Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
ขอน้อมกราบ ❤สาธุๆๆเจ้าค่ะ
กราบสาธุจ๊ะ
กราบสาธุๆๆในธรรมครับผม
กราบขอบพระคุณครับ
ตรงมากครับ. พบแล้ววิชชาธรรมกาย. อย่าเสียเวลา. หากพลาด ไม่บรรลุในชาตินี้. ก็ไม่มีใครรับประกันว่าจะไปสู่อบาย
ผู้ที่เคยเห็นก็เล่าตรงกันกับกลวงป๋าครับ ผู้เล่า ๆ ว่าเห็นว่ามีลักษณะเหมือนพระพุทธรูป 3 องค์ แต่ละองค์มีลักษณะเหมือนกันแต่แตกต่างกันที่สีสันวรรณะ อยู่ในเขตประมูลฤทธิ์ จะทำฤทธ์ประลองฤทธิ์กัน1 ภาคพระพุทธใสสะอาดเป็นประกายพรึกแวววาวสวยงามมาก ๆตรงกับที่หลวงปู่สดวัดปากน้ำภาษีเจริญ กับหลวงพ่อฤาษีลิงดำที่ท่านกล่าวถึงพระพุทธเจ้าองค์ปฐมจะมีวรรณะรัศมีเปล่งออกมาจากกายและใจของท่านเป็นประกายพรึก2 ถาคดำสนิท สีดำเป็นนิล หรือเหมือนกับถ่านหินดำหรือถ่านไม้ดำ ๆ ที่เขาเผาแล้ว3 ภาคกลาง ๆ สีเหมือนตะกั่วตัดสีวรรณะไม่ขาวใสแต่ก็ไม่ดำสนิท
คิดถึงหลวงป่าคับ..จากเด้กวัดคนนึ่ง
สาธุๆๆๆ
กราบสาธุๆๆครับ
สาธุครับๆๆ
กราบครูหลวงป๋าครับ
สาธุค่ะ
ด
สาธุ
หลักฐานชั้นพระไตรปิฎก#หลักฐานเรื่อง"ธรรมกาย"ในพระไตรปิฎกในพระไตรปิฎกฉบับบาลีอักษรไทย (2525) ซึ่งจัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีปรากฏคำว่า "ธรรมกาย" อยู่ 4 แห่ง โดยส่วนใหญ่อยู่ในพระสูตร ดังนี้1. ที.ปา. อัคคัญญสูตร 11/55/91-92 ในทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค หน้า 92 ฉบับบาลี ปี พ.ศ. 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ว่าตถาคตสฺส เหตํ วาเสฏฺฐา อธิวจนํ ธมฺมกาโย อิติปี พฺรหฺมกาโย อิติปิ ธมฺมภูโต อิติปิ พฺรหฺมภูโต อิติปิฯ"ดูก่อนวาเสฏฐะ อันว่า คำว่า "ธรรมกาย" ก็ดี "พรหมกาย" ก็ดี "ธรรมภูต" ก็ดี ผู้ที่เป็นธรรมก็ดี หรือ "พรหมภูตะ" ผู้ที่เป็นพรหมก็ดี นี้แหละเป็นชื่อของเราตถาคต"2. ขุ.อป. อัตถสันทัสสกเถราปทาน อปทาน 32/139/243 ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 32 ข้อ 139 หน้า 243 บรรทัดที่ 1 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ว่า...ธมฺมกายญฺจ ทีเปนฺติ เกวลํ รตนากรํ วิโกเปตํ น สกฺโกนฺติ โก ทิสฺวา นปฺปสีทติฯ"บุคคลใดยัง "ธรรมกาย"ให้สว่างแล้วทั้งสิ้น อันเป็นบ่อเกิดแห่งรัตนะทั้งหลาย อันบุคคลทั้งหลายไม่มีผู้ใดจะทำร้ายได้ ใครเล่าเมื่อเห็นแล้วจะไม่ปลาบปลื้มยินดีนั้น ไม่มี"3. ขุ.อป. ปัจเจกพุทธาปทาน 32/2/20 ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 32 ข้อ 2 หน้า 20 บรรทัดที่ 9 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึงว่า...ภวนฺติ ปจฺเจกชินา สยมฺภูฯ มหนฺตธมฺมา พหุธมฺมกายา..."พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้สยมภู ทรงเป็นผู้มีธรรมอันใหญ่ มี "ธรรมกาย" มาก"4. ขุ.อป. มหาปชาบดีโคตรมีเถรีอปทาน 33/157/284ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 33 ข้อ 157 หน้า 284 บรรทัดที่ 12 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ไว้ว่าสํวทฺธิโตยํ สุคต รูปกาโย มยา ตว อานนฺทิโย ธมฺมกาโย มม สํวทฺธิโต ตยาฯ"ข้าแต่พระสุคต รูปกายของพระองค์นี้ อันหม่อมฉันยังให้เติบโตแล้ว แต่ "ธรรมกาย" อันน่ารื่นรมย์ของหม่อมฉัน พระองค์ให้เติบโตแล้ว"และในพระไตรปิฎกฉบับหลวง (2514) เล่มที่ 26 หน้า 334 มีปรากฏคำว่า "ธรรมกาย" ดังนี้5. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สรภังคเถรคาถา ข้อ 365...เมื่อก่อน เราผู้ชื่อว่า "สรภังคะ" ไม่เคยได้เห็นโรค คือ อุปาทาน ขันธ์ 5 ครบบริบูรณ์ทั้งสิ้น โรคนั้น อันเราผู้ทำตามพระดำรัสของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ ได้เห็นแล้ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่า วิปัสสี พระสิขี พระเวสสภู พระกกุสันโธ พระโกนาคม พระกัสสป ได้เสด็จไปแล้วโดยทางใดแล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า "โคดม" ก็ได้เสด็จไปแล้วโดยทางนั้น พระพุทธเจ้า 7 พระองค์นี้ ทรงปราศจากตัณหา ไม่ทรงถือมั่น ทรงหยั่งถึงความสิ้นกิเลส เสด็จอุบัติแท้โดย "ธรรมกาย" ผู้คงที่ ทรงเอ็นดูอนุเคราะห์สัตว์ทั้งหลาย ได้ทรงแสดงธรรม คือ อริยสัจ 4 อันได้แก่ ทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ (สมุทัย) ความดับทุกข์ (นิโรธ) ทางเป็นที่สิ้นทุกข์ (มรรค) เป็นทางไม่เป็นไปแห่งทุกข์ อันไม่มีที่สุดในสงสาร เพราะกายนี้แตกและเพราะความสิ้นชีวิตนี้ การเกิดในภพใหม่อย่างอื่นมิได้มี เราเป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากสรรพกิเลสและภพทั้งปวง
สาธุครับหลวงป๋า
อยากทราบว่าท่านเทศน์ วันไหน ตอนไหนครับ และเทศน์ให้ใคร เทศน์ที่ไหนครับ
เดาว่าเทศน์ตอนอบรมพระวิปัสนาประจำปีครับ แต่ไม่รู้วันไหนปีไหน
คำว่า "วิชชาธรรมกาย" มีในพระไตรปิฎกหรือครับ ??? ถ้ามี อยู่ในเล่มไหน...???
กูเกิลเรยไอ้น้อง รับรองมีแน่ฟังไปเรื่อยๆ แล้วก็ให้เน้นเรื่อง บุพกรรมของพระโมคคัลลานะด้วยล่ะ จะได้รู้ว่าเราควรรึไม่ควรทำสิ่งใด หาดูๆ
มีครับธมฺมกาโยอะหังอิติปิ
มีในพระไตรปิฎกครับคำว่าตถาคตคือธรรมกาย มีในคำภีย์หลายแห่งครับ
##หลักฐานมีอยู่มากมายหลายแห่ง หลายเล่ม อ่านให้จบนะน้องนะ##หลักฐานชั้นพระไตรปิฎกในพระไตรปิฎกฉบับบาลีอักษรไทย (2525) ซึ่งจัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีปรากฏคำว่า "ธรรมกาย" อยู่ 4 แห่ง โดยส่วนใหญ่อยู่ในพระสูตร ดังนี้1. ที.ปา. อัคคัญญสูตร 11/55/91-92 ในทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค หน้า 92 ฉบับบาลี ปี พ.ศ. 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ว่าตถาคตสฺส เหตํ วาเสฏฺฐา อธิวจนํ ธมฺมกาโย อิติปี พฺรหฺมกาโย อิติปิ ธมฺมภูโต อิติปิ พฺรหฺมภูโต อิติปิฯ"ดูก่อนวาเสฏฐะ อันว่า คำว่า "ธรรมกาย" ก็ดี "พรหมกาย" ก็ดี "ธรรมภูต" ก็ดี ผู้ที่เป็นธรรมก็ดี หรือ "พรหมภูตะ" ผู้ที่เป็นพรหมก็ดี นี้แหละเป็นชื่อของเราตถาคต"2. ขุ.อป. อัตถสันทัสสกเถราปทาน อปทาน 32/139/243 ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 32 ข้อ 139 หน้า 243 บรรทัดที่ 1 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ว่า...ธมฺมกายญฺจ ทีเปนฺติ เกวลํ รตนากรํ วิโกเปตํ น สกฺโกนฺติ โก ทิสฺวา นปฺปสีทติฯ"บุคคลใดยัง "ธรรมกาย"ให้สว่างแล้วทั้งสิ้น อันเป็นบ่อเกิดแห่งรัตนะทั้งหลาย อันบุคคลทั้งหลายไม่มีผู้ใดจะทำร้ายได้ ใครเล่าเมื่อเห็นแล้วจะไม่ปลาบปลื้มยินดีนั้น ไม่มี"3. ขุ.อป. ปัจเจกพุทธาปทาน 32/2/20 ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 32 ข้อ 2 หน้า 20 บรรทัดที่ 9 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึงว่า...ภวนฺติ ปจฺเจกชินา สยมฺภูฯ มหนฺตธมฺมา พหุธมฺมกายา..."พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้สยมภู ทรงเป็นผู้มีธรรมอันใหญ่ มี "ธรรมกาย" มาก"4. ขุ.อป. มหาปชาบดีโคตรมีเถรีอปทาน 33/157/284ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 33 ข้อ 157 หน้า 284 บรรทัดที่ 12 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ไว้ว่าสํวทฺธิโตยํ สุคต รูปกาโย มยา ตว อานนฺทิโย ธมฺมกาโย มม สํวทฺธิโต ตยาฯ"ข้าแต่พระสุคต รูปกายของพระองค์นี้ อันหม่อมฉันยังให้เติบโตแล้ว แต่ "ธรรมกาย" อันน่ารื่นรมย์ของหม่อมฉัน พระองค์ให้เติบโตแล้ว"และในพระไตรปิฎกฉบับหลวง (2514) เล่มที่ 26 หน้า 334 มีปรากฏคำว่า "ธรรมกาย" ดังนี้5. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สรภังคเถรคาถา ข้อ 365...เมื่อก่อน เราผู้ชื่อว่า "สรภังคะ" ไม่เคยได้เห็นโรค คือ อุปาทาน ขันธ์ 5 ครบบริบูรณ์ทั้งสิ้น โรคนั้น อันเราผู้ทำตามพระดำรัสของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ ได้เห็นแล้ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่า วิปัสสี พระสิขี พระเวสสภู พระกกุสันโธ พระโกนาคม พระกัสสป ได้เสด็จไปแล้วโดยทางใดแล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า "โคดม" ก็ได้เสด็จไปแล้วโดยทางนั้น พระพุทธเจ้า 7 พระองค์นี้ ทรงปราศจากตัณหา ไม่ทรงถือมั่น ทรงหยั่งถึงความสิ้นกิเลส เสด็จอุบัติแท้โดย "ธรรมกาย" ผู้คงที่ ทรงเอ็นดูอนุเคราะห์สัตว์ทั้งหลาย ได้ทรงแสดงธรรม คือ อริยสัจ 4 อันได้แก่ ทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ (สมุทัย) ความดับทุกข์ (นิโรธ) ทางเป็นที่สิ้นทุกข์ (มรรค) เป็นทางไม่เป็นไปแห่งทุกข์ อันไม่มีที่สุดในสงสาร เพราะกายนี้แตกและเพราะความสิ้นชีวิตนี้ การเกิดในภพใหม่อย่างอื่นมิได้มี เราเป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากสรรพกิเลสและภพทั้งปวง
ขนาดพระพุทธเจ้าท่านบำเพ๋ญบารมีมาตั้งเยอะ ยังสู้พญามารไม่ได้เลย แล้วสาวกภูมิจะไปเหลืออะไรเล่าครับ ไม่มีกล่าวในพระไตรปิฎกเลย
ถ้าสู้พญามารไม่ได้คงไม่ได้นิพพานกันซักคนครับ อดีตปัจจุบันอนาคต ก็มีพระพุทธเจ้ามาบรรลุครับ แล้วจะกล่าวว่าสู้มารไม่ได้ได้อย่างไร (การสู้นี้สู้ด้วยเมตตาตามปิฏกเราไม่ใช้การฆ่าล้างอะไรๆครับ)เข้านิพพานเป็นก็อมตะ(ไร้กาลเวลา)และมีอนุภาพมาก สัตว์โลกมีเท่าไรเท่าไรก็ช่วยได้(ก็เป็นอมตะจะถอยจะแบ่งก็ได้หมดเพราะอานุภาพและวิชชามาก)นิพพานเป็นนั้นสุดยอดมากๆครับ หลวงปู่สดท่านบำเพ็ญอย่างนี้ครับ ใครกำลังใจดีลองดูครับ
สาธุครับ
ขอน้อมกราบ ❤สาธุๆๆเจ้าค่ะ
กราบสาธุจ๊ะ
กราบสาธุๆๆในธรรมครับผม
กราบขอบพระคุณครับ
ตรงมากครับ. พบแล้ววิชชาธรรมกาย. อย่าเสียเวลา. หากพลาด ไม่บรรลุในชาตินี้. ก็ไม่มีใครรับประกันว่าจะไปสู่อบาย
ผู้ที่เคยเห็นก็เล่าตรงกันกับกลวงป๋าครับ ผู้เล่า ๆ ว่าเห็นว่ามีลักษณะเหมือนพระพุทธรูป 3 องค์
แต่ละองค์มีลักษณะเหมือนกัน
แต่แตกต่างกันที่สีสันวรรณะ อยู่ในเขตประมูลฤทธิ์ จะทำฤทธ์ประลองฤทธิ์กัน
1 ภาคพระพุทธใสสะอาดเป็นประกายพรึกแวววาวสวยงามมาก ๆ
ตรงกับที่หลวงปู่สดวัดปากน้ำภาษีเจริญ กับหลวงพ่อฤาษีลิงดำที่ท่านกล่าวถึงพระพุทธเจ้าองค์ปฐมจะมีวรรณะรัศมีเปล่งออกมาจากกายและใจของท่านเป็นประกายพรึก
2 ถาคดำสนิท สีดำเป็นนิล หรือเหมือนกับถ่านหินดำหรือถ่านไม้ดำ ๆ ที่เขาเผาแล้ว
3 ภาคกลาง ๆ สีเหมือนตะกั่วตัด
สีวรรณะไม่ขาวใสแต่ก็ไม่ดำสนิท
คิดถึงหลวงป่าคับ..จากเด้กวัดคนนึ่ง
สาธุๆๆๆ
กราบสาธุๆๆครับ
สาธุครับๆๆ
กราบครูหลวงป๋าครับ
สาธุค่ะ
ด
สาธุ
หลักฐานชั้นพระไตรปิฎก
#หลักฐานเรื่อง"ธรรมกาย"ในพระไตรปิฎก
ในพระไตรปิฎกฉบับบาลีอักษรไทย (2525) ซึ่งจัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีปรากฏคำว่า "ธรรมกาย" อยู่ 4 แห่ง โดยส่วนใหญ่อยู่ในพระสูตร ดังนี้
1. ที.ปา. อัคคัญญสูตร 11/55/91-92 ในทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค หน้า 92 ฉบับบาลี ปี พ.ศ. 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ว่า
ตถาคตสฺส เหตํ วาเสฏฺฐา อธิวจนํ ธมฺมกาโย อิติปี พฺรหฺมกาโย อิติปิ ธมฺมภูโต อิติปิ พฺรหฺมภูโต อิติปิฯ
"ดูก่อนวาเสฏฐะ อันว่า คำว่า "ธรรมกาย" ก็ดี "พรหมกาย" ก็ดี "ธรรมภูต" ก็ดี ผู้ที่เป็นธรรมก็ดี หรือ "พรหมภูตะ" ผู้ที่เป็นพรหมก็ดี นี้แหละเป็นชื่อของเราตถาคต"
2. ขุ.อป. อัตถสันทัสสกเถราปทาน อปทาน 32/139/243 ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 32 ข้อ 139 หน้า 243 บรรทัดที่ 1 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ว่า
...ธมฺมกายญฺจ ทีเปนฺติ เกวลํ รตนากรํ วิโกเปตํ น สกฺโกนฺติ โก ทิสฺวา นปฺปสีทติฯ
"บุคคลใดยัง "ธรรมกาย"ให้สว่างแล้วทั้งสิ้น อันเป็นบ่อเกิดแห่งรัตนะทั้งหลาย อันบุคคลทั้งหลายไม่มีผู้ใดจะทำร้ายได้ ใครเล่าเมื่อเห็นแล้วจะไม่ปลาบปลื้มยินดีนั้น ไม่มี"
3. ขุ.อป. ปัจเจกพุทธาปทาน 32/2/20 ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 32 ข้อ 2 หน้า 20 บรรทัดที่ 9 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึงว่า
...ภวนฺติ ปจฺเจกชินา สยมฺภูฯ มหนฺตธมฺมา พหุธมฺมกายา...
"พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้สยมภู ทรงเป็นผู้มีธรรมอันใหญ่ มี "ธรรมกาย" มาก"
4. ขุ.อป. มหาปชาบดีโคตรมีเถรีอปทาน 33/157/284
ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 33 ข้อ 157 หน้า 284 บรรทัดที่ 12 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ไว้ว่า
สํวทฺธิโตยํ สุคต รูปกาโย มยา ตว อานนฺทิโย ธมฺมกาโย มม สํวทฺธิโต ตยาฯ
"ข้าแต่พระสุคต รูปกายของพระองค์นี้ อันหม่อมฉันยังให้เติบโตแล้ว แต่ "ธรรมกาย" อันน่ารื่นรมย์ของหม่อมฉัน พระองค์ให้เติบโตแล้ว"
และในพระไตรปิฎกฉบับหลวง (2514) เล่มที่ 26 หน้า 334 มีปรากฏคำว่า "ธรรมกาย" ดังนี้
5. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สรภังคเถรคาถา ข้อ 365
...เมื่อก่อน เราผู้ชื่อว่า "สรภังคะ" ไม่เคยได้เห็นโรค คือ อุปาทาน ขันธ์ 5 ครบบริบูรณ์ทั้งสิ้น โรคนั้น อันเราผู้ทำตามพระดำรัสของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ ได้เห็นแล้ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่า วิปัสสี พระสิขี พระเวสสภู พระกกุสันโธ พระโกนาคม พระกัสสป ได้เสด็จไปแล้วโดยทางใดแล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า "โคดม" ก็ได้เสด็จไปแล้วโดยทางนั้น พระพุทธเจ้า 7 พระองค์นี้ ทรงปราศจากตัณหา ไม่ทรงถือมั่น ทรงหยั่งถึงความสิ้นกิเลส เสด็จอุบัติแท้โดย "ธรรมกาย" ผู้คงที่ ทรงเอ็นดูอนุเคราะห์สัตว์ทั้งหลาย ได้ทรงแสดงธรรม คือ อริยสัจ 4 อันได้แก่ ทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ (สมุทัย) ความดับทุกข์ (นิโรธ) ทางเป็นที่สิ้นทุกข์ (มรรค) เป็นทางไม่เป็นไปแห่งทุกข์ อันไม่มีที่สุดในสงสาร เพราะกายนี้แตกและเพราะความสิ้นชีวิตนี้ การเกิดในภพใหม่อย่างอื่นมิได้มี เราเป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากสรรพกิเลสและภพทั้งปวง
สาธุครับหลวงป๋า
อยากทราบว่าท่านเทศน์ วันไหน ตอนไหนครับ และเทศน์ให้ใคร เทศน์ที่ไหนครับ
เดาว่าเทศน์ตอนอบรมพระวิปัสนาประจำปีครับ แต่ไม่รู้วันไหนปีไหน
คำว่า "วิชชาธรรมกาย" มีในพระไตรปิฎกหรือครับ ??? ถ้ามี อยู่ในเล่มไหน...???
กูเกิลเรยไอ้น้อง รับรองมีแน่
ฟังไปเรื่อยๆ แล้วก็ให้เน้นเรื่อง บุพกรรมของพระโมคคัลลานะด้วยล่ะ จะได้รู้ว่าเราควรรึไม่ควรทำสิ่งใด หาดูๆ
มีครับธมฺมกาโยอะหังอิติปิ
มีในพระไตรปิฎกครับคำว่าตถาคตคือธรรมกาย มีในคำภีย์หลายแห่งครับ
##หลักฐานมีอยู่มากมายหลายแห่ง หลายเล่ม อ่านให้จบนะน้องนะ
##หลักฐานชั้นพระไตรปิฎก
ในพระไตรปิฎกฉบับบาลีอักษรไทย (2525) ซึ่งจัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีปรากฏคำว่า "ธรรมกาย" อยู่ 4 แห่ง โดยส่วนใหญ่อยู่ในพระสูตร ดังนี้
1. ที.ปา. อัคคัญญสูตร 11/55/91-92 ในทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค หน้า 92 ฉบับบาลี ปี พ.ศ. 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ว่า
ตถาคตสฺส เหตํ วาเสฏฺฐา อธิวจนํ ธมฺมกาโย อิติปี พฺรหฺมกาโย อิติปิ ธมฺมภูโต อิติปิ พฺรหฺมภูโต อิติปิฯ
"ดูก่อนวาเสฏฐะ อันว่า คำว่า "ธรรมกาย" ก็ดี "พรหมกาย" ก็ดี "ธรรมภูต" ก็ดี ผู้ที่เป็นธรรมก็ดี หรือ "พรหมภูตะ" ผู้ที่เป็นพรหมก็ดี นี้แหละเป็นชื่อของเราตถาคต"
2. ขุ.อป. อัตถสันทัสสกเถราปทาน อปทาน 32/139/243 ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 32 ข้อ 139 หน้า 243 บรรทัดที่ 1 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ว่า
...ธมฺมกายญฺจ ทีเปนฺติ เกวลํ รตนากรํ วิโกเปตํ น สกฺโกนฺติ โก ทิสฺวา นปฺปสีทติฯ
"บุคคลใดยัง "ธรรมกาย"ให้สว่างแล้วทั้งสิ้น อันเป็นบ่อเกิดแห่งรัตนะทั้งหลาย อันบุคคลทั้งหลายไม่มีผู้ใดจะทำร้ายได้ ใครเล่าเมื่อเห็นแล้วจะไม่ปลาบปลื้มยินดีนั้น ไม่มี"
3. ขุ.อป. ปัจเจกพุทธาปทาน 32/2/20 ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 32 ข้อ 2 หน้า 20 บรรทัดที่ 9 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึงว่า
...ภวนฺติ ปจฺเจกชินา สยมฺภูฯ มหนฺตธมฺมา พหุธมฺมกายา...
"พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้สยมภู ทรงเป็นผู้มีธรรมอันใหญ่ มี "ธรรมกาย" มาก"
4. ขุ.อป. มหาปชาบดีโคตรมีเถรีอปทาน 33/157/284
ในขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ 33 ข้อ 157 หน้า 284 บรรทัดที่ 12 ฉบับบาลี ปี 2525 ได้กล่าวถึง "ธรรมกาย" ไว้ว่า
สํวทฺธิโตยํ สุคต รูปกาโย มยา ตว อานนฺทิโย ธมฺมกาโย มม สํวทฺธิโต ตยาฯ
"ข้าแต่พระสุคต รูปกายของพระองค์นี้ อันหม่อมฉันยังให้เติบโตแล้ว แต่ "ธรรมกาย" อันน่ารื่นรมย์ของหม่อมฉัน พระองค์ให้เติบโตแล้ว"
และในพระไตรปิฎกฉบับหลวง (2514) เล่มที่ 26 หน้า 334 มีปรากฏคำว่า "ธรรมกาย" ดังนี้
5. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สรภังคเถรคาถา ข้อ 365
...เมื่อก่อน เราผู้ชื่อว่า "สรภังคะ" ไม่เคยได้เห็นโรค คือ อุปาทาน ขันธ์ 5 ครบบริบูรณ์ทั้งสิ้น โรคนั้น อันเราผู้ทำตามพระดำรัสของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ ได้เห็นแล้ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่า วิปัสสี พระสิขี พระเวสสภู พระกกุสันโธ พระโกนาคม พระกัสสป ได้เสด็จไปแล้วโดยทางใดแล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า "โคดม" ก็ได้เสด็จไปแล้วโดยทางนั้น พระพุทธเจ้า 7 พระองค์นี้ ทรงปราศจากตัณหา ไม่ทรงถือมั่น ทรงหยั่งถึงความสิ้นกิเลส เสด็จอุบัติแท้โดย "ธรรมกาย" ผู้คงที่ ทรงเอ็นดูอนุเคราะห์สัตว์ทั้งหลาย ได้ทรงแสดงธรรม คือ อริยสัจ 4 อันได้แก่ ทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ (สมุทัย) ความดับทุกข์ (นิโรธ) ทางเป็นที่สิ้นทุกข์ (มรรค) เป็นทางไม่เป็นไปแห่งทุกข์ อันไม่มีที่สุดในสงสาร เพราะกายนี้แตกและเพราะความสิ้นชีวิตนี้ การเกิดในภพใหม่อย่างอื่นมิได้มี เราเป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากสรรพกิเลสและภพทั้งปวง
ขนาดพระพุทธเจ้าท่านบำเพ๋ญบารมีมาตั้งเยอะ ยังสู้พญามารไม่ได้เลย แล้วสาวกภูมิจะไปเหลืออะไรเล่าครับ ไม่มีกล่าวในพระไตรปิฎกเลย
ถ้าสู้พญามารไม่ได้คงไม่ได้นิพพานกันซักคนครับ อดีตปัจจุบันอนาคต ก็มีพระพุทธเจ้ามาบรรลุครับ แล้วจะกล่าวว่าสู้มารไม่ได้ได้อย่างไร (การสู้นี้สู้ด้วยเมตตาตามปิฏกเราไม่ใช้การฆ่าล้างอะไรๆครับ)
เข้านิพพานเป็นก็อมตะ(ไร้กาลเวลา)และมีอนุภาพมาก สัตว์โลกมีเท่าไรเท่าไรก็ช่วยได้(ก็เป็นอมตะจะถอยจะแบ่งก็ได้หมดเพราะอานุภาพและวิชชามาก)
นิพพานเป็นนั้นสุดยอดมากๆครับ หลวงปู่สดท่านบำเพ็ญอย่างนี้ครับ ใครกำลังใจดีลองดูครับ
สาธุครับ
สาธุครับ
สาธุครับ
สาธุครับ