Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
🙏🙏🙏
กราบนมัสการภันเต อนุโมทนาสาธุสาธุครับ
Krarp namassakarn Than kha, Sadhu2 kha 🙏🙏🙏🌺🌹💐
น้อมกราบอนุโมทนาสาธุค่ะ
Anumotana sadhu
น้อมนมัสการภันเตเจ้าค่ะ🙇🏻♀️🙏🪷
🙏
ขอน้อมกราบในธรรมของพระศาสดา และกราบนมัสการภันเตเจ้าค่ะ โยมติดตามฟังทุกวันเจ้าค่ะ มีบางพระสูตรก็ยังไม่เคยได้ยิน โยมชอบทีภันเตพูดอยู่วรรคหนึ่ง ตรงทีว่า เห็นมั้ยว่า กามไม่ใช่ว่าเราจะเล่นๆกับมัน แล้วมันจะอยู่ใต้อำนาจของเรา ไม่ใช่ เผลอเมี่อไหร่ เราอยู่ใต้อำนาจของมันทันที เป็นจริงอย่างนั้นๆเจ้าค่ะ กราบๆๆๆเจ้าค่ะ🙏🙏🙏
อนุโมทนาที่ได้รับประโยชน์ครับ
ขอน้อมกราบ อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ เจ้าค่ะ🙏🙏🙏
น้อมกราบอนุโมทนาสาธุเจ้าค่ะภันเต🙏🙇❤
กราบนมัสการภันเตโตโต้ค่ะ🪷🙇🏿♂️🙇🏿♂️🙇🏿♂️🪷
น้อมกราบขอบพระคุณในธรรมเจ้าค่ะ🙏
อนุโมทนาบุญด้วยค่ะ
🙏 กราบอนุโมทนาสาธุเจ้าค่ะ
สาธุสาธุสาธุเจ้าค่ะ 🙏🙏🙏
สาธุ สาธุ สาธุ เจ้าค่ะ🙏🙏🙏โภคะ ของฆราวาส = เครื่องใช้บริโภคโภคะ ของพระสงฆ์ = อริยทรัพย์สาธุ สาธุ สาธุ เจ้าค่ะ🙏🙏🙏
สาธุครับ
กราบสาธุคะ เดินทางราบรื่นปลอดภัย คะ
สาธุครับ ภันเตท่านถึงปลายทาง และเข้าที่พักเรียบร้อย วันนี้ได้เริ่มปฏิบัติภารกิจแล้วครับ
@@DhammaInYard สาธุคะ
กราบสาธุค่ะ
สาธุ
🙏🙏🙏🌷
กราบสาธุเจ้าค่ะ
น้อมกราบสาธุสาธุสาธุเจ้าค่ะไนธรรมคำสั่งสอนที่ประเสริฐมากแล้ว
กราบสาธุๆค่ะภันเต พอดีโยมมาฟังคำถาม ในท้ายคลิปนี้ เรี่องของสัตว์ ได้ฟังธรรม จะไดอนิสงค์ ตรงนี้หรึอไม่ โยมมีคำถาม. ตามทีโยมเคยได้ยินมาบ้าง. คึอโยมเองก็เคยเห็น สัตว์ตายใหม่ๆ ในขณะทีเขาตายแล้ว เขาไม่ใช่สัตว์เดรฉาร แต่เขาเป็น สัตว์ หรึอภูตะสัตว์. (โยมอาจพิมผิด คำว่าภูตะสัตว์ ) อะไรประมานนี้ เขาก็จะเข้าใจในธรรม เป็นอย่างนั้น ใช่หรึอไม่ กราบขอโอกาสภันเต อธิบายในคลิป หลังให้ด้วยนะเจ้าคะ. โยมเข้ากลุมไม่เป็นเจ้าค่ะ เลยขอโอากาสถามในข้อความนะเจ้าคะ กราบสาธุๆ เจ้าค่ะ🙏🙏🙏
เรื่องภูตสัตว์ กับสัมภเวสีสัตว์ 2 คำนี้ ยังไม่มีที่พระผู้มีพระภาคอธิบายโดยตรงนะครับ ที่เข้าใจกันอยู่ เกิดจากการวิเคราะห์หรือพิจารณากันเอาเองหากดูเรื่องการเข้าถึงภพ พระสูตรนี้ค่อนข้างชัดเจนว่า มันใช้เวลาไม่นานเลย คือ"ภิกษุทั้งหลาย ถ้าบุคคลคิดถึงสิ่งใดอยู่ ดำริถึงสิ่งใดอยู่ และมีจิตฝังลงไปในสิ่งใดอยู่ สิ่งนั้นย่อมเป็นอารมณ์เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ.เมื่ออารมณ์มีอยู่ ความตั้งขึ้นแห่งวิญญาณย่อมมี เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นแล้ว เจริญงอกงามแล้ว การเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไปย่อมมี.เมื่อการเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไปมีอยู่ ชาติ ชรามรณะ โสกปริเทวะ ทุกขโทมนัส และอุปายาสทั้งหลายจึงเกิดขึ้นครบถ้วนต่อไป"ดูความคิดของเรา ที่ไปในเรื่องต่างๆ มันใช้เวลาไม่นานเลย เพียงแค่ครู่เดียวเท่านั้น ดังนั้น การที่ตายแล้ว และยังอยู่ตรงนั้น แล้วสามารถฟังธรรมได้ สถานการณ์นี้ไม่น่าจะเกิดขึ้น.
หากดูเรื่องพระบัญญัติ การห้ามสัตว์เดรัจฉานอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ซึ่งมีเหตุจากนาคแอบแปลงเป็นมนุษย์เพื่อมาบวช แต่เพราะเป็นผู้ที่จัดอยู่ในกลุ่มเดรัจฉาน จึงมีความไม่เจริญงอกงามในธรรมวินัยนี้.พระผู้มีพระภาคจึงให้ไปรักษาอุโบสถ 8 ประการในวัน 14 ค่ำ, 15 ค่ำ และ 8 ค่ำแห่งปักษ์ จะสามารถทำให้เปลี่ยนอัตภาพเป็นมนุษย์ได้เร็วขึ้น.ถ้าสัตว์เดรัจฉานตายแล้ว สามารถฟังธรรมเข้าใจ พระผู้มีพระภาคคงไม่ได้ให้นาคออกจากความเป็นภิกษุ ควรจะเป็นคำแนะนำในลักษณะที่ให้นาคนั้น ไปฟังธรรมเนืองๆ ทรงจำได้ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยความเห็น เพื่อจะได้อานิสงส์จากการฟังธรรม แทนที่จะให้ออกจากความเป็นภิกษุ แล้วไปรักษาอุโบสถ 8 ประการ.แม้แต่ในผัคคุณสูตร ที่พระผู้มีพระภาคกล่าวกับท่านพระอานนท์ ปรารภเรื่องอินทรีย์ท่านผัคคุณะผ่องใสหลังจากเสียชีวิต ก็ยังกล่าวถึงอานิสงส์ที่ได้ในฟังธรรมขณะจะเสียชีวิต ไม่ใช่ฟังหลังจากเสียชีวิตแล้ว.การที่ไปเปิดธรรมะให้ฟังหลังจากเสียชีวิต อันนี้ไม่มีในคำสอนพระผู้มีพระภาค และเรื่องตัวนิ่ม ตัวอ่อน ก็ไม่ได้มีในคำสอนพระผู้มีพระภาค.ดังนั้น ที่เราคิดว่า ตัวเราเองจะศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนของพระผู้มีพระภาค สรุปแล้ว เราทำตามจริงหรือไม่ หรือทำตามๆ คนอื่น.แม้กระทั่งธรรมะที่ผู้มีพระภาค และเหล่าพระสาวกแสดงให้คนเจ็บป่วยฟัง เราได้นำมาใช้อ่าน หรือเปิดให้ฟังหรือไม่ หรือเราไปใช้บทอื่น จากการกระทำของผู้ที่ไม่ใช่อรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
ฝากเนื้อความบางส่วนจากพระสูตร มาให้พิจารณากัน"อย่าได้เชื่อถือ เพราะการฟังตามๆ กันมาอย่าได้เชื่อถือ เพราะการกระทำตามๆ กันมาอย่าได้เชื่อถือ เพราะการเล่าลือกันอยู่อย่าได้เชื่อถือ เพราะการอ้างตำราอย่าได้เชื่อถือ เพราะการนึกเดาเอาเองอย่าได้เชื่อถือ เพราะการคาดคะเนอย่าได้เชื่อถือ เพราะตรึกตามอาการอย่าได้เชื่อถือ เพราะตรงกับความเห็นของตนอย่าได้เชื่อถือ เพราะเห็นว่าผู้พูดเป็นคนควรเชื่อได้อย่าได้เชื่อถือ เพราะว่าสมณะนี้เป็นครูของเรากาลามะทั้งหลาย เมื่อใด เธอทั้งหลายพึงรู้ได้ด้วยตนเองว่า ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล ธรรมเหล่านี้มีโทษ ธรรมเหล่านี้อันผู้รู้ติเตียน ธรรมเหล่านี้อันบุคคลสมาทาน (ประพฤติ) ให้บริบูรณ์แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อไม่ใช่ประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความทุกข์ เมื่อนั้น เธอทั้งหลายพึงละธรรมเหล่านั้นเสียเถิด.กาลามะทั้งหลาย เมื่อใด เธอทั้งหลายพึงรู้ได้ด้วยตนเองว่า ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ ธรรมเหล่านี้อันผู้รู้สรรเสริญ ธรรมเหล่านี้อันบุคคลสมาทาน (ประพฤติ) ให้บริบูรณ์แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข เมื่อนั้น เธอทั้งหลายพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้นอยู่เถิด."
เมื่อดูกรณีของเทวทัต จะเห็นว่า หากมีโอกาสที่จะช่วยเหลือได้ แม้เพียงเล็กน้อย พระองค์ก็จะช่วยเหลือ คือ"...ตราบใดเราเห็นธรรมฝ่ายขาวของเทวทัต แม้เท่ารอยเจาะแห่งปลายขนทราย ตราบนั้นเราก็ไม่พยากรณ์เทวทัตว่า ‘เทวทัตจะต้องเกิดในอบาย ตกนรก ดำรงอยู่ตลอดกัป แก้ไขไม่ได้’..."และเมื่อดูเรื่องใบไม้ในกำมือ ก็จะน่าจะพอเป็นแนวทางถือปฏิบัติต่อไปได้ คือ"ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายเข้าใจความข้อนี้ว่าอย่างไร ใบสีสปาที่เรากำขึ้นมาหน่อยหนึ่งนี้ กับใบสีสปาที่ยังอยู่บนต้นสีสปาเหล่านั้น ส่วนไหนจะมากกว่ากัน.ภันเต ใบสีสปาที่พระผู้มีพระภาคทรงกำขึ้นหน่อยหนึ่งนั้นเป็นของน้อย ส่วนใบสีสปาที่ยังอยู่บนต้นสีสปาเหล่านั้นย่อมมีมาก.ภิกษุทั้งหลาย ฉันใดก็ฉันนั้น สิ่งที่เรารู้ด้วยปัญญาอันยิ่งแล้วไม่กล่าวสอนนั้น มีมากกว่าส่วนที่นำมากล่าวสอน ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุใดเราจึงไม่กล่าวสอนสิ่งเหล่านั้น ภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าสิ่งเหล่านั้น ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นเงื่อนต้นแห่งพรหมจรรย์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย ไม่เป็นไปเพื่อความคลายกำหนัด ไม่เป็นไปเพื่อความดับ ไม่เป็นไปเพื่อความสงบ ไม่เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง ไม่เป็นไปเพื่อความรู้พร้อม ไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน ดังนั้น เราจึงไม่กล่าวสอน."
ข้อมูลที่นำมาให้ ยังไม่ใช่ที่สุด เป็นเพียงพระสูตรประกอบความเห็นเท่านั้นสุดแท้จะพิจารณากันนะครับ
ต้องเห็นโทษของกามให้มาก พิจารณาว่ากามเป็นอย่างไร เหตุเกิดของกามคืออะไร ความต่างของกาม วิบากของกาม และอุบายเครื่องสลัดออกจากกาม ตราบใดที่ผัสสายตนะยังมีอยู่กามต้องเกิดอยู่แล้ว แต่เราต้องกำหนดรู้ กามคุณ๕ ถ้าเรายังมีราคะ โทสะ โมหะ อยู่ เราก็ยังมีกามอยู่ กามเป็นทั้งสังโยชน์และเป็นทั้งนิวรณ์ ผู้ที่จะละกามได้อย่างเด็ดขาดไปได้ถึงอนาคามี เหมือนท่านฆฏิการะ ฆารวาสที่ยังอยู่ครองเรือนไม่สามารถที่จะละกามได้เด็ดขาด เพราะยังพอใจในรูป เสียง กลิ่น รส โผฐฐัพพะ อยู่ ฆารวาสต้องปฏิบัติตามขั้นตอนก่อนคือ อนุปุภิกถา คือ ทาน ศีล โทษของกาม แล้วมาเรียนรู้อริยะสัจ๔
ครับ / ต้องเห็นด้วยปัญญา เพื่อผลลัพธ์สุดท้าย อ้นจะเป็นเหตุให้เราละกามได้เด็ดขาดถึงแม้ว่า เราอาจะละกามไม่ได้เด็ดขาด แต่อย่างน้อยก็ยังพอสามารถละกามได้ในเวลาที่ควรละ, ไม่ทำอกุศลเพราะกาม, ไม่เบียดเบียนใครๆ เพราะกาม
กราบเรียนถามภันเตคะบุรุษผู้เป็นโรคเรื้อน หมายถึง บุคคลผู้ยังมีิวิชชา หลงในการเสพกามอยู่ ใช่ไมคะแต่พอหายจากโรค ด้วยการรมไฟ คือ มีวิชชาเกิดขึ้น จึงหลงจากการไม่ไปเสพกามอีก เพราะเห็นชัดรู้แจ้งในโทษของกามแล้ว เปรียบดั่งไฟ แม้ในอดีต ปัจจบัน อนาคต ก็ย่อมร้อนแบบนั้น กามก็ฉันนั้น เมื่อเสพกามอยู่ ย่อมเร่าร้อนแสบเผาอยู่
รบกวนสอบถามหน่อยครับพระอาจารย์🙏เห็นอาทินวะของกามบ้าง แต่ยังพอใจในกาม ยังไม่เบื่อหน่าย แต่ละได้ชั่วครั้งชั่วคราว หรือ บรรเทาได้ รู้นิสสรณะ แบบนี้สามารถทำให้จิตตั้งมั่นได้บ้างไหมครับ
อันดับแรก ผู้ที่ละความพอใจในกามได้เด็ดขาด คือ อริยบุคคลขั้นอนาคามีขึ้นไป ดังนั้น หากเรายังไม่ถึงขั้นอนาคามี หากมีความพอใจในกามเกิดขึ้นมา ให้ทราบว่า เป็นเรื่องปกติ.การละได้ชั่วคราว หรือบรรเทาความเร่าร้อนที่เกิดขึ้นเพราะกามได้ แสดงว่าเรามาถูกทางแล้ว หากเราสามารถละได้ในช่วงใด ก็จะเอื้อต่อการทำจิตให้ตั้งมั่นได้ในช่วงนั้น.เราเป็นฆราวาสผู้ครองเรือน การที่มีความพอใจในกามบ้าง มันเป็นเรื่องปกติ เพียงแต่... อย่าทำให้มีมากจนกระทั่งเป็นทุกข์ หรือเกิดการเบียดเบียนตนเองและผู้อื่น พยายามให้มีปัญญาเห็นโทษของมันอยู่บ่อยๆ และทำสมาธิให้เป็นประจำ เพื่อไม่ให้กามมีอำนาจเหนือเรา จนชักจูงไปในทางอกุศล เมื่อเราสร้างเหตุอย่างนี้ไปเรื่อยๆ การเบื่อหน่าย และคลายความพอใจในกาม ก็จะเกิดขึ้นเองได้ในที่สุดนะครับ
พิจารณาจากพระสูตรนี้ประกอบได้ครับ"ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนไฟกองใหญ่ซึ่งลุกโพลงขึ้นได้ ด้วยไม้ ๑๐ เล่มเกวียนบ้าง ๒๐ เล่มเกวียนบ้าง ๓๐ เล่มเกวียนบ้าง ๔๐ เล่มเกวียนบ้าง บุรุษพึงใส่หญ้าแห้ง ใส่มูลโคแห้ง และใส่ไม้แห้ง ลงในไฟกองนั้นตลอดเวลาที่ควรเติมอยู่ทุกๆ ระยะ เมื่อเป็นอย่างนี้ ไฟกองใหญ่นั้น มีอาหารอย่างนั้น มีเชื้ออย่างนั้น ก็พึงลุกโพลงอยู่ได้ตลอดกาลนาน. ภิกษุทั้งหลาย ฉันใดก็ฉันนั้น เมื่อภิกษุเพิจารณาเห็นโดยความเป็นของน่าพอใจเนืองๆ (อัสสาทะ) ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทานอยู่ ตัณหาย่อมเจริญ เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกปริเทวะ ทุกขโทมนัส และอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้."
"ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนไฟกองใหญ่ซึ่งลุกโพลงขึ้นได้ ด้วยไม้ ๑๐ เล่มเกวียนบ้าง ๒๐ เล่มเกวียนบ้าง ๓๐ เล่มเกวียนบ้าง ๔๐ เล่มเกวียนบ้าง บุรุษไม่ใส่หญ้าแห้ง ไม่ใส่มูลโคแห้ง และไม่ใส่ไม้แห้ง ลงในไฟกองนั้นตลอดเวลาที่ควรเติมอยู่ทุกๆ ระยะ เมื่อเป็นอย่างนี้ ไฟกองใหญ่นั้น เมื่อไม่มีอาหาร เพราะสิ้นเชื้อเก่า และเพราะไม่เติมเชื้อใหม่ ก็เป็นไฟที่หมดเชื้อแล้วดับไป. ภิกษุทั้งหลาย ฉันใดก็ฉันนั้น เมื่อภิกษุพิจารณาเห็นโดยความเป็นโทษเนืองๆ (อาทีนวะ) ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทานอยู่ ตัณหาย่อมดับ เพราะความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ เพราะความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกปริเทวะ ทุกขโทมนัส และอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้."
หากปรารถนาไม่เกี่ยวข้องกับกามอีก หรือต้องการเอาชนะกามได้อย่างเด็ดขาด แนะนำว่า ความเป็นฆราวาสไม่อาจทำได้อย่างสะดวก ต้องพิจารณาเรื่อง การปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือน บวชเป็นบรรพชิตนะครับ.
@@DhammaInYard ขอบพระคุณครับพระอาจารย์ 🙏
น้อมกราบสาธุเจ้าค่ะ🙏🌷
กราบสาธุค่า
กราบอนุโมทนาสาธุค่ะภันเตผุ้เจริญ💐🙏🙏🙏
สาธุสาธุค่ะ🙏🙏🪷🪷🪷
🙏🙏🙏
กราบนมัสการภันเต อนุโมทนาสาธุสาธุครับ
Krarp namassakarn Than kha, Sadhu2 kha 🙏🙏🙏🌺🌹💐
น้อมกราบอนุโมทนาสาธุค่ะ
🙏🙏🙏
Anumotana sadhu
น้อมนมัสการภันเตเจ้าค่ะ🙇🏻♀️🙏🪷
🙏
ขอน้อมกราบในธรรมของพระศาสดา และกราบนมัสการภันเตเจ้าค่ะ โยมติดตามฟังทุกวันเจ้าค่ะ มีบางพระสูตรก็ยังไม่เคยได้ยิน โยมชอบทีภันเตพูดอยู่วรรคหนึ่ง ตรงทีว่า เห็นมั้ยว่า กามไม่ใช่ว่าเราจะเล่นๆกับมัน แล้วมันจะอยู่ใต้อำนาจของเรา ไม่ใช่ เผลอเมี่อไหร่ เราอยู่ใต้อำนาจของมันทันที เป็นจริงอย่างนั้นๆเจ้าค่ะ กราบๆๆๆเจ้าค่ะ🙏🙏🙏
อนุโมทนาที่ได้รับประโยชน์ครับ
ขอน้อมกราบ อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุ เจ้าค่ะ
🙏🙏🙏
น้อมกราบอนุโมทนาสาธุเจ้าค่ะภันเต🙏🙇❤
กราบนมัสการภันเตโตโต้ค่ะ🪷🙇🏿♂️🙇🏿♂️🙇🏿♂️🪷
น้อมกราบขอบพระคุณในธรรมเจ้าค่ะ🙏
อนุโมทนาบุญด้วยค่ะ
🙏 กราบอนุโมทนาสาธุเจ้าค่ะ
สาธุสาธุสาธุเจ้าค่ะ 🙏🙏🙏
สาธุ สาธุ สาธุ เจ้าค่ะ🙏🙏🙏
โภคะ ของฆราวาส = เครื่องใช้บริโภค
โภคะ ของพระสงฆ์ = อริยทรัพย์
สาธุ สาธุ สาธุ เจ้าค่ะ🙏🙏🙏
สาธุครับ
กราบสาธุคะ เดินทางราบรื่นปลอดภัย คะ
สาธุครับ ภันเตท่านถึงปลายทาง และเข้าที่พักเรียบร้อย วันนี้ได้เริ่มปฏิบัติภารกิจแล้วครับ
@@DhammaInYard สาธุคะ
กราบสาธุค่ะ
สาธุ
🙏🙏🙏🌷
กราบสาธุเจ้าค่ะ
น้อมกราบสาธุสาธุสาธุเจ้าค่ะไนธรรมคำสั่งสอนที่ประเสริฐมากแล้ว
กราบสาธุๆค่ะภันเต พอดีโยมมาฟังคำถาม ในท้ายคลิปนี้ เรี่องของสัตว์ ได้ฟังธรรม จะไดอนิสงค์ ตรงนี้หรึอไม่ โยมมีคำถาม. ตามทีโยมเคยได้ยินมาบ้าง. คึอโยมเองก็เคยเห็น สัตว์ตายใหม่ๆ ในขณะทีเขาตายแล้ว เขาไม่ใช่สัตว์เดรฉาร แต่เขาเป็น สัตว์ หรึอภูตะสัตว์. (โยมอาจพิมผิด คำว่าภูตะสัตว์ ) อะไรประมานนี้ เขาก็จะเข้าใจในธรรม เป็นอย่างนั้น ใช่หรึอไม่ กราบขอโอกาสภันเต อธิบายในคลิป หลังให้ด้วยนะเจ้าคะ. โยมเข้ากลุมไม่เป็นเจ้าค่ะ เลยขอโอากาสถามในข้อความนะเจ้าคะ กราบสาธุๆ เจ้าค่ะ🙏🙏🙏
เรื่องภูตสัตว์ กับสัมภเวสีสัตว์ 2 คำนี้ ยังไม่มีที่พระผู้มีพระภาคอธิบายโดยตรงนะครับ ที่เข้าใจกันอยู่ เกิดจากการวิเคราะห์หรือพิจารณากันเอาเอง
หากดูเรื่องการเข้าถึงภพ พระสูตรนี้ค่อนข้างชัดเจนว่า มันใช้เวลาไม่นานเลย คือ
"ภิกษุทั้งหลาย ถ้าบุคคลคิดถึงสิ่งใดอยู่ ดำริถึงสิ่งใดอยู่ และมีจิตฝังลงไปในสิ่งใดอยู่ สิ่งนั้นย่อมเป็นอารมณ์เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ.
เมื่ออารมณ์มีอยู่ ความตั้งขึ้นแห่งวิญญาณย่อมมี เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นแล้ว เจริญงอกงามแล้ว การเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไปย่อมมี.
เมื่อการเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไปมีอยู่ ชาติ ชรามรณะ โสกปริเทวะ ทุกขโทมนัส และอุปายาสทั้งหลายจึงเกิดขึ้นครบถ้วนต่อไป"
ดูความคิดของเรา ที่ไปในเรื่องต่างๆ มันใช้เวลาไม่นานเลย เพียงแค่ครู่เดียวเท่านั้น ดังนั้น การที่ตายแล้ว และยังอยู่ตรงนั้น แล้วสามารถฟังธรรมได้ สถานการณ์นี้ไม่น่าจะเกิดขึ้น.
หากดูเรื่องพระบัญญัติ การห้ามสัตว์เดรัจฉานอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ซึ่งมีเหตุจากนาคแอบแปลงเป็นมนุษย์เพื่อมาบวช แต่เพราะเป็นผู้ที่จัดอยู่ในกลุ่มเดรัจฉาน จึงมีความไม่เจริญงอกงามในธรรมวินัยนี้.
พระผู้มีพระภาคจึงให้ไปรักษาอุโบสถ 8 ประการในวัน 14 ค่ำ, 15 ค่ำ และ 8 ค่ำแห่งปักษ์ จะสามารถทำให้เปลี่ยนอัตภาพเป็นมนุษย์ได้เร็วขึ้น.
ถ้าสัตว์เดรัจฉานตายแล้ว สามารถฟังธรรมเข้าใจ พระผู้มีพระภาคคงไม่ได้ให้นาคออกจากความเป็นภิกษุ ควรจะเป็นคำแนะนำในลักษณะที่ให้นาคนั้น ไปฟังธรรมเนืองๆ ทรงจำได้ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยความเห็น เพื่อจะได้อานิสงส์จากการฟังธรรม แทนที่จะให้ออกจากความเป็นภิกษุ แล้วไปรักษาอุโบสถ 8 ประการ.
แม้แต่ในผัคคุณสูตร ที่พระผู้มีพระภาคกล่าวกับท่านพระอานนท์ ปรารภเรื่องอินทรีย์ท่านผัคคุณะผ่องใสหลังจากเสียชีวิต ก็ยังกล่าวถึงอานิสงส์ที่ได้ในฟังธรรมขณะจะเสียชีวิต ไม่ใช่ฟังหลังจากเสียชีวิตแล้ว.
การที่ไปเปิดธรรมะให้ฟังหลังจากเสียชีวิต อันนี้ไม่มีในคำสอนพระผู้มีพระภาค และเรื่องตัวนิ่ม ตัวอ่อน ก็ไม่ได้มีในคำสอนพระผู้มีพระภาค.
ดังนั้น ที่เราคิดว่า ตัวเราเองจะศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนของพระผู้มีพระภาค สรุปแล้ว เราทำตามจริงหรือไม่ หรือทำตามๆ คนอื่น.
แม้กระทั่งธรรมะที่ผู้มีพระภาค และเหล่าพระสาวกแสดงให้คนเจ็บป่วยฟัง เราได้นำมาใช้อ่าน หรือเปิดให้ฟังหรือไม่ หรือเราไปใช้บทอื่น จากการกระทำของผู้ที่ไม่ใช่อรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
ฝากเนื้อความบางส่วนจากพระสูตร มาให้พิจารณากัน
"อย่าได้เชื่อถือ เพราะการฟังตามๆ กันมา
อย่าได้เชื่อถือ เพราะการกระทำตามๆ กันมา
อย่าได้เชื่อถือ เพราะการเล่าลือกันอยู่
อย่าได้เชื่อถือ เพราะการอ้างตำรา
อย่าได้เชื่อถือ เพราะการนึกเดาเอาเอง
อย่าได้เชื่อถือ เพราะการคาดคะเน
อย่าได้เชื่อถือ เพราะตรึกตามอาการ
อย่าได้เชื่อถือ เพราะตรงกับความเห็นของตน
อย่าได้เชื่อถือ เพราะเห็นว่าผู้พูดเป็นคนควรเชื่อได้
อย่าได้เชื่อถือ เพราะว่าสมณะนี้เป็นครูของเรา
กาลามะทั้งหลาย เมื่อใด เธอทั้งหลายพึงรู้ได้ด้วยตนเองว่า ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล ธรรมเหล่านี้มีโทษ ธรรมเหล่านี้อันผู้รู้ติเตียน ธรรมเหล่านี้อันบุคคลสมาทาน (ประพฤติ) ให้บริบูรณ์แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อไม่ใช่ประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความทุกข์ เมื่อนั้น เธอทั้งหลายพึงละธรรมเหล่านั้นเสียเถิด.
กาลามะทั้งหลาย เมื่อใด เธอทั้งหลายพึงรู้ได้ด้วยตนเองว่า ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ ธรรมเหล่านี้อันผู้รู้สรรเสริญ ธรรมเหล่านี้อันบุคคลสมาทาน (ประพฤติ) ให้บริบูรณ์แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข เมื่อนั้น เธอทั้งหลายพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้นอยู่เถิด."
เมื่อดูกรณีของเทวทัต จะเห็นว่า หากมีโอกาสที่จะช่วยเหลือได้ แม้เพียงเล็กน้อย พระองค์ก็จะช่วยเหลือ คือ
"...ตราบใดเราเห็นธรรมฝ่ายขาวของเทวทัต แม้เท่ารอยเจาะแห่งปลายขนทราย ตราบนั้นเราก็ไม่พยากรณ์เทวทัตว่า ‘เทวทัตจะต้องเกิดในอบาย ตกนรก ดำรงอยู่ตลอดกัป แก้ไขไม่ได้’..."
และเมื่อดูเรื่องใบไม้ในกำมือ ก็จะน่าจะพอเป็นแนวทางถือปฏิบัติต่อไปได้ คือ
"ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายเข้าใจความข้อนี้ว่าอย่างไร ใบสีสปาที่เรากำขึ้นมาหน่อยหนึ่งนี้ กับใบสีสปาที่ยังอยู่บนต้นสีสปาเหล่านั้น ส่วนไหนจะมากกว่ากัน.
ภันเต ใบสีสปาที่พระผู้มีพระภาคทรงกำขึ้นหน่อยหนึ่งนั้นเป็นของน้อย ส่วนใบสีสปาที่ยังอยู่บนต้นสีสปาเหล่านั้นย่อมมีมาก.
ภิกษุทั้งหลาย ฉันใดก็ฉันนั้น สิ่งที่เรารู้ด้วยปัญญาอันยิ่งแล้วไม่กล่าวสอนนั้น มีมากกว่าส่วนที่นำมากล่าวสอน ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุใดเราจึงไม่กล่าวสอนสิ่งเหล่านั้น ภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าสิ่งเหล่านั้น ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นเงื่อนต้นแห่งพรหมจรรย์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย ไม่เป็นไปเพื่อความคลายกำหนัด ไม่เป็นไปเพื่อความดับ ไม่เป็นไปเพื่อความสงบ ไม่เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง ไม่เป็นไปเพื่อความรู้พร้อม ไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน ดังนั้น เราจึงไม่กล่าวสอน."
ข้อมูลที่นำมาให้ ยังไม่ใช่ที่สุด เป็นเพียงพระสูตรประกอบความเห็นเท่านั้น
สุดแท้จะพิจารณากันนะครับ
ต้องเห็นโทษของกามให้มาก พิจารณาว่ากามเป็นอย่างไร เหตุเกิดของกามคืออะไร ความต่างของกาม วิบากของกาม และอุบายเครื่องสลัดออกจากกาม ตราบใดที่ผัสสายตนะยังมีอยู่กามต้องเกิดอยู่แล้ว แต่เราต้องกำหนดรู้ กามคุณ๕ ถ้าเรายังมีราคะ โทสะ โมหะ อยู่ เราก็ยังมีกามอยู่ กามเป็นทั้งสังโยชน์และเป็นทั้งนิวรณ์ ผู้ที่จะละกามได้อย่างเด็ดขาดไปได้ถึงอนาคามี เหมือนท่านฆฏิการะ ฆารวาสที่ยังอยู่ครองเรือนไม่สามารถที่จะละกามได้เด็ดขาด เพราะยังพอใจในรูป เสียง กลิ่น รส โผฐฐัพพะ อยู่ ฆารวาสต้องปฏิบัติตามขั้นตอนก่อนคือ อนุปุภิกถา คือ ทาน ศีล โทษของกาม แล้วมาเรียนรู้อริยะสัจ๔
ครับ / ต้องเห็นด้วยปัญญา เพื่อผลลัพธ์สุดท้าย อ้นจะเป็นเหตุให้เราละกามได้เด็ดขาด
ถึงแม้ว่า เราอาจะละกามไม่ได้เด็ดขาด แต่อย่างน้อยก็ยังพอสามารถละกามได้ในเวลาที่ควรละ, ไม่ทำอกุศลเพราะกาม, ไม่เบียดเบียนใครๆ เพราะกาม
กราบเรียนถามภันเตคะ
บุรุษผู้เป็นโรคเรื้อน หมายถึง บุคคลผู้ยังมีิวิชชา หลงในการเสพกามอยู่ ใช่ไมคะ
แต่พอหายจากโรค ด้วยการรมไฟ คือ มีวิชชาเกิดขึ้น จึงหลงจากการไม่ไปเสพกามอีก เพราะเห็นชัดรู้แจ้งในโทษของกามแล้ว เปรียบดั่งไฟ แม้ในอดีต ปัจจบัน อนาคต ก็ย่อมร้อนแบบนั้น กามก็ฉันนั้น เมื่อเสพกามอยู่ ย่อมเร่าร้อนแสบเผาอยู่
รบกวนสอบถามหน่อยครับพระอาจารย์🙏
เห็นอาทินวะของกามบ้าง แต่ยังพอใจในกาม ยังไม่เบื่อหน่าย แต่ละได้ชั่วครั้งชั่วคราว หรือ บรรเทาได้ รู้นิสสรณะ แบบนี้สามารถทำให้จิตตั้งมั่นได้บ้างไหมครับ
อันดับแรก ผู้ที่ละความพอใจในกามได้เด็ดขาด คือ อริยบุคคลขั้นอนาคามีขึ้นไป ดังนั้น หากเรายังไม่ถึงขั้นอนาคามี หากมีความพอใจในกามเกิดขึ้นมา ให้ทราบว่า เป็นเรื่องปกติ.
การละได้ชั่วคราว หรือบรรเทาความเร่าร้อนที่เกิดขึ้นเพราะกามได้ แสดงว่าเรามาถูกทางแล้ว หากเราสามารถละได้ในช่วงใด ก็จะเอื้อต่อการทำจิตให้ตั้งมั่นได้ในช่วงนั้น.
เราเป็นฆราวาสผู้ครองเรือน การที่มีความพอใจในกามบ้าง มันเป็นเรื่องปกติ เพียงแต่... อย่าทำให้มีมากจนกระทั่งเป็นทุกข์ หรือเกิดการเบียดเบียนตนเองและผู้อื่น พยายามให้มีปัญญาเห็นโทษของมันอยู่บ่อยๆ และทำสมาธิให้เป็นประจำ เพื่อไม่ให้กามมีอำนาจเหนือเรา จนชักจูงไปในทางอกุศล
เมื่อเราสร้างเหตุอย่างนี้ไปเรื่อยๆ การเบื่อหน่าย และคลายความพอใจในกาม ก็จะเกิดขึ้นเองได้ในที่สุดนะครับ
พิจารณาจากพระสูตรนี้ประกอบได้ครับ
"ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนไฟกองใหญ่ซึ่งลุกโพลงขึ้นได้ ด้วยไม้ ๑๐ เล่มเกวียนบ้าง ๒๐ เล่มเกวียนบ้าง ๓๐ เล่มเกวียนบ้าง ๔๐ เล่มเกวียนบ้าง บุรุษพึงใส่หญ้าแห้ง ใส่มูลโคแห้ง และใส่ไม้แห้ง ลงในไฟกองนั้นตลอดเวลาที่ควรเติมอยู่ทุกๆ ระยะ เมื่อเป็นอย่างนี้ ไฟกองใหญ่นั้น มีอาหารอย่างนั้น มีเชื้ออย่างนั้น ก็พึงลุกโพลงอยู่ได้ตลอดกาลนาน.
ภิกษุทั้งหลาย ฉันใดก็ฉันนั้น เมื่อภิกษุเพิจารณาเห็นโดยความเป็นของน่าพอใจเนืองๆ (อัสสาทะ) ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทานอยู่ ตัณหาย่อมเจริญ เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกปริเทวะ ทุกขโทมนัส และอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้."
"ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนไฟกองใหญ่ซึ่งลุกโพลงขึ้นได้ ด้วยไม้ ๑๐ เล่มเกวียนบ้าง ๒๐ เล่มเกวียนบ้าง ๓๐ เล่มเกวียนบ้าง ๔๐ เล่มเกวียนบ้าง บุรุษไม่ใส่หญ้าแห้ง ไม่ใส่มูลโคแห้ง และไม่ใส่ไม้แห้ง ลงในไฟกองนั้นตลอดเวลาที่ควรเติมอยู่ทุกๆ ระยะ เมื่อเป็นอย่างนี้ ไฟกองใหญ่นั้น เมื่อไม่มีอาหาร เพราะสิ้นเชื้อเก่า และเพราะไม่เติมเชื้อใหม่ ก็เป็นไฟที่หมดเชื้อแล้วดับไป.
ภิกษุทั้งหลาย ฉันใดก็ฉันนั้น เมื่อภิกษุพิจารณาเห็นโดยความเป็นโทษเนืองๆ (อาทีนวะ) ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทานอยู่ ตัณหาย่อมดับ เพราะความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน เพราะความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ เพราะความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ เพราะความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกปริเทวะ ทุกขโทมนัส และอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้."
หากปรารถนาไม่เกี่ยวข้องกับกามอีก หรือต้องการเอาชนะกามได้อย่างเด็ดขาด แนะนำว่า
ความเป็นฆราวาสไม่อาจทำได้อย่างสะดวก ต้องพิจารณาเรื่อง การปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือน บวชเป็นบรรพชิตนะครับ.
@@DhammaInYard ขอบพระคุณครับพระอาจารย์ 🙏
น้อมกราบสาธุเจ้าค่ะ🙏🌷
กราบสาธุค่า
🙏🙏🙏
กราบอนุโมทนาสาธุค่ะภันเตผุ้เจริญ💐🙏🙏🙏
🙏🙏🙏
สาธุสาธุค่ะ🙏🙏🪷🪷🪷