แรงเทียมคืออะไร? ทำไมเรียกแรงเทียม?

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 2 янв 2025

Комментарии • 119

  • @Anittha262
    @Anittha262 Год назад +1

    พี่ป๋องแป๋งโกนหนวดยังไงบ้างคะ ทำไมมันเกลี้ยงเกลาได้ขนาดนี้

  • @ten915
    @ten915 Год назад +2

    คิดถึงมากเลยครับ จารป๋องแป๋ง เริ่มกลับมาทำคลิปแล้วหรอครับ ผมชอบฟังคลิปในช่องพี่ป๋องแป๋งมากๆๆมากๆๆๆๆ

  • @MagicWaterNM
    @MagicWaterNM Год назад

    อยากฟังเรื่อง coriolis effect เพิ่มครับ

  • @tubtimthachang9845
    @tubtimthachang9845 Год назад

    สงสัยมานานดูคลิปนี้แล้วเข้าใจเลย❤

  • @nhui_pawarit
    @nhui_pawarit Год назад

    รู้จักแรงเทียมครั้งแรกจาก WiTcast นี่แหละครับ ตอนสัมภาษณ์พี่ยอ

  • @deathlung6037
    @deathlung6037 Год назад +1

    ฟังแล้วคิดตาม โครตสนุกครับ

  • @moonymoons
    @moonymoons Год назад +1

    ขอบคุณมากนะคะ ชอบฟังมากๆๆค่ะ

  • @chaichan2945
    @chaichan2945 Год назад

    ได้ความรุ้ดีคัฟ

  • @NattapongLipa
    @NattapongLipa Год назад

    อยากให้ไปเล่าให้พี่ฟ่างฟัง

  • @fujiwarakeiichi5882
    @fujiwarakeiichi5882 Год назад +2

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับจารย์

  • @tonklakung3928
    @tonklakung3928 Год назад

    ผมติดตามทุกEp. ใดๆในโลกล้วนฟิสิกส์
    นำเสนอได้น่าสนใจดีครับ

  • @theethee1838
    @theethee1838 Год назад

    อยากให้อาจารย์อธิบายเรื่องแรงที่ 5 ครับ

  • @palmyspecter
    @palmyspecter Год назад

    ฟังเพลินมาก แล้วก็มีการตัดต่อคลิปที่ดีขึ้นด้วยค่ะ

  • @shoundyStudio
    @shoundyStudio Год назад

    พี่ครับ เราสามารถสร้าง แรงโน้มถ่วงเทียมจากแรงหนีสูญกลางในทางทฤษฎี และเชิงปฏิบัตได้ไหมครับ

  • @jatuponwuttiwong6054
    @jatuponwuttiwong6054 Год назад

    อยากฟังเรื่องเกี่ยวกับกลศาสตร์ของไหล ครับอาจารย์
    พอดีผมทำงานอยู่ด้านนี้มาหลายปีแล้ว แต่ไม่เคยรู้ที่ไปที่มาจนเป็นสมการแบร์นูลีให้พวกผมได้ใช้กัน
    ขอบพระคุณล่วงหน้าครับ

  • @เม้าทิงนองนอย

    อาจารย์ครับ ไอสไตร์บอกว่าพระพุทธเจ้าเห็น คืออะไรครับ

  • @ตี๋ใหญ่-ฬ3ร
    @ตี๋ใหญ่-ฬ3ร Год назад

    สนุกมากครับ อาจารย์

  • @tanasanti9501
    @tanasanti9501 Год назад

    ฟังแล้วสนุกคิดดีค่ะ ดึงฟิสิกมาหาชีวิตประจำวัน 😊

  • @Little_elephent
    @Little_elephent Год назад

    ค่าพายใช้ทำอะไรครับ
    ใช้แปลงเลขฐาน 60 เป็นเลยฐาน 10 รึปล่าว
    ช่วยตอบหน่อยครับ อยากเข้าใจ จะได้ไม่ต้องจำ

  • @TheDevil6789
    @TheDevil6789 Год назад

    ผมสนใจอยากจะคุยเรื่องงทนกับคุณ

  • @themukye8066
    @themukye8066 Год назад

    โบซแบบไครัล คืออะไรครับ

  • @ณัฐพลแสนแล-ฝ4ฌ

    ติดตามครับ แต่อาจเป็นประโยชน์กับแฟนๆ The standard podcast ด้วยนะครับอาจารย์ แล้วเรื่องนี้ส่งผลกับจรวด ICBM อย่างไรบ้างครับอาจารย์

  • @gominchairatanangamdej9634
    @gominchairatanangamdej9634 Год назад

    ตอนผมเรียน ม.4 เรียนวิชากลศาสตร์บทแรก จับกลุ่มติวกับเพื่อน วัตถุมวล m อยู่บนรถมวล M เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง a ผมจินตนาการไปว่าจะมีแรงผลักวัตถุมวล m ให้ถอยหลังด้วยแรง F=ma แต่เพื่อนแย้งว่าแรงมันต้องไปในทิศทางเดียวกับความเร่งไม่ใช่หรือ? ตอนนั้นผมอธิบายไม่ได้แต่มั่นในใจว่าต้องคำนวณได้ด้วยสูตรนี้ ต่อมาอีก 2 ปี พวกเราเองเรียกกันว่า "แรงของความเฉื่อย" ซึ่งก็ไม่มีในตำราอีกนั่นแล่ะ ต่อมาเวลาผ่านไป 30 ปีคือวันนี้ ผมก็ได้คำตอบแล้วว่าแรงในจินตนาการของผมเรียกว่า "แรงเทียม" และผมชอบคำว่า Psudo-Force นี้มาก เพราะใช้คำว่า Psudo บ่อย, ขอบคุณมากครับ

  • @Dubaiboyy
    @Dubaiboyy Год назад

    สไตเปอร์ก็ต้องใช้หลักนี้ครับ

  • @mmCafeBom
    @mmCafeBom Год назад +1

    ไหนๆอาจารย์มาเรื่องแรงเทียมแล้ว อยากให้อาจารย์ขยายความฉาก Docking ของ Interstellar หน่อยครับ
    ปล.เป็นฉากที่ผมชอบที่สุดในหนังเรื่องนี้ครับ 😁😁😁

  • @A5ky
    @A5ky Год назад +2

    การปั่นผ้า ไม่ใช่แรงหนีศูนย์กลางเหรอครับ

    • @เทพพยากรณ์-อ8ฟ
      @เทพพยากรณ์-อ8ฟ Год назад

      ใช่นะ แต่ตอนที่น้ำหลุดจากผ้าจะเป็นแรงเทียม(ตามนิยามเขานะ)

    • @TheMoonho
      @TheMoonho Год назад

      แรงหนีศูนย์กลางไม่มีจริงไม่ใช่เหรอ มีแต่แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง แรงหนีดังกล่าวเกิดจากกรอบอ้างอิงที่น้ำบนผ้าได้รับจากการหมุน เคสที่ให้เห็นง่ายสุดคือคุณเอากล่องมาซ้อนกันแล้วลากกล่องล่างด้วยความเร่ง กล่องบนจะเคลื่อนที่ถอยหลัง หรือถ้าเรามีกล่องแข็งแล้วนำกล่องอีกใบใส่เข้ามาแล้วลาก ตอนเคลื่อนที่ด้วยความเร่งกล่องทั้งสองจะติกกันไปโดนกล่องอีกใบจะติดกับผนังกล่องที่เป็นกรอบอ้างอิง เมื่อกรอบอ้างอิงหยุดกะทันหัน กล่องในกรอบอ้างอิงจะเคลื่อนไปข้างหน้า แรงหลอกเกิดจากกรอบอ้างอิงทั้งสิ้น

  • @megamacdonal
    @megamacdonal Год назад

    แล้วแรงสปริง จัดเป็นแรงแบบไหนครับ?

  • @tinnagonsamen1432
    @tinnagonsamen1432 Год назад +1

    1:52 เหมือนเรากำลังทำให้ลูกปิงปองยังอยู่บนไม้ปิงปองที่เราขยับสวนทางของวัตถุ(ลูกปิงปอง)ให้มันอยู่ตรงศูนย์กลางที่เราพยายามให้มันอยู่ศูนย์กลาง น่าจะประมาณนั้นแรงที่กระทำต่อลูกปิงปองคือมือ(จุดเริ่มแรง)และจุดเริ่มต้นของแรงกระทำคืออะไรนั่นก็ขึ้นอยู่กับวัตถุ(วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาคืออนุภาคที่ดึงดูดกันและกันเสมอ)🙏💖🇹🇭☯️☸️🌏🌈♾️🚴‍♂️🚴‍♂️🚀🚀🦋🦋

    • @tinnagonsamen1432
      @tinnagonsamen1432 Год назад

      ระยะทางในการเดินและทฤษฎีวิวัฒนาการทั้งเอกภพและสิ่งมีชีวิตยังไงมันก็เคลื่อนที่🚴‍♂️🦋

  • @pongsatronlertrung7895
    @pongsatronlertrung7895 Год назад +1

    อาจารย์ครับ ในทางกฏหมาย อุบัติเหตุที่เกิดจากแรงเทียม ต้องได้รับโทษไหมครับ

    • @kritrueangcharak
      @kritrueangcharak Год назад

      ต้องไปดู ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 59 ครับ

    • @One-c1u
      @One-c1u Год назад +2

      ต้องดูที่คนขับ
      คนขับมีจุดประสงค์ว่าไง
      คนขับเห็นผลของการกระทำอยู่แล้ว
      ถ้าคนขับมีความต้องการที่จะให้เราตกลงจากรถ แล้วจะทำไงล่ะ
      แล้วมีคนมาบอกว่าคนขับไม่ผิด
      เพราะเกิดจากแรงเทียม
      ต้องโทษคนผู้โดยสารเพราะมีความเฉื่อยเอง
      ฟังดูแล้วมันก็แปลกๆ ไม่ค่อยสมเหตุสมผล มันไม่ค่อยเข้า

    • @pongsatronlertrung7895
      @pongsatronlertrung7895 Год назад

      @@One-c1u ครับจริงๆผมถาม ติดเล่นเองแหละ ผมก็มองว่า รถคันนั้นทั้งผู้โดยสาร และคนขับ ใครก็ตามที่กระทำกับรถคันนั้น ต้องรับผิดชอบผลกระทบที่เกิดกับคนอื่นๆที่อยู่ในรถคันนั้นด้วยกันหมดครับ

  • @BillionaireSe7eN
    @BillionaireSe7eN Год назад

    อยาก donate ครับ ❤

  • @wahoobear6588
    @wahoobear6588 Год назад +1

    Coriolis Force ส่งผลต่อ เมฆ ที่ลอยนิ่งๆ บนพื้นโลก หรือไม่ แล้วให้ผล เมฆ เคลื่อนที่อย่างไร

  • @kukiatkhamkhaw6046
    @kukiatkhamkhaw6046 Год назад

    ชอบ ครับ 👍

  • @Prasa_Yiaedin
    @Prasa_Yiaedin Год назад +2

    แรงกระทำในทางอ้อม ( ไม่ใช่โดยตรง ) แต่มันก็ต้องมีต้นกำเนิดแรงที่จะเอามาใช้ประกอบการเคลื่อนที่ให้กับตัวเทียบปฏิกิริยาของแรงกับวัตถุ ซึ่งในที่นี้ก็คือรถที่วิ่ง ซึ่งเป็นผู้สร้างแรงกระทำทางอ้อม เขาเรียกว่าแรงกระทำแปรผันกระทบต่อแรงเฉื่อยของมวล ( แรงเทียมซึ่งไม่ได้ทำการขับเคลื่อนต่อวัตถุนั้นโดยตรง ) แต่มันเป็นแรงที่สื่อสารกันระหว่างวัตถุสองสิ่งที่อยู่บนภาคของการเคลื่อนที่เดียวกันจะด้วยอันไหนเป็นฝ่ายเคลื่อนที่ก็ตามถ้าค่าศักดาของแรงยึดที่เกิดขึ้นของฝ่ายที่ไม่ใช่ฝ่ายเคลื่อนที่นั้นมีมากกว่าจะด้วยเพราะขนาดหรือน้ำหนักของมันก็ตาม ปรากฏการณ์ของแรงเทียมที่เกิดจากอีกฝ่ายก็จะแปรผันไปตามค่าที่ไม่สามารถผันแปรของวัตถุนั้นที่มีทั้งขนาดและน้ำหนักที่ขัดกับปัจจัยของค่าแปรผันของแรงเทียม ซึ่งแรงกระทำของการผลักให้วัตถุเคลื่อนที่ตามการเคลื่อนที่ของมันจะไม่พอเพียงและจะไม่สามารถที่จะทำให้วัตถุนั้นมันเคลื่อนออกไปตามแรงเฉื่อยของมันได้ เช่นเอาผ้าชุบอะไรที่เหนียวมากๆมีแรงยึดเกาะผ้าสูงๆแทนการชุบน้ำแล้วไปเหวี่ยงในเครื่องปั่นแห้ง หรือเอาแท่งเหล็กหนักหลายๆตันไปวางไว้บนรถเมล์แล้วให้วิ่งกระชาก มันจะไม่เกิดผลอะไรถ้าปัจจัยของแรงต้นของการเคลื่อนที่มันมีไม่เพียงพอ

  • @comecotadazz4457
    @comecotadazz4457 Год назад +2

    ลงดึกจังครับ

  • @ArnonKingdragon-vf4vu
    @ArnonKingdragon-vf4vu Год назад

    ผมอยากฟังนเ้ำขึ้นนเำลงทำไมถึงดุดน้ำได้

  • @koy173
    @koy173 Год назад

    ช่วงนี่ผมโดนเล่าเรื่องไสยศาสตร์บอยผมไม่เชื่อแต่กลัวว่าจะมีจริงทำไม??

  • @Man_U.0770
    @Man_U.0770 Год назад +2

    ชอบที่อาจารย์เปรียบเทียบ มันทำให้เข้าใจมากขึ้น แต่ฟังแล้ว เหมือนจะเข้าใจ😅
    รู้สึกแรงเทียมมันขัดแย้งกับหลัก"เหตุและผล"ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้น ล้วนเกิดแต่เหตุ อยู่ๆมันเกิดขึ้นเอง โดยไม่มี(เหตุ)คู่กรณี ฟังดูแปลกๆ เมื่อหาเหตุไม่ได้ ก็ไม่ต่างอะไรกับไสยศาสตร์ ?

    • @TheMoonho
      @TheMoonho Год назад +4

      เกิดจากกรอบอ้างอิงหรือเปล่าครับ แรงหลอกหรือแรงเทียมเกิดจากการวัดของคนบนกรอบอ้างอิงที่แตกต่างกัน มอปลายเราเรียนการชั่งน้ำหนักบนลิฟต์ที่ขึ้นด้วยความเร่งมาแล้วครับ หลายคนมองว่าแรงปฎิกิยาที่พื้นเปลี่ยนไปแต่จริงๆคนสองกรอบวัดแรงปฎิกิริยาที่พื้นได้ต่างกัน คนบนพื้นจะเห็นว่าลิฟต์เคลื่นที่ดังนั้นแรงปฎิกิริยาที่พื้นของคนบนพื้นจะแตกต่างกับคนบนลิฟต์ที่ไม่รู้ตัวว่าเคลื่อนที่ แต่เมื่อเอาค่าแรงปฎิกิริยาทั้งสองมาลบกันเราจะได้ว่าแรงจากลิฟต์ที่ทำให้คนทั้งสองวัดแรงปฎิกิริยาที่พื้นได้แตกต่างกัน แรงหลอกเกิดจากคนบนลิฟต์ที่ไม่รู้ตัวว่าเคลื่อนที่ทำให้กฎของนิวตันหรือการคำนวณต่างๆนั้นแตกต่างจากคนที่อยู่บนกรอบพื้น

    • @CasperWee
      @CasperWee Год назад

      @@TheMoonho ขออนุญาตแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมจากคุณ
      @user-by1ue1hf5y ว่า จริงๆแล้วด้านหนึ่งอาจจะมองได้ตามที่คุณ user มองเลย และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันก็มองได้ตามที่อาจารย์มอง ทั้งสองทางไม่ได้ผิดอะไรเนื่องจากเป็นการมองคนละด้านคนละมุม อย่างที่คุณ @TheMoonho ได้แสดงความคิดเห็นตอบกลับคุณ user เอาไว้ แต่ที่เราอยากจะเพิ่มเติมคือ การบอกว่าเป็นแรงเทียม หรืออนุภาคเสมือน หรืออะไรก็ตามที่นักวิทยาศาสตร์หยิบขึ้นมาลอยๆที่ฟังดูแล้วไม่มีที่มาที่ไป แต่ถ้ามองตามที่คุณ themoon ก็จะเห็นได้ว่าทุกสิ่งทุกอย่างมันมีคำตอบอยู่ในตัวของมันเองอยู่แล้ว ซึ่งนี่คือ กับดักของความรู้และความไม่รู้ที่มีความต่อเนื่องและความไม่ต่อเนื่องระหว่างพลังงานคลาสสิกและพลังงานควอนไตซ์ ที่ด้านหนึ่งนักวิทยาศาสตร์หยิบยกเอาแรงเทียม อนุภาคเสมือนหรืออื่นๆขึ้นมาจากความว่างเปล่าก็เพื่อที่จะสนับสนุนการมีอยู่ของข้อมูลหลัก พูดง่ายๆคือ เอาง่ายและเห็นผลเร็วเข้าว่าโดยไม่จำเป็นต้องไปค้นหาต้นขั้วของแรงเทียมหรืออนุภาคเสมือนเหล่านั้นเมื่อนักวิทยาศาสตร์พูดคนก็จะเชื่อตามนั้นโดยความเชื่อที่ว่านี้ดันมีข้อมูลที่ตามที่คุณ themoon แสดงความคิดเห็นเอาไว้มาสนับสนุนความเชื่อนั้นของนักวิทยาศาสตร์เข้าไปอีกจึงทำให้ทุกคนทุกท่านต่างก็ติดกับดักข้อมูลข้อมูลทั้งสองด้าน นี่คือสาเหตุหลักที่ทำให้ไม่มีใครเข้าถึงพลังงานลบที่มีการซ้อนทับและพัวพันกันอยู่ภายใต้พลังงานบวกอย่างแนบเนียนจนเป็นเนื้อเดียวกันหรืออยู่ภายใต้ข้อมูลทั้งสามด้านหรือที่อาจารย์บอกมันเรียกแรงเทียม ที่คุณ user บอกว่า ไม่ต่างอะไรกับไสยศาสตร์ และตามข้อมูลที่คุณ themoon ตอบกลับ ทั้งสามส่วนนี้ต่างก็อยู่ภายใต้พลังงานบวกที่มีความต่อเนื่อง ที่เมื่อนำทั้งหมดมารวมเข้าด้วยกันก็จะเห็นได้ว่า มันมีคำตอบอยู่ภายในตัวของมันเองอยู่แล้ว ดังนั้นจึงไม่มีใครให้ความสนใจไปค้นคว้าที่มาที่ไปของแรงเทียมหรืออนุภาคเสมือนให้ลึกซึ้งมากขึ้นไปอีก ซึ่งการจะเข้าถึงที่มาที่ไปของแรงเทียมหรืออนุภาคเสมือนก็เปรียบได้กับการเดินเข้าไปในไสยศาสตร์หรือความไม่รู้ไปสู่ความรู้ที่อยู่อีกด้านหนึ่งหรือก็คือการค้นพบพลังงานลบที่สามารถให้คำตอบที่ครอบวงจรและน่าเชื่อถือมากกว่าการหยิบยกขึ้นมาลอยๆที่ด้านหนึ่งอาจมองดูเหมือนจะเติมเต็มข้อมูลหลักได้ แต่จริงๆแล้วก็ยังไม่มีใครรู้ที่มาที่ไปที่แน่นอนอยู่ดี ง่ายและเร็วไม่ได้ดีเสมอไป ยากและช้าก็ไม่ได้แย่เสมอไป ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนมีสองด้านคือ ด้านที่มีความต่อเนื่องและไม่มีความต่อเนื่อง และด้านที่ไม่มีความต่อเนื่องและมีความต่อเนื่อง ทั้งสองส่วนนี้เป็นการแสดงคุณสมบัติระหว่างอนุภาคและคลื่นที่ด้านที่อยู่ภายใต้พลังงานบวกที่มีนักฟิสิกส์ออกมาบอกว่า จะไม่แสดงคุณสมบัติทั้งสองด้านพร้อมๆกัน แต่อีกด้านหนึ่งที่อยู่ภายใต้พลังงานลบ (ที่เราค้นพบ) จะมีการแสดงคุณสมบัติทั้งสองด้านพร้อมๆกัน ที่ต่อมาเราก็ไปพบข่าวที่บอกว่า นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า เวลามีการเดินและถอยหลังพร้อมกันกัน

    • @TheMoonho
      @TheMoonho Год назад

      @@CasperWee ขออนุญาติถาม พลังงานลบนิยามจากอะไร พลังงานบวกนิยามจากอะไร พลังงานลบทำให้วัตถุเคลื่อนไปในทิศทางใดของความเร่ง หรือพลังงานลบถูกนิยามโดยอย่างอื่น ยกตัวอย่างพลังงานลบมาให้ดูหน่อย ถ้าบอกว่าแรงเทียมเกิดมาลอยๆหรือไม่มีที่มาที่ไปจงอธิบายว่าวัตถุที่อยู่บนกรอบอ้างอิงที่ความเร็วคงที่ทำไมจึงไม่ได้รับแรงเทียม เงื่อนไขและที่มาของแรงเทียมน่าจะชัดเจนว่าจะได้รับหรือเกิดขึ้นต่อเมื่อมีกรอบอ้างอิงที่มีความเร่งหนิ หรือแรงเทียมสามารถเกิดจากกรอบอ้างอิงอื่นๆได้ ดังนั้นถ้าเราจะติต่างเอาว่าแรงเทียมมันเกิดขึ้นมาจากกรอบอ้างอิงก็ถูกละหนิ หรือมีการนิยามแรงเทียมเอาไว้ในรูปแบบอื่นๆด้วย ยกตัวอย่างแรงเทียมที่เกิดในรูปแบบอื่นๆมาหน่อยครับ

    • @CasperWee
      @CasperWee Год назад

      @@TheMoonho
      ถ้าหากมองตามกายภาพภายนอกของความเร่งและความเฉื่อยแล้วคุณจะเห็นว่าสองอย่างนี้อยู่ในกรอบอ้างอิงที่แตกต่างกัน หรือเป็นเหรียญคนละเหรียญกันที่เป็นไปตามทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ พิจารณาเฉพาะข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องกับแรง (ความเร่ง) และทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไป ขยายขอบเขตการพิจารณารวมถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแรง (ความเร่ง) ของไอน์สไตน์ แต่ถ้าหากมองตามกฎพื้นฐานของฟิสิกส์ที่เรียกว่า CPT Symmetry หรือหลักการสมมาตรของประจุ อนุภาค และเวลา ที่จะต้องมีคู่ตรงข้ามอยู่เสมอ จะเห็นได้ว่าเราสามารถมองว่าความเร่งและความเฉื่อยเป็นเหมือนเหรียญคนละเหรียญหรือเป็นสองด้านของเหรียญเดียวกันก็ได้แล้วแต่คนจะมอง แต่หลักการเติมเต็มบอกว่า การมองว่าเป็นอนุภาคหรือคลื่นอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่สามารถทำให้ระบบความรู้ความเข้าใจของคนเราเกิดมีความสมบูรณ์ได้ เราจำเป็นต้องมองให้เห็นทั้งสองทางคือ ทั้งความเร่งและความเฉื่อย และทั้งความเร่งที่มีความเฉื่อยอยู่ หรือความเฉื่อยที่มีความเร่งอยู่ และมองให้เห็นความเป็นอนุภาค-คลื่น หรือคลื่น-อนุภาคที่ซ่อนอยู่ภายใต้ความเร่งและความเฉื่อย ที่มันจะบอกคุณโดยตัวของมันเองว่าขณะนี้มันกำลังแสดงคุณสมบัติด้านใดและกำลังไปในทิศทางใด เป็นพลังงานลบหรือพลังงานบวก แต่คุณจำเป็นต้องรู้รหัสที่จะเข้าถึงการแสดงคุณสมบัติเหล่านั้น หรือทางที่ง่ายกว่าก็คือเข้าทาง โปรตอนกับปฏิโปรตอน (บวกลบ) อิเล็กตรอนกับโพซิตรอน (ลบบวก)
      ยกตัวอย่างพลังงานลบมาให้ดูหน่อย จริงๆแล้วในคำถามนี้จะมีทั้งพลังงานลบและพลังงานบวกอยู่สองส่วนในตัวคำถามเองคือ มีทั้งพลังงานลบและพลังงานบวกเท่าๆกันและไม่เท่ากัน แล้วคนที่ให้คำตอบกับคุณได้ดีที่สุดว่าคุณกำลังอยู่ในพลังงานบวกหรือพลังงานลบในตอนนี้ก็คือตัวคุณเอง แต่ที่แน่ๆคือคุณไม่ได้อยู่ภายใต้พลังงานลบและพลังงานบวกที่มีเท่ากัน แต่คุณอยู่ด้านที่ไม่เท่า ซึ่งทำให้คุณเกิดมีคำถาม และเกรงว่าคำตอบของเราจะพาคุณเข้าสู่โลกควอนตัมที่มีความยุ่งเหยิง มากกว่าที่จะพาคุณกลับเข้าสู่โลกคลาสสิก ต้องขออภัยมาณ.ที่นี้ด้วย

    • @TheMoonho
      @TheMoonho Год назад

      @@CasperWee ไม่เห็นภาพอยู่ดี และไม่เข้าใจ พลังงานด้านลบไม่แน่ใจว่าที่กล่าวคืออะไร ความเฉื่อยที่กล่าวคือมวลหรือความเร่ง ยิ่งอ่านยิ่งทำผมสับสน มวลจะอยู่คนละกรอบกับความเร่งเหรอ แล้วจะมาคิดด้วยกันทำไมถ้ามวลไม่เข้ามาในกรอบของความเร่ง ไม่มีวิธีการอธิบายที่ง่ายและสั้นกว่านี้แล้วเหรอครับ ในกลศาสตร์คลาสสิกพลังงานมีค่าเป็นลบคือวัตถุจะเคลื่อนที่สวนทางกับความเร่ง ในทางควอนตัมผมไม่ได้แม่นมากจึงไม่ขอเข้าไปยุ่ง แต่ถ้าการอธิบายแรงหลอกรวมถึงพลังงานถูกนิยามในคลาสสิกกับควอนตัมแตกต่างกันผมคงแย้งไม่ได้ แต่คำถามคงมีอยู่ว่าทำไมไม่นิยามศัพท์ใหม่ หรือมีการพิสูจน์แล้วว่าคลาสสิกที่ใช้คือส่วนหนึ่งเท่านั้นซึ่งเกิดคำถามว่าวัตถุในคลาสสิกทำไมไม่ประพฤติตัวแบบในควอนตัม

  • @krissadabergbarn578
    @krissadabergbarn578 Год назад

    สรุปทั้งหมดทั้งมวล มีแค่ความสัมพันธ์​ระหว่างแรงเฉื่อยกับความเร่งแค่นั้น แรงเทียมไม่มีจริงซักนิด เพราะถ้าสืบต้นตอจริงๆ มันก็เกิดจากแรงแค่สองอย่างนี้เท่านั้น ส่วนแรงเทียมที่ว่าดังๆอย่าง อย่างcentifulgel มันก็เกิดจากความเร่งที่มีทิศทางมากกว่า1กระทำต่อวัตถุ จึงเกิดปรากฎการณ์​ง่ายๆอย่าง action=reactionแบบเชิงมุม

  • @chaleevaj
    @chaleevaj Год назад

    โลกหมุนรอบตัวเองด้วยอัตราความเร็วเชิงเส้น 1667 กม./ชม. หรือ~463 ม/นาที ณ แนวเส้นศูนย์สูตรหรือแนวเส้นรุ้ง 0 องศา แต่ที่่แนวเส้นรุ้งสูงขึ้นความเร็วเชิงเส้นจะน้อยลงไปเรื่อยๆ

  • @mamamamammammam878
    @mamamamammammam878 Год назад

    ลงคลิปอาทิตละครังได้ไหมครับ ❤

  • @YutthanaFathet-kt6gd
    @YutthanaFathet-kt6gd Год назад

    ถ้าหากเรากระโดดลอยตัวบนอากาศได้นาน 24 ชั่วโมงและโลกในจุดทึ่เรากระโดดขึ้นอยู่ก็หมุนไปหนึ่งรอบครบ 24 ชั่วโมงเราก็ตกลงมาเราก็อยู่ที่เดิมใช่ไหมครับ

  • @nvttatrieampanich1592
    @nvttatrieampanich1592 Год назад +3

    ตอนเรียนฟิสิกส์ม.ปลาย 3 ปี จำไม่ได้เลยครับว่ามีคำว่าแรงเทียมด้วย เหมือนพึ่งเคยได้ยินนี่แหละ 😅

    • @TheMoonho
      @TheMoonho Год назад

      ได้เรียนการชั่งน้ำหนักบนลิฟต์หรือเปล่าครับ ข้อสอบpatออกประจำแรงเทียม เช่น ปล่อยกล่องจากพื้นเอียงถามความเร็วของพื้นเอียง สปริงในลิฟต์ การวัดเพนดูลัมบนรถที่เคลื่อนที่ ถ้าคุณไม่ได้เรียนถือว่าขาดทุนต้องโทษครูที่สอนไม่ดีหรือข้ามการสอนเนื้อหาในส่วนนี้ไป เว้นแต่คุณจะไม่ใช่สายวิทย์

    • @nvttatrieampanich1592
      @nvttatrieampanich1592 Год назад +2

      @@TheMoonho รุ่นสอบ Entrance ครับ ไม่เคยเจอคำว่าแรงเทียม แต่คุ้นๆคำว่าแรงเสมือน ซึ่งก็นานมากจนเกือบลืมคำนี้ไปแล้วถ้าไม่มาเจอคำว่าแรงเทียม 😆

    • @TheMoonho
      @TheMoonho Год назад

      @@nvttatrieampanich1592 อ้อครับ เกิดไม่ทันยุคนั้นครับเลยไม่ทราบเขาเรียกอะไรหรือเรียนไหม แต่แอบตกใจกลัวว่าขาดทุนทำข้อสอบไม่ได้เพราะไม่เคยเรียน มันกำหนดอนาคตเลย ที่เรียนพิเศษย้ำประจำเลยคิดว่าไม่เคยแต่ต้องคุ้นบ้างเพราะมันออกสอบติดกันมาช่วงสองสามปีในรุ่นที่ผมสอบล่ะครับ ตอนนี้ไม่ทราบข้อสอบเป็นไงครับ ผมสอบ pat2 pat3 มั้ง ข้อสอบวิชาสามัญก็เคยออกครับ onet ก็มีบางปีแต่ไม่บ่อย มันเลยถูกเน้นย้ำแบบพิเศษใส่ไข่เลย

    • @wongtong8735
      @wongtong8735 Год назад

      @@TheMoonhoโห pat onet เลยหรือครับ
      นี่เอ็นทรานซ์รุ่นก่อนสุดท้าย ไม่ทันจริงๆ
      แต่คุ้นๆ ว่ามีแรงเทียม

    • @TheMoonho
      @TheMoonho Год назад

      @@wongtong8735 ครับ สมัยนี้ออกลึก ผมไปค้นจากที่ผมโหลดเก็บไว้มาให้
      onetปี60
      วิชาสามัญ ธ.ค.59
      วิชาสามัญ ธ.ค.58
      วิชาสามัญ ธ.ค.57
      Pat3 ต.ค. 52
      Pat3 มี.ค. 52
      Pat2 มี.ค. 53
      Pat3 ต.ค. 59
      เริ่มเวียนหัวละต้องไล่ดูทีละข้อ เผื่อตัวผมผิดเลยไปลองค้นดูครับว่าออกจริงหรือผมมโนไปเอง ได้ข้อมูลเท่าที่รับุ ผมขอพอแค่นี้นะครับ ต้นไหทไหวละ ห้าๆๆ

  • @tanasanti9501
    @tanasanti9501 Год назад +1

    ซ้อนท้ายมอไซ หล่นเองไม่มีใครทำ มีงี้ด้วย ในทฤษฎีฟิสิก

  • @pinitchannel1682
    @pinitchannel1682 Год назад +4

    เม้นแรกครับ

  • @fjkhgihv3826
    @fjkhgihv3826 Год назад +1

    สรุปแล้ว แรง G กับ แรงเทียมเหมือนกันใช่มั้ยอาจารย์ เพราะเหมือนว่าแรงเทียมที่อาจารย์พูดมา มันเหมือนเป็นแรง G นะครับ

    • @เทพพยากรณ์-อ8ฟ
      @เทพพยากรณ์-อ8ฟ Год назад

      ใช่ก็ใช่

    • @TheMoonho
      @TheMoonho Год назад

      ใช่แน่เหรอ มันคือการวัดของกรอบที่แตกต่างกันหนิ เช่น ชั่งน้ำหนักในลิฟต์ที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง คนในลิฟต์ไม่รู้ตัวว่าตนเคลื่อนที่ดังนั้นทำให้เกิดการคำนวณที่แตกต่างจากคนบนพื้น ผมยังสงใสว่าคนทำคลิปบอกว่าการยิงปืนใหญ่ข้ามทวีปจะต้องคำนวณเรื่องนี้ไปด้วย ถ้าเราใช้การวัดและการคำนวณโดยกฎของนิวตันบนโลก ไม่ใช่นอกโลก จะคิดแรงหลอกทำไม ?? เว้นแต่เราจะวิเคราะห์จากนอกโลก สงใสมากๆ

    • @เทพพยากรณ์-อ8ฟ
      @เทพพยากรณ์-อ8ฟ Год назад

      มันเหมือนผักกะผลไม้ต่างกันยังไงแหละ ต่างก็ต่างไม่ต่างก็ไม่ต่าง ได้หมด

    • @เทพพยากรณ์-อ8ฟ
      @เทพพยากรณ์-อ8ฟ Год назад

      แรงgไม่ใช่แรงกระทำตรงๆตามนิยามเขา แรงgก็แรงเทียมเลย

    • @TheMoonho
      @TheMoonho Год назад

      @@เทพพยากรณ์-อ8ฟ มีประเด็นเพียงแต่เคสเดียวซึ่งผมลืมนึกไป คือเคสแรงโน้มถ่วงที่วัดไม่ได้เท่ากันในแต่ละแห่งซึ่งเกิดจากการหมุนของโลก ซื่งแรงดึงดูดระหว่างมวลมีค่าเดียวเสมอ(G) แต่แรงโน้มถ่วงในนิยามที่คุณจะกล่าวคือแรงดึงดูดระหว่างมวลที่ตำแหน่งหนึ่งกับแรงจากกรอบอ้างอิง(g) แต่ถ้าเราจะเอาละเอียดขนาดนั้นเลยเหรอ ไม่ได้อยู่วงการทหารจึงไม่ทราบว่ามีผลมากไหม แต่จะคิดแบบนั้นก็ได้

  • @Pr3mmz
    @Pr3mmz Год назад +1

    สำหรับทางทหารในการคำนวนการยิงปืนใหญ่ มีการใส่ตัวแก้จากการหมุนของโลกอยู่ครับ ถึงจะเป็นเลขหลักทศนิยม แต่ก็มีผลต่อการคำนวนมุมยิงอยู่บ้าง สำหรับปืนใหญ่ที่ยิงหลัก10 กิโลเมตรขึ้นไป

    • @ประหยัดคหบดีกนกกุล
      @ประหยัดคหบดีกนกกุล Год назад

      เห็นยูเครน ยิงปืนใหญ่ เขาใช้พิกัด แม่นมาก

    • @Pr3mmz
      @Pr3mmz Год назад

      @@ประหยัดคหบดีกนกกุล ของไทยไอ้การคำนวนบนกระดาษแล้วใช้ตัวแก้ต่างๆ ทั้งการหมุนของโลก สภาพอากาศ แรงลม อุณหภูมิ ความกดอากาศ ก็ใช้พิกัดเนี่ยแหละครับ ซึ่งอันนี้คือพื้นฐานที่ต้องเรียนกันให้รู้ แต่พอถึงเวลาจริง มีโปรแกรมคำนวนให้ใช้กัน
      ปืนใหญ่ซีซาร์จากฝรั่งเศสที่ไปเฉิดฉายที่เขาพระวิหารเมื่อปี54 ก็ป้อนพิกัดยัดได้เลยเหมือนกัน

  • @ปูทะเลยักษ์
    @ปูทะเลยักษ์ 16 дней назад

    แรงก็คือแรง ยอมรับความจริงสิครับ จะได้ไม่ต้องคิดว่าเป็นแรงเทียม ^_^

  • @chaleevaj
    @chaleevaj Год назад

    มันคือแรงปฏิกิริยาไม่ใช่หรือครับ

  • @หนึ่ง-ธ6ม
    @หนึ่ง-ธ6ม Год назад

    ผมเข้าใจผิดมาตลอด ว่าน้ำออกจากผ้าเพราะแรงหนีศูนย์กลาง😅

  • @KritsadaIambuntrik
    @KritsadaIambuntrik Год назад

    แรงเทียม เกิดจากการที่กินกระเทียมเข้าไปมาก แล้วไม่ได้แปรงฟันบ้วนปาก ทำให้เวลาไปคุยกับใครต่างก็ได้กลิ่นกระเทียมจากช่องปากแล้วต่างก็บอกว่า แรงเทียมนะเนี่ย

  • @gritsooooooooo
    @gritsooooooooo Год назад

    รู้จักแต่ครูเทียม

  • @nonstop8E8
    @nonstop8E8 Год назад

    ดังนั้น:. เปลือกโลกก็มีแรงเทียมเมื่อเทียบกับแกนโลก

  • @poolmool1583
    @poolmool1583 Год назад

    มีผู้รู้ในคอมเมนต์เยอะมากเลย😁😁😁

  • @adisonpongkun8282
    @adisonpongkun8282 Год назад

    แรงหนีจุด0กลาง

  • @tortor4818
    @tortor4818 Год назад

    นึกว่าโดน the stand ซื้อตัวไปแล้ว

  • @TheNitichai
    @TheNitichai Год назад

    ไม่เคยได้ยินตอนเรียน รู้แค่ความเฉื่อย

  • @bright9644
    @bright9644 Год назад

    👍

  • @sukhumkitdon3633
    @sukhumkitdon3633 Год назад

    กิน(กระ)เทียมแล้วมีแรง..เลยเรัยกแรง(กระ)เทียม😂😂

  • @S13E31
    @S13E31 Год назад

    ❤❤❤❤

  • @ttkallon0950
    @ttkallon0950 Год назад

    🎉

  • @Kriengkrit
    @Kriengkrit Год назад

    ทฤษฎีสัมพันธภาพ

  • @kitchuteoumsatit4198
    @kitchuteoumsatit4198 Год назад

    เหมือนแรงเฉื่อย

  • @axemusic4971
    @axemusic4971 Год назад

    งง

  • @narongtacomkaw3877
    @narongtacomkaw3877 Год назад

    วิท ป.3 ป่าวจาน