Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
ขอบคุณนะคะ สำหรับความรู้ เข้าใจมากขึ้นเลยค่ะ
🙂
กราบขอบพระคุณค่ะ
สวัสดีครับ❤❤❤❤❤
สวัสดีครับ
ขอบคุณค่ะ ทำให้เข้าใจ 148กับ149ว่าต่างกันอย่างไร
❤❤❤🙏🙏🙏🙏❤️❤️❤️ขอบพระคุณค่ะอาจารย์คะ ได้โปรดทำคลิปออกมาเยอะๆให้ความรู้แก่ประชาชนอีกนะคะ🙏🙏🙏❤️❤️❤️
ขอบคุณมากๆค่ะ
นาทีที่7:05 เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
ฎีกาที่153/2545 จำเลยเป็นพนักงานเก็บเงินค่าผ่านทางพิเศษ ระดับ 2 ประจำด่านบางนาและเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายมีหน้าที่เก็บเงินค่าผ่านทางจากผู้ใช้รถผ่านทางด่วนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม) ...แม้จะไม่มีพยานบุคคลมายืนยันว่าจำเลยเบียดบังเงินที่จำเลยเก็บค่าผ่านทางมาได้แต่เมื่อจำเลยได้รับเงินค่าผ่านทางมาแล้วและไม่ส่งเงินให้ครบโดยมีเอกสารเป็นพยานหลักฐาน ฟังได้ว่าจำเลยมีหน้าที่รักษาเงินโดยชอบแม้จะเป็นระยะเวลาอันสั้นก็ตาม อีกทั้งการรับเงินแล้วรวบรวมนำส่งต่อไปนั้นก็ถือได้ว่าเป็นการจัดการทรัพย์ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 แล้วการนำส่งเงินไม่ครบถือได้ว่าเป็นการเบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของตนโดยทุจริตแล้ว
ที่อ่านมา เจ้าพนักงานจะรวมถึงได้รับค่าจ้างหรือไม่ก็ตาม ไม่ว่าจะชั่วคราวหรือประจำ ก็เลยสับสน ไม่รู้อันไหนถูก
อาจารณ์ครับผมสงสัยใน ม.147 นิติกรณ์ที่เป็นลูกจ้างชั่วคราว หรือมีฐานะลูกจ้างชั่วคราว ไม่ใช่เจ้าพนักงานข้างต้น เเล้วมันไม่ขัดกับ ม.1(16)หรอครับ หรือมันเป็นในส่วนของเจ้าพนักงานราชกาลที่ไม่เข้า
ความรู้ดีมากค่ะ
ผู้ใหญ่บ้านประกาศเสียงตามสายขู่ไล่ลูกบ้านและญาติออกจากหมู่บ้าน จนทำให้แม่กับยาย ไม่สบายใจ นอนไม่หลับ วิตกกังวล และครอบครัวโดนชาวบ้านในหมู่บ้านเข้าใจว่า ครอบครัวนี้ไม่ดีแบบนี้เข้าค่ายความผิดอันไหนบ้างคะ9-7-67
👍
ขอบพระคุณคะอาจารย์ ได้ความรู้มากเลยคะ
เป็นการผลิตสื่อเผยแพร่ความรู้ที่ดียิ่ง สอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงานครับ
นาทีที่7:05 ...เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
@@Ample-pj8lu เขาบอกว่าไม่ผิด ม.147 ก็ถูกแล้ว เขาก็บอกว่าอาจผิดตามกฎหมายอื่น ซึ่งก็จะผิดตามกฎหมาย ปปช แน่ๆครับ
สอนดีมากคะ
สุดยอดครับ
แบบนี้แหละข้าราชการจะได้ไม่คิดทำผิดคะขอบคุณคะ
ถึงแม้ว่า ทุกวันนี้ จะมีกฎหมายปราบทุจริต และประพฤติมิชอบ โดยป.ป.ช. และป.ป.ท. เป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ และมีศาลอาญาทุจริต และประพฤติมิชอบ ครอบคลุมทุกภาค แต่ยังมีผู้กระทำความผิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพราะจิตสำนึกยังไม่ได้รับการแก้ไข หมูจึงไม่กลัวน้ำร้อน 555
นิติกรที่ศาลเปนเจ้าหน้าที่ใหมครับ
เจ้าพนักงานย่อมหมายถึงบุคคลผู้ปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยได้รับแต่งตั้งตามกฎหมาย กล่าวคือ ในการแต่งตั้งนั้นมีกฎหมายระบุถึงวิธีการแต่งตั้งไว้ และได้มีการแต่งตั้งถูกต้องตามกฎหมายที่ระบุไว้นั้น ดังนั้น ข้าราชการประจำ เช่น นิติกรในศาล รวมทั้งข้าราชการพลเรือนในกระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการต่างๆ ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ตุลาการศาลปกครอง ตุลาการศาลทหาร ผู้พิพากษาในศาลยุติธรรม รวมถึงพนักงานอัยการ เหล่านี้ เป็นเจ้าพนักงาน
ธนาคารกสิกรไทยไม่ใช่รัฐวิสหกิจนะครับ
1.ธนาคารออมสิน มีสถานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย 2.ธนาคารอาคารสงเคราะห์ หรือ ธอส. เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง โดยปัจจุบันกระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมด 3.ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย เป็นสถาบันการเงินของรัฐ สังกัดกระทรวงการคลัง และ กระทรวงอุตสาหกรรม 4. ธนาคารกรุงไทยเป็นธนาคารพาณิชย์เอกชน(พ้นสภาพรัฐวิสาหกิจแล้ว)
พนักงานราชการ เป็น เจ้าพนักงานไหมครับ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1 (16) “เจ้าพนักงาน” หมายความว่า บุคคลซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นเจ้าพนักงานหรือได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ไม่ว่าเป็นประจำหรือครั้งคราว และไม่ว่าจะได้รับค่าตอบแทนหรือไม่ จึงมีหลักเกณฑ์ที่ควรจะต้องพิจารณา คือ (1) เป็นบุคคลซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นเจ้าพนักงาน (2) เป็นบุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ไม่ว่าเป็นประจำหรือหรือครั้งคราว และ (3) ไม่ว่าจะได้รับค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม
ปปช.เป็น จนท.รัฐ พฤติการณ์ไม่เร่งรัดดำเนินตามกรอบเวลา กฏหมายกำหนด เป็นเหตุให้คดี อิทธิพล คุณปลื้ม ขาดอายุความ ปปช.ผิดต่อตำแหน่ง จนท.รัฐ หรือไม่ครับ
ต
ขอบคุณนะคะ สำหรับความรู้ เข้าใจมากขึ้นเลยค่ะ
🙂
กราบขอบพระคุณค่ะ
สวัสดีครับ
❤❤❤❤❤
สวัสดีครับ
ขอบคุณค่ะ ทำให้เข้าใจ 148กับ149ว่าต่างกันอย่างไร
❤❤❤🙏🙏🙏🙏❤️❤️❤️ขอบพระคุณค่ะอาจารย์คะ ได้โปรดทำคลิปออกมาเยอะๆให้ความรู้แก่ประชาชนอีกนะคะ🙏🙏🙏❤️❤️❤️
ขอบคุณมากๆค่ะ
นาทีที่7:05 เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
ฎีกาที่153/2545 จำเลยเป็นพนักงานเก็บเงินค่าผ่านทางพิเศษ ระดับ 2 ประจำด่านบางนาและเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายมีหน้าที่เก็บเงินค่าผ่านทางจากผู้ใช้รถผ่านทางด่วนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม) ...แม้จะไม่มีพยานบุคคลมายืนยันว่าจำเลยเบียดบังเงินที่จำเลยเก็บค่าผ่านทางมาได้แต่เมื่อจำเลยได้รับเงินค่าผ่านทางมาแล้วและไม่ส่งเงินให้ครบโดยมีเอกสารเป็นพยานหลักฐาน ฟังได้ว่าจำเลยมีหน้าที่รักษาเงินโดยชอบแม้จะเป็นระยะเวลาอันสั้นก็ตาม อีกทั้งการรับเงินแล้วรวบรวมนำส่งต่อไปนั้นก็ถือได้ว่าเป็นการจัดการทรัพย์ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 แล้วการนำส่งเงินไม่ครบถือได้ว่าเป็นการเบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของตนโดยทุจริตแล้ว
ที่อ่านมา เจ้าพนักงานจะรวมถึงได้รับค่าจ้างหรือไม่ก็ตาม ไม่ว่าจะชั่วคราวหรือประจำ ก็เลยสับสน ไม่รู้อันไหนถูก
อาจารณ์ครับผมสงสัยใน ม.147 นิติกรณ์ที่เป็นลูกจ้างชั่วคราว หรือมีฐานะลูกจ้างชั่วคราว ไม่ใช่เจ้าพนักงานข้างต้น เเล้วมันไม่ขัดกับ ม.1(16)หรอครับ หรือมันเป็นในส่วนของเจ้าพนักงานราชกาลที่ไม่เข้า
ความรู้ดีมากค่ะ
นาทีที่7:05 เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
ฎีกาที่153/2545 จำเลยเป็นพนักงานเก็บเงินค่าผ่านทางพิเศษ ระดับ 2 ประจำด่านบางนาและเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายมีหน้าที่เก็บเงินค่าผ่านทางจากผู้ใช้รถผ่านทางด่วนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม) ...แม้จะไม่มีพยานบุคคลมายืนยันว่าจำเลยเบียดบังเงินที่จำเลยเก็บค่าผ่านทางมาได้แต่เมื่อจำเลยได้รับเงินค่าผ่านทางมาแล้วและไม่ส่งเงินให้ครบโดยมีเอกสารเป็นพยานหลักฐาน ฟังได้ว่าจำเลยมีหน้าที่รักษาเงินโดยชอบแม้จะเป็นระยะเวลาอันสั้นก็ตาม อีกทั้งการรับเงินแล้วรวบรวมนำส่งต่อไปนั้นก็ถือได้ว่าเป็นการจัดการทรัพย์ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 แล้วการนำส่งเงินไม่ครบถือได้ว่าเป็นการเบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของตนโดยทุจริตแล้ว
ผู้ใหญ่บ้านประกาศเสียงตามสายขู่ไล่ลูกบ้านและญาติออกจากหมู่บ้าน จนทำให้แม่กับยาย ไม่สบายใจ นอนไม่หลับ วิตกกังวล และครอบครัวโดนชาวบ้านในหมู่บ้านเข้าใจว่า ครอบครัวนี้ไม่ดีแบบนี้เข้าค่ายความผิดอันไหนบ้างคะ9-7-67
สวัสดีครับ
👍
ขอบพระคุณคะอาจารย์ ได้ความรู้มากเลยคะ
นาทีที่7:05 เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
เป็นการผลิตสื่อเผยแพร่ความรู้ที่ดียิ่ง สอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงานครับ
นาทีที่7:05 ...เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
@@Ample-pj8lu เขาบอกว่าไม่ผิด ม.147 ก็ถูกแล้ว เขาก็บอกว่าอาจผิดตามกฎหมายอื่น ซึ่งก็จะผิดตามกฎหมาย ปปช แน่ๆครับ
ฎีกาที่153/2545 จำเลยเป็นพนักงานเก็บเงินค่าผ่านทางพิเศษ ระดับ 2 ประจำด่านบางนาและเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายมีหน้าที่เก็บเงินค่าผ่านทางจากผู้ใช้รถผ่านทางด่วนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม) ...แม้จะไม่มีพยานบุคคลมายืนยันว่าจำเลยเบียดบังเงินที่จำเลยเก็บค่าผ่านทางมาได้แต่เมื่อจำเลยได้รับเงินค่าผ่านทางมาแล้วและไม่ส่งเงินให้ครบโดยมีเอกสารเป็นพยานหลักฐาน ฟังได้ว่าจำเลยมีหน้าที่รักษาเงินโดยชอบแม้จะเป็นระยะเวลาอันสั้นก็ตาม อีกทั้งการรับเงินแล้วรวบรวมนำส่งต่อไปนั้นก็ถือได้ว่าเป็นการจัดการทรัพย์ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 แล้วการนำส่งเงินไม่ครบถือได้ว่าเป็นการเบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของตนโดยทุจริตแล้ว
สอนดีมากคะ
นาทีที่7:05 เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
สุดยอดครับ
นาทีที่7:05 เฉลยผิด เพราะพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2561มาตรา4 ดังนั้น จึงเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ตามมาตรา4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
แบบนี้แหละข้าราชการจะได้ไม่คิดทำผิดคะขอบคุณคะ
ถึงแม้ว่า ทุกวันนี้ จะมีกฎหมายปราบทุจริต และประพฤติมิชอบ โดยป.ป.ช. และป.ป.ท. เป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ และมีศาลอาญาทุจริต และประพฤติมิชอบ ครอบคลุมทุกภาค แต่ยังมีผู้กระทำความผิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพราะจิตสำนึกยังไม่ได้รับการแก้ไข หมูจึงไม่กลัวน้ำร้อน 555
นิติกรที่ศาลเปนเจ้าหน้าที่ใหมครับ
เจ้าพนักงานย่อมหมายถึงบุคคลผู้ปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยได้รับแต่งตั้งตามกฎหมาย กล่าวคือ ในการแต่งตั้งนั้นมีกฎหมายระบุถึงวิธีการแต่งตั้งไว้ และได้มีการแต่งตั้งถูกต้องตามกฎหมายที่ระบุไว้นั้น ดังนั้น ข้าราชการประจำ เช่น นิติกรในศาล รวมทั้งข้าราชการพลเรือนในกระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการต่างๆ ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ตุลาการศาลปกครอง ตุลาการศาลทหาร ผู้พิพากษาในศาลยุติธรรม รวมถึงพนักงานอัยการ เหล่านี้ เป็นเจ้าพนักงาน
ธนาคารกสิกรไทย
ไม่ใช่รัฐวิสหกิจนะครับ
1.ธนาคารออมสิน มีสถานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย 2.ธนาคารอาคารสงเคราะห์ หรือ ธอส. เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง โดยปัจจุบันกระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมด 3.ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย เป็นสถาบันการเงินของรัฐ สังกัดกระทรวงการคลัง และ กระทรวงอุตสาหกรรม 4. ธนาคารกรุงไทยเป็นธนาคารพาณิชย์เอกชน(พ้นสภาพรัฐวิสาหกิจแล้ว)
พนักงานราชการ เป็น เจ้าพนักงานไหมครับ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1 (16) “เจ้าพนักงาน” หมายความว่า บุคคลซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นเจ้าพนักงานหรือได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ไม่ว่าเป็นประจำหรือครั้งคราว และไม่ว่าจะได้รับค่าตอบแทนหรือไม่ จึงมีหลักเกณฑ์ที่ควรจะต้องพิจารณา คือ (1) เป็นบุคคลซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นเจ้าพนักงาน (2) เป็นบุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ไม่ว่าเป็นประจำหรือหรือครั้งคราว และ (3) ไม่ว่าจะได้รับค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม
ปปช.เป็น จนท.รัฐ พฤติการณ์ไม่เร่งรัดดำเนินตามกรอบเวลา กฏหมายกำหนด เป็นเหตุให้คดี อิทธิพล คุณปลื้ม ขาดอายุความ ปปช.ผิดต่อตำแหน่ง จนท.รัฐ หรือไม่ครับ
ต