรงโดยใช้ดนตรีพื้นบ้าน คือดนตรีกันตรึม ขับกล่อมการเข้าทรง (ดูเรื่องMusic Therapy เพิ่มครับ) ในระหว่างเข้าทรงคนดูก็เชียร์รำสนุกสนาน คนป่วยที่ฟังที่เห็นก็ย่อมมีความสุขไปด้วย 3.ร่างทรงที่เข้ามาส่วนมากบอกว่า จะมาเอาไปอยู่ด้วยแล้วเพราะลูกหลานไม่ค่อยดูแลปล่อยปละละเลยทิ้งขว้าง ลูกหลานทุกคนก็ต้องมาทำพิธีขอขมาผู้ป่วยรับปากกับร่างทรงและผู้ป่วยว่าจะดูแลแล้วไม่ปล่อยปละละเลยแล้ว ผู้ป่วยได้ยินก็ชื่นใจ #บางทีก็บอกว่าลูกหลานทะเลาะกันไม่ถูกกัน ลูกหลานก็ต้องให้คำมั่นสัญญาว่าจะไม่ทะเลาะกัน บางทีก็อาจจะบอกว่ารุกล้ำทางน้ำสาธารณะ ทางสาธารณะกันน้ำสาธารณไว้ใช้คนเดียว ก็ต้องไปแก้ไป (บางคนกฎหมายก็จัดการไม่ได้ร่างทรงบอกรีบถอนหลักที่รุกล้ำทันที ปล.จะทายว่าอะไรนั้นเป็นจิตวิทยาของร่างทรงที่ต้องสังเกตุและเรียนรู้ภูมิหลังของครอบครัวนี้ด้วย รวมทั้งสอบถามโรคการเจ็บป่วยด้วย จะได้ทายถูก ในบางกรณีขั้นตอนที่ 3 นี้ไปให้เข้าทรงรู้มาก่อนแล้วก็บนบานไว้แล้ว ก้มาจัดพิธีแล้วก็มารำรับรองผูกแขนกันไป ขั้นตอนสุดท้้ายก็สู่ขวัญผูกข้อมือ ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเอง “เป็นคนพิเศษ” ทำให้รู้สึกว่าตนเองเป็นคนสำคัญ ร่างกายจะหลั่งหลั่งสาร Serotonin ออกมาได้ ต่อไปก็กัจปกาซาปดานเสร็จพิธี สรุปแล้วพิธีนี้ก็เป็นพิธีเพื่อการดูแลผู้ป่วยสามารถใช้ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน (Watson’s Caring Theory)มาอธิบายได้ เป็นพื้นฐานความเชื่อมนุษยนิยม (Humanism) ว่าด้วยความเชื่อมนุษย์ มะม็วตก็จัดว่าเป็นความเชื่อหนึ่งของคนอีสานใต้ ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน ชี้ให้เห็นองค์รวมของมนุษย์ที่มีความเป็นหนึ่งเดียว (Unitary) (Watson, 2008, 2009) ที่เกิดจากการหลอมรวมกันระหว่างร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ (วัตสันใช้คำว่า mind-body-spirit) และให้ความสำคัญอย่างมากในมิติจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของทฤษฎีนี้ ทำให้ทฤษฎีนี้มีความเฉพาะต่อการบำบัดและเยียวยา (Therapeutic intervention) ความทุกข์ ความทรมาน สามารถอธิบายเรื่องมะม็วตได้ แต่ก็ไม่ส่งเสริมและไม่สนับสนุนให้จัดครับเพราะมองว่าสิ้นเปลืองมากกว่าครับ มะม็วตปัจจุบันเป็น #มะม็วตพานิชย์ไปแล้ว
สามารถ อธิบาย ได้ เชิงลึกสงสัยตรงไหนถามได้
พิธีกรรมนี้ใช้รักษาในผู้สูงอายุที่ซึมเศร้าหรือ ตรอมใจ เครียด จากลูกหลานที่ผิดใจกัน หรือลูกหลานไม่สนใจไม่ค่อยดูแลหรือลูกหลานผิดใจเรื่องมรดกไม่ลงตัว แล้วพ่อแม่ตรอมใจป่วยไม่ร่าเริงไม่สดชื่นทานข้าวไม่อร่อย เมื่อซึมเศร้าทานข้าวไม่อร่อยก็จะทำให้เหนื่อย ให้เพลีย นอนไม่ ถึงตรงนี้โรคต่างๆก็แทรกซ้อนมาละ...มาตรงนี้ก็มาถึงพิธีกรรมตามความเชื่อ ซึ่งตรงนี้สามารถไปอ่านดูทฤษฎีการดูแลของวัตสัน (Watson’s Caring Theory)ซึ่งทำให้เราเข้าใจศาสตร์การดูแลในพิธีนี้ได้ เช่นบางคนก็ไปหาคนทรงหาสาเหตุว่ามะม็วตทำก็มาบนบานไว้จะจัดพิธี เมื่อมีการจัดพิธี เมื่อเริ่มพิธี1.ขั้นเตรียมลูกหลานทุกคนและพี่น้องเพื่อนบ้านก็มาช่วยกัน บ้างเย็บกรวยบายศรี บ้างห่อข้าวต้ม บ้างทำปรำพิธีแสดงออกทุกความสามัคคีความห่วงใย ผู้ป่วยเห็นก็ชื่นใจ ร่างกายก็จะหลั่งสารพวก Dopamine Oxytocin Serotonin และ Endorphin ออกมา สารพวกนี้พูดง่ายๆคือสารแห่งความสุข (อยากรู้เพิ่มถามอาจารย์googleได้) ขั้นที่2.เริ่มพิธีกรรมก็มีการเข้าทรงโดยใช้ดนตรีพื้นบ้าน คือดนตรีกันตรึม ขับกล่อมการเข้าทรง (ดูเรื่องMusic Therapy เพิ่มครับ) ในระหว่างเข้าทรงคนดูก็เชียร์รำสนุกสนาน คนป่วยที่ฟังที่เห็นก็ย่อมมีความสุขไปด้วย 3.ร่างทรงที่เข้ามาส่วนมากบอกว่า จะมาเอาไปอยู่ด้วยแล้วเพราะลูกหลานไม่ค่อยดูแลปล่อยปละละเลยทิ้งขว้าง ลูกหลานทุกคนก็ต้องมาทำพิธีขอขมาผู้ป่วยรับปากกับร่างทรงและผู้ป่วยว่าจะดูแลแล้วไม่ปล่อยปละละเลยแล้ว ผู้ป่วยได้ยินก็ชื่นใจ #บางทีก็บอกว่าลูกหลานทะเลาะกันไม่ถูกกัน ลูกหลานก็ต้องให้คำมั่นสัญญาว่าจะไม่ทะเลาะกัน บางทีก็อาจจะบอกว่ารุกล้ำทางน้ำสาธารณะ ทางสาธารณะกันน้ำสาธารณไว้ใช้คนเดียว ก็ต้องไปแก้ไป (บางคนกฎหมายก็จัดการไม่ได้ร่างทรงบอกรีบถอนหลักที่รุกล้ำทันที ปล.จะทายว่าอะไรนั้นเป็นจิตวิทยาของร่างทรงที่ต้องสังเกตุและเรียนรู้ภูมิหลังของครอบครัวนี้ด้วย รวมทั้งสอบถามโรคการเจ็บป่วยด้วย จะได้ทายถูก ในบางกรณีขั้นตอนที่ 3 นี้ไปให้เข้าทรงรู้มาก่อนแล้วก็บนบานไว้แล้ว ก้มาจัดพิธีแล้วก็มารำรับรองผูกแขนกันไป ขั้นตอนสุดท้้ายก็สู่ขวัญผูกข้อมือ ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเอง “เป็นคนพิเศษ” ทำให้รู้สึกว่าตนเองเป็นคนสำคัญ ร่างกายจะหลั่งหลั่งสาร Serotonin ออกมาได้ ต่อไปก็กัจปกาซาปดานเสร็จพิธี สรุปแล้วพิธีนี้ก็เป็นพิธีเพื่อการดูแลผู้ป่วยสามารถใช้ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน (Watson’s Caring Theory)มาอธิบายได้ เป็นพื้นฐานความเชื่อมนุษยนิยม (Humanism) ว่าด้วยความเชื่อมนุษย์ มะม็วตก็จัดว่าเป็นความเชื่อหนึ่งของคนอีสานใต้ ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน ชี้ให้เห็นองค์รวมของมนุษย์ที่มีความเป็นหนึ่งเดียว (Unitary) (Watson, 2008, 2009) ที่เกิดจากการหลอมรวมกันระหว่างร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ (วัตสันใช้คำว่า mind-body-spirit) และให้ความสำคัญอย่างมากในมิติจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของทฤษฎีนี้ ทำให้ทฤษฎีนี้มีความเฉพาะต่อการบำบัดและเยียวยา (Therapeutic intervention) ความทุกข์ ความทรมาน สามารถอธิบายเรื่องมะม็วตได้ แต่ก็ไม่ส่งเสริมและไม่สนับสนุนให้จัดครับเพราะมองว่าสิ้นเปลืองมากกว่าครับ มะม็วตปัจจุบันเป็น #มะม็วตพานิชย์ไปแล้ว
บ้านผมทางขุขันธ์ เด็กๆไม่สบายก็ใช้พิธีกรรมนี้ครับ ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้สูงอายุ
เด็กที่บ้านป่วยไม่รู้เป็นอะไร กินข้าวไม่ได้ นอนจนผอม พ่อแม่ไปดูครูก็บอกมะม็วดไม่มีร่างทรง พอบนไปก็หายเผ็นปกติ
กล่าวมาทั้งหมดทั้งมวลคือ คุณขาดศัทธาต่อเรื่องนี้โดยสิ้นเชิง แต่หากเมื่อไหร่ที่คุณเจอกับตัวเองแล้วจะรู้ว่า ไม่ใช่เบาๆน้าาาา
@@เขมนครลําดวนให้เขาเจอ เมื่อ_เจอเขาคงไม่เชื่อและคงไม่ทำตามหรอกคนปรเภทไม่รู้จริงแต่ดันทุรัง ยกเหตุผลตนเอง
จงเชื่อมั่นในใจจริงตามเเบบของตายายคงเเต่เทวดาจะช่วย ค่ำจุน บำรุงประโยชน์สุขมาให้
คุณตา ไม่สบายนอนเจ็บนอนร้องให้ ทานข้าวไม่ได้ คุณยายเลยลองเอา มะม็อตมาเข้าดู พอเช้าเดินได้ ดีขึ้น เราเชื่อนะ จากคนที่ไม่เชื่อ ต่อจากนี้ จะไม่ลบหลู่
มันคือการบนสารสารกล่าวน่ะพี่!,!คือหากเราเจ็บแล้วบนบานสานกล่าวแล้วต้องแก้คำบนบานด้วยกระทำแบบนี้ขอรับ,!@,อ้จซอจนับ
เริ่มบ่ายสาม นิ่มันมืดขนาดนี้เลยเหรอ
ชาวบ้านเเถบบ้านใจดีเขาเจือนตะสาลบ่าย3จริงๆคะ. เเม่ครูบ้านลำภู
เริ่มเล่น4โมงเย็นเป็นต้นไป
แถวบ้านนอก สี่โมงเยนก้เริ่มมืดแล้ว ไม่เหมือนในเมือง
สับสนหรือป่าวพิธีกร
อาจารย์ชานนท์ให้ข้อมูล
มะม๊วดเป็นพิธีกรรมที่จัดขึ้นเพื่อรักษาคนที่เจ็บไข้ได้ป่วยให้หายป่วยไข้ โดยมากจะจัดขึ้นเมื่อหมอแผนปัจจุบันรักษาไม่ได้ผล มะม๊วดจะมีจังหวะดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะซึ่งสามารถปลุกเร้าให้คนที่เป็นโรคซึมเศร้าป่วยไข้หมดอาลัยตายอยาก ให้เกิดความรู้สึกสดชื่นมีชีวิตชีวาขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ฉะนั้นจังหวะดนตรีและคำร้องของมะม๊วดจคงมีความสำคัญอย่างยิ่ง
มะม็วด แกลมอ ผีฟ้า
อ.ปรางค์กู่มีจร้
อำเภอบัวเชดมีความลึกกว่านี้
มั่ว แล้ว เสา๕ เสา
wiwat butngam 9เสาไม่ใช่หรอครับ
มันแล้วแต่กี่เสาก็ได้
บ้านข้อยเอิ้นว่า เลี้ยงข่วงผีหัวแดง
เสา9ต้นน่าาจ่าาา
จิรชัย วรวัฒนร่ำรื่น
ใช่คับ
ก่อนจะศึกษาดีๆนะกรุณาศึกษาให้ดีก่อน
มุกดาหารไม่ได้ติดชายแดนกัมพูชาเด้อครับ