ขึ้นอยู่กับชนิดของรีเลย์ครับ ว่าเป็นรีเลย์ชนิด ac หรือ dc แต่ชนิดที่สอนในคลิปเป็น รีเลย์ชนิด 220v ac และสำหรับ AC นั้นก็จะมีอีก 12vac / 24vac ครับ นิยมใช้กับโหลดที่อยู่ในพื้นที่ชื้น และเสี่ยงต่อการเกิดไฟรั่ว จึงจำเป็นต้องลดแรงดันลงเพื่อความปลอดภัยครับ
คำตอบคือ: หน้าสัมผัสจะทำการตัดต่อตามปกติเลยครับ จากการรับไปที่เข้ามาที่คอยล์รีเลย์ ขา13-14 แต่จะไม่มีแหล่งจ่ายที่จะส่งแรงดัน ไปถึงขา NO และ NC ครับ โหลดก็จะไม่สามารถทำงานได้ตามเงื่อนไขครับ เราต้องหาแหล่งจ่าย (จะเป็น AC หรือ DC ขึ้นอยู่กับโหลดที่จะนำไปต่อใช้) เข้าไปที่ขา common ด้วยครับ
หากเป็นประโยชน์ ขอกำลังใจให้คนละ 1Like👍 1Subscibe นะครับ เพื่อให้ผมทำเนื้อหาที่มีประโยชน์มาให้ความรู้เรื่อยๆนะครับ 🙏
มีประโยชน์มากครับดูง่ายเข้าใจง่าย
ขอบคุณมากครับพี่ ได้ความรู้ก่อนเข้าห้องเรียนครับ วันนี้ผมกำลังจะเรียนเรื่องนี้อยู่พอดีครับ😊
ยินดีครับ
ขอบคุณมากครับ
ยินดีครับ
ขอชื่นชมอาจารย์ในการเตรียมอุปกรณ์ในการสอน และคำอธิบายชัดเจน.. ครับ
อาจารย์ครับ.. การนำรีเลย์ไปต่อกับแมกเนติกคอนแทคเตอร์คอนแทคเตอร์ในวงจรสลับไฟสองแหล่งจ่าย ขอคำแนะนำว่าควรใช้ Omron รุ่นใด.. ครับ
อุปกรณ์ที่จะเลือกใช้ หมายถึง รีเลย์ หรือ แมคเนติค ครับ
อธิบายเข้าใจง่ายมากครับพี่ สุดยอด
ขอบคุณครับ
ขอบคุณมากครับ ให้ความรู้ได้ละเอียดดีมากๆ ครับ
Like แล้ว Share แล้วครับ และ Subscribed แล้วด้วยครับ
@@tiger.R.lamboy ยินดีครับผม ❤️
อยากได้แบบ พลังงาน 2 ทางครับ
Thank you ❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤
ยินดีครับ
ติดตามแล้วครับอธิบายเข้าใจง่าย
ขอบคุณครับ 🙏🏻
เข้าใจง่าย ขอบคุณครับ
ยินดีครับ❤
ทำเรื่อยๆน่ะครับ ขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ
ถ้าเอามาควบคุมมอเตอร์ สายคาปาต้องเข้าแบบไหนคับ
ขอบคุณครับ
ยินดีครับ❤
ต้องป้อนไฟac หรือdc เมื่อเทสดีเสรยครับ เป็นประโยน์ชมาก สำหรีบผู้เรียนรู้แรกเริ่มคีบ
ขึ้นอยู่กับชนิดของรีเลย์ครับ ว่าเป็นรีเลย์ชนิด ac หรือ dc แต่ชนิดที่สอนในคลิปเป็น รีเลย์ชนิด 220v ac และสำหรับ AC นั้นก็จะมีอีก 12vac / 24vac ครับ
นิยมใช้กับโหลดที่อยู่ในพื้นที่ชื้น และเสี่ยงต่อการเกิดไฟรั่ว จึงจำเป็นต้องลดแรงดันลงเพื่อความปลอดภัยครับ
สอนแบบนี้เข้าใจง่ายดีครับ
@@sawaianuta4422 ขอบคุณครับ
เยี่ยมเลยครับ
ขอบคุณครับ
แล้วถ้าดีเลขาดควรเช็คขาไหนครับ
ซื้อมา งงๆอ้าวเปิดมาเจอตรงรุ่นที่ซื้อมาเลย ขอบคุณครับ
@@TarzanBadman ยินดีอย่างยิ่งครับ
ถ้าใช้ C9 แล้วหลอดเขียว ใช้ NO(5)
แล้วหลอดแดง เราใช้ NC(1) ได้มั้ยครับ ไม่ต้องย้ายไป NC(3)
หากต่อขา com ที่ขั้ว 9 ก็สามารถใช้ nc ขั้ว1 ได้เลยครับ
ที่ตัวอย่าง ต่อหลอดแดงที่ nc 3 เพราะว่าผมต่อ com ที่ขั้ว11 ไว้แล้วครับ สังเกตดูผมพ่วงจากขั้ว9 มาครับ 😊
ไม่ต่อไฟ(L) เข้า Common , ต่อไฟเข้าที่จุด 13(L) ,14(N) อย่างเดียว , เมื่อเปิดปิดสวิทช์จ่ายไฟ (13) , การตัดต่อของหน้าสัมผัส NO และ NC ยังทำงานได้ตามปรกติหรือเปล่าครับ (ในกรณีนี้ เพื่อต้องการใช้ relay เฉพาะในการตัดต่อวงจร โดยไม่ต้องการกระแสไฟฟ้า เช่น การกดเปิดปิดประตูรั้วรีโมท)
คำตอบคือ: หน้าสัมผัสจะทำการตัดต่อตามปกติเลยครับ จากการรับไปที่เข้ามาที่คอยล์รีเลย์ ขา13-14
แต่จะไม่มีแหล่งจ่ายที่จะส่งแรงดัน ไปถึงขา NO และ NC ครับ โหลดก็จะไม่สามารถทำงานได้ตามเงื่อนไขครับ เราต้องหาแหล่งจ่าย (จะเป็น AC หรือ DC ขึ้นอยู่กับโหลดที่จะนำไปต่อใช้) เข้าไปที่ขา common ด้วยครับ
อาจารย์ครับถ้าเราใช้ ดีประ้ภทชนิดเดียวกัน รวม2 ตัวต่อขนานกัน ได้ไหมครับ..เพราะว่าไฟขาเข้าที่ไปเลี้ยงคอยนั้น😊..มีมา 36-40 โวล ครับ
สามารถทำได้ครับ เหมือนเป็นการเพิ่มหน้าคอนแทค ให้นำไปใช้กับโหลดได้ได้จำนวนที่มากขึ้น แต่ต้องใช้รีเลย์ให้ถูกประเภท และขนาดด้วยนะครับ และต้องดูแหล่งจ่ายด้วย ว่ากี่ vac และรีเลย์ที่จะต่อ คอยล์ของมันนั้น ทนแรงดัน กี่ vac ครับ ให้ถูกประเภทกัน
สามารถทำได้ครับ
เบคเกอขาวอีกตัวคืออะไรสังเกตุเห็นต่อเข้าทังเมนหลักและลีเร
ลูกเซอร์กิตสีขาว จะเป็นการเปรียบเทียบ เมนอีกชุดหนึ่งที่จ่ายเข้าขา com เพื่อควบคุมชุด "หน้าสัมผัส" ของรีเลย์ครับ ไปออก no/nc (ที่จ่ายไปหลอดไฟ)
ส่วนเบรกเกอร์ลูกดำ ควบคุม "ชุดคอยล์" ของรีเลย์ครับ
ผมจะแยกเป็น2ส่วนควบคุม เพื่อให้เขาใจว่า รีเลย์มี2ส่วน นั่นก็คือ
1. หน้าสัมผัสคอยล์
2. เข้าขา com และไปออก NO / NC เพื่อไปหลอด (โหลด) นั่นเองครับ
รีเลย์หลักและรีเลย์ช่วยต่างกันอย่างไรครับ
ต่างกันที่ตำแหน่งการจัดวางในวงจร หรือ ขนาดของตัวรีเลย์ และ จุดประสงค์ของ การที่เราเลือกจะที่จะ นำมันไปใช้ควบคุมอะไร หรือ จะให้มันไปเป็นตัวช่วยเพิ่มหน้าสัมผัสของอุปกรณ์ตัวใดๆ ตามต้องการครับ แต่กลไกต่างๆเหมือนกันเกือบทั้งหมดครับผม
@@MrTSP-mr2dl ขอบคุณครับ
@@นะโมตัดสะ-ญ7ร ยินดีครับ
สุดยอดครับพี่อธิบายได้เข้าใจมากเลยครับ
ขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ
ได้ทวนความรู้ไปสอบบรรจุพนักงานไฟฟ้าพอดีเลย
ขอให้สำเร็จตามที่มุ่งหวังตั้งใจนะครับ ❤
ถ้าเราเอาไฟจากรีเลย์NOไปจ่อที่NCของแม็กเนติกจะได้เปล่าคับ
หน้าสัมผัส NC ของแมคเนติค ก็จะมีไฟมารอทันที ที่รีเลย์ทำงานครับ
ต้องดูว่าแมกเนติกที่รับไฟไปนั้น เรานำไปต่อกับอะไร และมีจุดประสงค์อะไร ในการนำ no ของรีเล ไปป้อนให้กับ nc ของแมคครับ
ส่วนตัวผมมองว่า ไม่มีผลอะไร และควรเข้าโหลดโดยตรงไปเลยครับ ไม่ต้องเข้า nc นอกจากว่าจะนำไปเข้าที่คอยล์แมคเนติค เพื่อให้ แมคตัดต่อหนเาสัมผัสอีกทีครับ ส่วนใหญ่จะเปนแบบนี่มากกว่าครับ ❤
ขอขอบคุณมากๆครับผมสอนเข้าใจดีละเอียดยิบเลย
สอนดีมากครับผมเข้าใจดีขอติดตามด้วยคนนะครับอาจารย์