Can you do one on Wat Na Phra Men and exploring how the temple looked like before Rama III’s restorations in the Early Rattanakosin Period? And why is Wat Na Phra Men’s Buddha image the only Buddha image of its style (with the headgear and kingly decorations) that it’s in perfect condition? Like was it covered in stucco like the Golden Buddha of Wat Tramit, since the Burmese didn’t loot it or did the Rattanakosin monarchs decide to only restore that one Buddha image with the late Ayutthaya style? What do the Thai records say?
สวัสดีครับ มาชมด้วยคนครับ
ขอบคุณครับ ติชมแนะนำได้นะครับ😄
เพิ่งไปมา แต่ยังไม่ได้ไปชมวัดป่าฝ้าย
ที่อาจารย์ไปวัดเขาดินใช่ไหมครับ ไว้มีโอกาสจะพาอาจารย์ไปดูพระวัดป่าฝ้ายฮะ
ได้ชม Hiddenฯ แล้ว ต่อไปจะรอชม เสียงสะท้อนอดีต ของอาจารย์ฉันทัสค่ะ
ติดตามครับ เป็น กำลังใจให้ครับผม ล้านซับ ไวๆ ครับ
ขอบคุณมากๆ เลยครับ^^
ผมได้รับความรู้มากมายหลายอย่างจากคลิปนี้ ผมเพิ่งรู้จักปากน้ำประสบ วัดป่าฝ้ายและวัดเขาดินหรือวัดวรนายกเป็นครั้งแรกจากคลิปนี้ น่าตื่นเต้นชวนติดตามมากครับ บริเวณโบสถ์เดิมในบ้านเอกชนนั้น มีพระพุทธรูปหินทรายขนาดใหญ่และขนาดกลางหลายองค์ที่แตกหักแล้ว ดูจากขนาดพระเศียรของพระพุทธรูปและองค์ท่านบอกได้วัดวัดป่าฝ้ายนี้เป็นวัดขนาดใหญ่และสร้างในสมัยอยุธยาตอนกลาง สร้างโดยพระมหากษัตริย์แน่นอนเพราะฝีมือการแกะสลักองค์พระเป็นฝีมือช่างหลวงแน่นอน วัดนี้น่าจะมีอายุมากกว่า 400ปี สร้างก่อนสมัยพระนเรศวรมหาราชครับ การจะตั้งศาลาและบรรจุพระพุทธรูปโบราณไว้ในบริเวณบ้านนั้นขอให้ปรึกษากับกรมศิลปากรว่าทำได้หรือไม่ โบราณวัตถุเหล่านี้ควรรักษาไว้แต่ควรหาสถานที่ที่ไม่ใช่อยู่ในบ้านของเอกชนนะครับเพื่อให้ประชาชนทั่วไปเข้าไปสักการะได้ ขอขอบคุณคุณอชิรวิญช์ ที่ให้ความรู้ดีดีมากมายในคลิปนี้ครับ / เอนกลาภ
ขอบคุณครับผม ^^
ชอบมากครับ..ตื่นเต็นตามเลยครับ
ขอบคุณครับ😄
สนุกค่ะ
ขอบคุณครับ^^
ชอบเหมือนกันครับ
ขอบคุณครับ😄
เนื้อหาดีมากครับ หลายเรื่องผมกระจ่างเพราะคลิปนี้และอีกหลายๆคลิปของคุณ วิธีนำเสนอแนวเปรียบเทียบก็ดีมาก ทำต่อไปนะครับ
ขอบคุณครับ :)
ขอบคุณครับ
ขอบคุณเช่นกันครับ🙂
ในตอนที่อยุธยาแตก พวกคนในหมู่บ้าน ฮอลันดา โปรตุเกส ญี่ปุ่น คนพวกนี้แตกกระสานซ่านเซนไปอยู่ที่ไหนกันครับ ดูคลิปนี้แล้วนึกขึ้นได้ ยังไงทำเป็นคลิปต่อๆไป ก็จะขอบพระคุณมากๆเลยครับ ตามรอยต่างชาติยามกรุงแตก
- ฮอลันดา ถอนตัวจากสถานีการค้าไปหลังศึกอลองพญา กลับไปฐานเดินที่ปัตตาเวียครับ กว่าจะติดต่อกันใหม่ก็เข้าสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี เรื่องฮอลันดาถอนตัวไปก่อนเสียกรุงฯ ลองดูคลิปในตอน "วัดไก่เตี้ย" ได้ครับ
- โปรตุเกส สร้างค่ายต่อสู้พม่าจนถูกตีค่ายแตก บรรดาบาทหลวงและคนเข้ารีดถูกจับเป็นเชลย หลังกรุงแตกบางส่วนถูกกวาดต้อน บางส่วนสามารถหลบหนีไปได้ครับ (ดูคลิปในตอน โบสถ์ยอแซฟ ในสงครามเสียกรุง 2310)
- ส่วนชุมชนญี่ปุ่นในตอนปลายค่อนข้างเบาบางไปแล้ว เพราะหมู่บ้านโดนทำลายไปตั้งแต่สมัยพระเจ้าปราสาททอง เหลือญี่ปุ่นส่วนน้อยที่ถูกกลืนเข้าสู่ระบบราชการของอยุธยา และมีชุมชนที่ไม่แน่ชัดไปแล้วว่ารวมกลุ่มกันอยู่ตรงไหน เพราะตอนปลาย หมู่บ้านญี่ปุ่นเดิมกลายเป็นชุมชนของคนญวน ครับ
@@HiddenAyutthaya โอ้ว ขอบคุณมากๆเลยครับ # ติดตาม เป็นกำลังใจให้นะครับ
@@chatchai9111 ยินดีครับ และก็ขอบคุณที่ติดตามเช่นกันครับ ^^
ไปชุมชนกุฎีจีนมาเป็นชุมชนชาวโปรตุเกสที่ช่วยพระเจ้าตากฯรบกับพม่าจึงพระราชทานที่ดินให้ตั้งบ้านเรือนที่ชุมชนกุฎีจีนมีวัดซางตาครูสฯเป็นศูนย์รวมในชุมชนมีพิพิธฯท้องถิ่นของเอกชน ความเป็นมาของชุมชนโปรตุเกส และมีร้านอาหาร ของ ลูกหลานชาวโปรตุเกส ให้ได้ไปลองชิมดู แวะไปเที่ยวได้ค่ะ
@@oratiptessiri8885 ขอบคุณสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมครับผม^^
ดีมากๆ ขอบคุณครับ
ขอบคุณเช่นกันครับ^^
มาทักทายเผื่อไว้ดูยามว่างครับ
ขอบคุณครับ^^
ชื่นชอบมากครับ
ขอบคุณครับผม😄
ถ่ายทำดี ดำเนินเรื่องดี น่าติดตามครับ
ขอบคุณครับผม ^^
เรายังต้องหา มหาธาตุนอกเมืองเเละตลาดหน้าพระธาตุกันต่อครับ
น่าสนใจ ขอศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมอีกนิดครับ ^^
@@HiddenAyutthaya ไว้ไปหากันครับ
เข้าใจ เห็นภาพชัดเจน สาธุ
ขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่งครับ
ขอบคุณมากครับ♥️♥️♥️♥️♥️
ขอบคุณที่ติดตามกันมาตลอดครับ🙂
ขอขอบพระคุณเจ้าของที่ และพี่นำพาไปชมด้วยครับ
ครับผม ขอบคุณครับ😄
❤❤❤❤😊😊😊
ขอบคุณครับ
ขอบคุณมากครับ..ช่วยให้ผมกระจ่างในประวัติศาสตร์ยิ่งขึ้น
ขอบคุณเช่นกันครับ :)
พระพักตร์เศร้าหมองมากเลย…อนิจจา….ทุกสิ่งทุกอย่าง อุบัติ ตั้งอยู่ แล้ว ดับไป
เป็นไปตามสัจธรรมของพระพุทธองค์ครับ
ตอนนี้เป็นช่องโปรดไปแล้ว กด👍ให้เลยครับ
ขอบคุณมากๆ เลยครับ ^^
เออกลายเป็นพื้นที่ส่วนบุคคลเฉย
วัดร้าง ที่ไม่เหลือเค้าโครงของอาคาร มีเพียงซากอิฐกระจัดกระจายบนพื้น ถือว่าหมดสภาพความเป็นโบราณสถาน พื้นที่พวกนี้ ส่วนใหญ่จะขึ้นทะเบียนกับสำนักงานพระพุทธศาสนาครับ และ สนง.ก็จะใช้พื้นที่นี้เป็นประดยชน์แก่สาธารณะชนโดยการปล่อยเช่น ถ้าบ้านไหนที่เข้ามาเช่าเห็นคุณค่าของโบราณสถานโบราณวัตถุ เขาก็จะดูแลไว้อย่างดีครับ
admin อุตสาหะมากในการทำคลิปเยี่ยมสุดยอดสนับสนุน
ขอบคุณมากๆ เลยครับ😄
มาแล้วพี่จ๋า Hidden Ayutthaya ที่หนูอยากดู
ขอบคุณครับ😄
รอติดตามชม EP ต่อไปครับ
ขอบคุณครับ :)
ข้อมูลดี ตัดต่อดี ดนตรียอดเยี่ยมเล่าเรื่องไปเรื่อยๆ ชื่นชมและติดตาม ครับ
ขอบคุณครับ😄
มาแล้วๆ ตัดคลิปได้ดีครับพี่ เข้าใจง่ายดี เห็นภาพเลย เป็นกำลังใจให้ทำต่อไปครับ🙏🙏🙏🙏🙏🙏
ขอบคุณครับผม
ขอบคุณมากครับอาจารย์ที่ให้ความรู้มาโดยตลอด. ติดตามครับ
ขอบคุณครับ :)
อยากให้บรรยายชีวิตผู้คนตอนกรุงเเตกบ้างคับ
ไว้มีโอกาสเล่าพร้อมกับการสำรวจวัดที่เกี่ยวข้องนะครับ ^^
โหพึ่งได้เห็นภาพพระหินทรายวัดนี้ชัด ๆ ก็วันนี้เลยครับพี่
ต้องขอบคุณท่านเจ้าของบ้านที่ช่วยดูแลรักษาไว้เป็นอย่างดีครับ
สงสัยมาก ทำไม เอกชนไปจับจองที่วัดโบราณได้ จนได้กรรมสิทธิ์ครอบครอง
แต่เดิม หลายสิบปีก่อนที่คนจะรู้จักถึงแนวทางการอนุรักษ์ วัดร้างที่มีหมดสภาพความเป็นพื้นที่ๆ อยู่ในความดูแลของสำนักงานพระพุทธศาสนา ส่วนวัดร้างที่ยังมีสภาพเป็นโบราณสถาน หมายถึงยังมีเจดีย์ วิหาร อุโบสถ ก็จะมีหน่วยงานอย่างสำนักศิลปากรเข้าไปดูแล ส่วนใหญ่ วัดที่กรมศิลป์ดูแล ก็จะได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานและได้รับการคุ้มครอง ย้อนกลับไปหน่วยงานแรก คือสำนักพุทธฯ เนื่องจากพื้นที่วัดร้างได้หมดสภาพความเป็นทั้งวัดและโบราณสถานไปอย่างสิ้นเชิง ทางสำนักพุทธฯ จึงใช้ประโยชน์จากพื้นที่เหล่านี้ด้วยการหารายได้ นั่นก็คือการปล่อยเช่าให้แก่เอกชนนั่นเองครับ จึงเป็นที่มาของคำถามที่ว่า ทำไม จึงสามารถปลูกบ้านบนพื้นที่วัดร้างได้ ทีนี้วัดร้างจะมีสภาพเหลืออยู่เท่าไร ก็อยู่ที่ผู้เช่าหรือเจ้าของบ้านเองว่าจะเห็นคุณค่าสิ่งของโบราณที่เหลืออยู่มากน้อยเท่าใดครับ
ค่ายเนเมียว เส้่นทางแม่น้ำมะขามเฒ่า มีวัดเขาดินอยู่นะครับท่าน ruclips.net/video/u4GRJrCHTaY/видео.html
ทัพใหญ่ของเนเมียวฯ จะใช้เส้นทางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นทางหลัก ไหลลงมาตั้งแต่นครสวรรค์ ชัยนาท สิงห์บุรี จนถึงอ่างทอง ก็จะเลี้ยวเข้าแม่น้ำปะคำทอง (คลองบางแก้ว) ที่ไหลแยกออกมา แล้วมาบรรจบกับแม่น้ำลพบุรีในเขตบางปะหัน แล้วจากจุดนี้ก็จะลงมาจนถึงปากน้ำประสบครับ ส่วนเส้นลำน้ำมะขามเฒ่านี่ยังไม่มีข้อมูลครับว่าเป็นเส้นทางเดินทัพพม่าหรือเปล่า แต่ก็ไม่แน่อาจจะเป็นอีกเส้นหนึ่งที่ทัพย่อยแยกออกจากทัพใหญ่ของเนเมียวฯ ลงมาทางอุทัยฯ ชัยนาท, เขานางบวช ซึ่งอาจเป็นทัพที่มาปะทะกับค่ายบ้านระจัน หรือบางระจัน ในสิงห์บุรีที่เรารู้จักกันดีครับ :)
Can you do one on Wat Na Phra Men and exploring how the temple looked like before Rama III’s restorations in the Early Rattanakosin Period? And why is Wat Na Phra Men’s Buddha image the only Buddha image of its style (with the headgear and kingly decorations) that it’s in perfect condition? Like was it covered in stucco like the Golden Buddha of Wat Tramit, since the Burmese didn’t loot it or did the Rattanakosin monarchs decide to only restore that one Buddha image with the late Ayutthaya style? What do the Thai records say?
Thank you, It's a very interesting issue.
งึดหลายเจ้าหน้าที่ๆดินอยุธยาสามารถออกโฉนดโบราณสถานให้เอกชนครอบครอง😂😂😂😂
มันอยู่ในความดูแลของสำนักพุทธน่ะครับ ซึ่งต่างจากกรมศิลป์ อันนี้ต้องดูเป็นกรณีๆ ไปครับ
เวรกรรมที่พม่าทำกับอยุธยาพม่าจึงประสบภัยสงครามไม่มีวันสงบสุขมันโดนคำสาปของพระบาทสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ไม่มีวันที่จะหลุดพ้นคำสาปนั้นไปได้ตราบกาลปราวสาน
มันไม่มีเวรกรรมในประวัติศาสตร์ของทุกประเทศหรอกครับ ไทยเราเองก็ไปตีบ้านเมืองนั้นนี่ พรากครอบครัวเขาแตกสลายก็หลายคราว หรืออย่างเยอรมันก่อกรรมทำเข็ญกับประเทศต่างๆ ในสงครามโลกไว้ตั้งเยอะ ปัจจุบันเขากลายเป็นประเทศที่เจริญ คนมีคุณภาพ จริงๆ มันอยู่ที่คนยุคปัจจุบันต่างหากครับ ว่าเขามีสำนึกในการสร้างชาติสร้างคนให้มีคุณภาพยังไง