Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
มีใครเข้าใจเรื่องก๋วยเตี๋ยวเรือ สีช็อคโกแลต ของแหวนมั้ย? ก๋วยเตี๋ยวเรือที่ไหนหวาน 😂 แหวนไปกินที่ไหนมาาา หรือจริงๆก๋วยเตี๋ยวเรือมันหวาน หรือจริงๆแหวนหมายถึงอะไร ยังงงอยู่เลย 55555555
น้ำก๋วยเตี๋ยวสีเหมือนช็อคโกแลตรีเปล่าคะ😁
อยากให้พูดถึงที่มาของอาหารเหล่านี้ ขนมจีน ขนมโตเกียว ลอดช่องสิงคโปร์ กะหรี่ปั๊บ ข้าวผัดอเมริกัน
จริงๆหลายๆร้านก๋วยเตี๋ยวเรือก็หวานนะคะ
น่าจะเป็นน้ำตกหรือเปล่าเพราะใส่เลือดพอออกมาสีจะออกเป็นน้ำตาลๆดำๆ
น่าจะเป็นก๋วยเตี๋ยวน้ำตก เขาใส่เลือดสดจึงทำให้สีเข้ม ไปทางช็อกฯ แดงเข้ม หรือไปทางดำ..
ส้ม หมายถึงความเปรี้ยว แปลว่าเปรี้ยว เป็นความเปรี้ยวที่สดใสสดชื่น ไม่เปรี้ยวจี๊ดจ๊าด เปรี้ยวปรี๊ดเหมือนมะนาว และจริงๆ ส้ม ที่เป็นผลไม้สมัยก่อนก็มีรสเปรี้ยว ปรับปรุงพันธุ์จนมีรสเปรี้ยว-หวาน จนมีแต่รสหวานในปัจจุบันมีอาหารหลายอย่างเลยที่มีรสเปรี้ยวจะใช้คำว่า ส้ม เช่น แกงส้ม ปลาส้ม ตำส้ม ส้มตำ ฯหรือในชื่อของพืช ต้นส้มป่อย ใบส้มป่อย อาจจะมีอีกแต่นึกไม่ออก ซึ่งในอาหารเหล่านี้ก็ไม่ได้เปรี้ยวมากนัก เป็นความเปรี้ยวที่ติดตรึงใจอยากกินอีก ไม่ใช่เปรี้ยวเข็ดฟัน เข็ดขยาด นำไปใช้ในสีสัน สีส้ม ก็ให้ความรู้สึกเปรี้ยวสดใส
ถูกต้อง อะไรที่มีรสเปรี้ยว เราจะเรียกส้ม
ตามนี้ค่ะ เมนท์นี้ถูกต้อง
เม้นท์นี้ถูกใจและถูกต้อง
ปังมากกก ชอบความเปรี้ยวสดใสสดชื่น อ่านแล้วรู้สึกอยากกินน้ำส้มเลยค่าา 😆
อธิบายได้ดีเลยค่ะเหตุผล
แกงเขียวหวาน คือลักษณะสีของแกงแกงที่มีสีเขึยวอ่อน ๆ คำว่าหวานในสมัยก่อน จะเอาไว้ขยาย คำนามหน้า เพื่อขยายความมากขึ้น ส่วนข้าวผัดสับปะรด ไม่น่าจะมากจากแนวคิดคนจีน น่าจะคนไทยนี่แหละ เพราะสัปปะรด มีในอาหาคาวมานานแล้ว เช่น แกงสับปะรด ผัดเปรี้ยวหวาน และในปัจจุบัน ส้มตำ ที่มีหลากหลายเมนู ก็เริ่มมีเมนูใหม่แล้วคือ หมูตกครก คือวิธีคล้ายส้มตำแต่ใส่หมูย่างมาใส่แทนมะละกอ คนไทยชอบคิดปรับประยุกต์ไปเรื่อยๆ
ข้าวผัดสับปะรด เกิดขึ้นช่วงหลังนี้เอง เป็นเมนูที่อาจารย์หมึกแดงหรืออาจารย์ยิ่งศักดิ์ไม่แน่ใจ คิดค้นนำผลผลิตจากเกษตรกรคือสับปะรดที่ล้นตลาดมาแปรเป็นอาหารคาวและอร่อยจนทำขายได้ ติดตลาดนักท่องเที่ยวจนทุกวันนี้
@@piyarut10ข้าวผัดสัปปะรดของต่างชาติ มีอยู่แล้ว แต่รสชาติต่างกัน มีคนไทยไปเจอมาแล้วเอาความคิดมาให้พ่อครัวไทยผลิตแบบรสชาติไทยๆขึ้นมา
แกงเขียวหวาน ก็ต้องหวานสิ มันเป็นของภาคกลางชาววัง ชาววัง ส่วนใหญ่ จะชอบกินหวาน อาหารชาววัง จะมีหวานเยอะ ช่วงหนึ่ง แกงหลักๆเป็นของแขก ภาคใต้จะมีความรู้พวกมะพร้าวกับกะทิ กลายเป็นแกงกะทิแบบไทยๆ แต่ส่วนใหญ่สีแดง เหลือง ส้ม แล้วเผ็ด ชาววังที่ชอบหวานไม่เผ็ด ก็หาทางทำแกงที่ มันเหมาะกับบ้านเรา ซึ่งบ้านเรามันร้อน กินสีแดงๆเหลืองๆเผ็ดๆ ทำไม ถึงทำมาแบยไม่เผ็ด แล้วสีแบบเย็นๆ ซึ่งก็คือ แกงเขียวหวานที่มีหวานนำโดย ชาววัง แต่หลังๆ มันชาวบ้านไปทำให้มันเผ็ด ตอนเด็กๆกินเผ็ดๆกันได้เหรอ
@@bmonthatipkul แต่เชฟป้อมบอกว่าสูตรขาววังคือกลมกล่อม รสไม่จัด ถ้าหวานคือเข้าใจผิดครับ แล้วตามต่างจังหวัด แกงเขียวหวานต้องเค็มนำแล้วหวานตามครับ ผมไปกินแทบทุกภาคเป็นแบบนี้หมด ยกเว้น กทม และปริมณทล นี่แหละ ที่หวานนำ ไม่อร่อยเลย
@@Prapatpong-f9kไม่เข้าใจผิด แกงเขียวหวาน ถูกสร้างมาจากความต้องการ ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัง ไม่กินเผ็ด แล้วติดหวานในยุคหนึ่ง มัน ถึงมีอาหารหวานหลายชนิด ในช่วงหนึ่ง เพราะความจริง ชาววังก็ไม่ได้กินหวาน
ชื่อแกงเขียวหวานเกิดจากสีเขียวอ่อนหรือเขียวพาสเทล คนโบราณไม่มีคำเรียกเลยเรียกว่าเขียวหวาน มีรสเผ็ด เค็ม เป็นอาหารเปอร์เซียที่เอามาปรับปรุงใหม่ส่วนส้มตำ เกิดจากการที่เอาคำมาจากอาหารอีสานคือตำส้ม เป็นการเอาผลไม้รสเปรี้ยวอื่นๆมาตำและปรุงรส ส่วนมะละกอเพิ่งมามีในสมัย ร.5 โดยชื่อมะละกอเป็นผลไม้ที่นำมาจากเมืองมะละกา เลยเรียกว่า ลูกมะละกอและนำมาทำส้มตำไทยแท้ในตำรับสายเยาวภา คือ ข้าวมันส้มตำ ส่วนส้มตำที่เป็นของอีสานที่ใช้มะละกอประกอบจนนิยมในปัจจุบันนี้เกิดจากการที่มีการนำไปปลูกข้างถนนแล้วมีคนนำไปปลูกในภาคอีสานแล้วเอามาทำส้มตำครับพี่เพชร
หวานมาก😢
อาหารเปอร์เซีย ตอนนี้คือ ตุรกี ใช่ไหม 😅
@@GipPigsintu ชาวเปอ์เซียคืออิหร่านครับส่วนตุรกีคือชาวเติกร์
มัสมั่นเราก็รับมาจากแขกเปอร์เซีย แต่ต้นตำรับเป็นแกงอินเดีย แล้วดัดแปลงให้อร่อยคนไทย แต่กลายเป็นอาหารระดับโลก ได้อันดับหนึ่งหลายปีซ้อน มัสมั่น = มุสลิมมาน
ขอบคุณสำหรับข้อมูลคับผมมม 👏🏻👏🏻👏🏻
ก๋วยเตี๋ยวเรือในกรุงเทพ บางร้านก็หวานจริงค่ะ เหมือนก๋วยเตี๋ยวใส่น้ำเชื่อมเลย เลิกกินก๋วยเตี๋ยวเรือไปเลยเพราะเจอแบบหวานๆนี่แหละ
หูยยย เพชรยังไม่เคยเจอก๋วยเตี๋ยวเรือหวานๆเลยค่ะ นึกรสชาติก๋วยเตี๋ยวเรือหวานไม่ออกเลย 😆
@@PetchZ แบรนด์ดังแปลกๆชื่อดังในห้าง ก็หวานครับแต่ไม่มากลองไปโลคอลหลายๆร้าน หวานจนงง สั่งแห้งคือใส่น้ำตาลมาเป็นเม็ดๆเลยครับ ฮ่าาาาาาาาา555+
กับข้าว ข้าวแกงหลายๆอย่างด้วยไม่ใช่แค่ก๋วยเตี๋ยว จะมีติดหวาน
@@MasumiHakuCookในครัว มีโรคประจำตัว~>เป็นเบาหวาน รสลิ้นติดออกหวาน จึงทำอาหารไปทางแนวหวานโดดเด่น
คนไทยส่วนมาก มีโรคประจำตัว~>เป็น~>เบาหวาน.
ชอบที่น้องๆเป็นคนรุ่นใหม่ ที่หาข้อมูล ที่มา ของแต่ละอย่าง อาจจะมี คลาดเคลื่อนไปบ้าง ก็ไม่เป็นไรดีกว่าไม่รู้แล้วเดากันไปเรื่อยจนทำให้คนต่างชาติเข้าใจผิดตาม ได้ทั้งความสนุกและสาระชื่นชมครับ
ขอบคุณนะค้าา 🥰
สองคนนี้คุยกันน่ารักมากๆ แหวน+เพชร=แหวนเพชร ลงตัวสุดๆ
แหวนพูดไทยชัดขึ้นมากๆ ติดตามน้องสองคนทุกคลิป ได้ทั้งสาระและบันเทิง
ผัดไทยไม่ได้มาจากจีน แต่สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม อยากเอาเส้นก๋วยเตี๋ยวของจีนมาทำอาหารไทย จึงให้แม่บ้านนายทหาร และข้าราชการระดับสูงมาช่วยกันคิด ได้ออกมาว่า ใส่เส้นก๋วยเตี๋ยว กุ้งแห้ง ไข่ อาจมีเต้าหู้ด้วย ใส่ใบกุยฉ่าย นำ้มะขามเปียก น้ำตาลทราย มะนาว น้ำปลา ไม่ใส่ หมู หรือเนื้อสัตว์อื่น
ไปหาข้อมูลมาใหม่ ผัดไทยไม่ได้เกี่ยวอะไรกับตาแปลก ผัดไทยมีมาก่อนจอมพล ป เป็นนายยกแล้ว มันคือผัดเส้นก๋วยเตี๋ยวแบบไทย ที่แปลงมาจากผัดก๋วยเตี๋ยวแบบจีน เค้าถึงได้เรียกว่า ผัดไทย มาจาก ก๋วยเตี๋ยวผัดแบบไทย
น้องแหวนครับ แกงเขียวหวาน เพราะมันมีสีเขียวและปรุงให้มีรสหวานนำหน้ารสอื่นๆนิดๆ ส่วนส้มตำ หมายความว่าเอาของที่มีรสเปรี้ยว(ส้ม)นำมาใส่ครกแล้วตำรวมกัน ถ้าใช้ตำส้มจะหมายความว่าเอาส้มมาใส่ครกแล้วตำจ่ะ
ไม่ใช่ครับ ผิดไปไกล ไม่ใช่เรื่องรสชาติครับ มันเรื่องของสี คำว่าหวานภาษากลางเอามาขยายความเรื่องสีครับ
มันหมายถึงสีเขียวหวานจ้า
ไม่นะครับ... คนเหนือเราเรียกส้มตำ ว่า ตำส้ม (มาตลอด)
ถูกครับ ตัมส้ม ภาษาอิสาน หมายถึงเปรี้ยว ตัม ที่มีรสเปรี้ยวนำ
เชฟป้อมบอกในรายการ masterchef นะคะ เขียวหวาน คือ สีเขียวหวานๆ เขียวอ่อนๆ 😊
ไอติมขนมปัง//ต้มข่าไก่//แกงเขียวหวาน//ข้าวผัดสับปะรด//ข้าวกระเพรา//ต้มยำกุ้ง//ข้าวเหนียวมะม่วง//ส้มตำ//ผัดไท//ปูผัดผงกระหรี่
มาแล้วลูกสาวสองคน หายไปนานเลย นี่แหละสี่งที่อยากเห็นคือลูกสาวคนเก่งสองคนมาออกพร้อมกัน .....รัก รัก รัก นะ
เก่ง ฉลาด รู้จักพูด สมเป็นคนไทยเชื้อสายจีน ที่ตกผลึก เรื่องตัวตนของตัวเอง ขอให้เจริญทั้งครอบครัว ขอบคุณครับ 👏👏👏
มีครับก๋ยวเตี๋ยวหวาน แถวบ้านผม สมัยก่อนท้องถิ่นคนทำงานสวน ทำน้ำตาลมะพร้าวเป็นงานหนักมาก มื้อเย็นกินข้าวแล้วก็ยังรู้สึกโหย(อีกระดับของความหิว)เหมือนมันขาดอะไรสักอย่าง คงคล้ายคนติดกาแฟนั่นแหละ จึงต้องมีของหวานตามมาด้วยทุกวันแม้ง่ายๆ เช่นไข่หวาน บัวลอย ต้มถั่วเขียว ถั่วดำ ข้าวเหนียวเปียก สาคูเปียก ฯ ก็เลยกลายเป็นความเคยชินของคนในท้องถิ่น แม้ยุคหลังๆมาก็ยังมีร้านที่ทำรสหวาน จนคนรุ่นใหม่บอกว่าหวานมาก แต่เขาก็ยังขายได้อยู่นะ..
"ก๋วยเตี๋ยวเรือสีช็อคโกแลต" น่าจะเป็นสีของก๋วยเตียวเรือน้ำตก(ผสมเลือดหมูสด)สีมันจะออกน้ำตาลความเข้มข้นขึ้นอยู่แต่ละร้าน ส่วนเรื่องความหวาน ปกติน้ำก๋วยเตี๋ยวจะมีความหวานในตัวอยู่แล้วเกิดจากส่วนผสมของน้ำสตอกถ้าลองกินแบบไม่ปรุงมันจะมีความหวานออกมาคับความหวานที่กลมกล่อมบ่งบอกถึงคุณภาพของน้ำก๋วยเตียว
น่าจะเป็นก๋วยเตี๋ยวหลอดครับ
น่ารักมากๆ คนจีนคนไทยรุ่นใหม่แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน ไทยพูดจีน จีนพูดไทย อาหารจีนในไทยก็เอาข้อเด่นของอาหารไทยไปประยุกต์ อาหารไทยก็เอาข้อเด่นของอาหารจีนมาประยุกต์ (อินเดียอย่าน้อยใจนะอาการอินเดียก็ด้วย) อาหารไทย ร่วมทั้งอาหารจีนในไทยจึงโดดเด่นขนาดนี้ ❤❤❤❤❤
สมัยเป็นเด็กๆสิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับอาหารบ่าย(ข้าวเที่ยงแต่อีสานเรียกข้าวสวย(สาย))คือตำบักหุ่ง เวลาดำนาเสร็จตอนบ่ายๆ แม่จะเป็นคนมาเตรียมอาหาร บางครั้งผมก็มาช่วยแม่สับบักหุ่ง(มะละกอ) คิดถึงสมัยนั้นจังเลยครับ ตอนเป็นเด็กเริ่มจำความได้ แม่จะเป็นคนดูดเอาพริกออกจากเนื้อบักหุ่งแล้วค่อยป้อนให้เรากิน ตอนนี้ผมเหลืออีกสองปีก็จะเกษียณ ใกล้จะได้หนีจากเมืองกรุงไปใช้ชีวิตที่บ้านเกิดแล้วหละครับ.....
ความหวาน จริงๆ มันมาจะกะทิสดครับผม ในสมัยก่อนคนไทยทำอาหารใช้ความหวานจากกะทิ เพราะน้ำตาลทรายหายากและมีราคาแพง
น้ำตาลมะพร้าว ตาลโตนดก็มีครับ
น้ำตาลปึกครับ
น้ำตาลบ้านเราสมัยก่อนไม่ได้หายากแบบยุโรปสมัยก่อนนะคะรับ
น้ำตาลทรายหายากจริงครับ เพราะสมัยก่อนเป็นของที้้ฝั่งอินเดียคิดค้นและผลิตขายหลายประเทศจึงต้องนำเข้า ชนชั้นสูงและคนรวยจึงจะได้ใช้ได้กิน ดังนั้นจะเห็นได้ว่าเมื่อก่อนนี้ คนที่ต้นตระกูลรวยหรือตระกูลมียศมีศักดิ์หน่อย มักจะชอบทานอาหารรสหวานนำแต่จริงๆขนมหวานไทยโบราณ ใช้น้ำตาลมะพร้าว น้ำตาลโตนดในการทำครับเพราะเป็นของที่ชาวบ้านผลิตได้เองเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิม ที่มีมาก่อนน้ำตาลทรายไม่ใช่แค่ความหวานจากกะทิ แต่ทุกวันนี้ใช้น้ำตาลทรายเพราะหาง่าย
สมัยก่อนไม่มีน้ำตลาดจากอ้อย เพราะอ้อยมาจากอเมริกาใต้ มะละกอ+สับปะรด ก็มาจากอเมริกาใต้
อาหาร ไม่ใช่เป็นเพียงอาหารรับประทาน แต่เป็นวัฒนธรรม วิธีคิด วิถีชีวิตและกระบวนการดำรงชีวิตของคน กลุ่มคนในอต่ละพื้นที่ อาหารจึงมีลักษณะเฉพาะมากๆ(unique) แม้ว่าคนต่างวัฒนธรรมจะมีสูตรและส่วนประสมของอาหารแต่ละชนิดจากคนต่างวัฒนธรรมก็ไม่สามารถทำได้รสชาติเหมือนต้นฉบับ หมายความว่า มีความแตกต่าง แต่ก็อาจ"อร่อย"หรือถูกปากคนจำนวนไม่น้อยก็ได้ อย่างไรก็ตาม วัฒนธรรมเปลี่ยนแปลง เรียนรู้ได้ อาหารก็อาจเปลี่ยนแปลงได้เสมอครับรศ.ดร.เสนีย์ คำสุขอาทิตย์ที่ 9 มิถุนายน 2567
เคยกินหน่อไม้ ไหมแนะนำ- ผัดเผ็ดหน่อไม้ดอง- ผัดหน่อไม้ใส่ไข่หมูสามชั้น- ต้มจืดหน่อไม้ซี่โครงหมู
ผมเป็นเบาหวานได้เลิกกินน้ำตาลและได้รู้ว่าอาหารไทยหวานครับ แกงเขียวหวานนี่หวานจริง ก๋วยเตี๋ยวส่วนใหญ่หลายร้านออกหวาน ยิ่งอาหารตามสั่งร้านไหนวัยรุ่นกินเยอะไปลองดูหวานทั้งนั้น กระเพรายังหวาน
ต้มข่าไก่ยืน 1 เช่นกันครับคุณเพชร ส่วนเมนูแนะนำที่ห้ามพลาดนั่นคือ พแนงไก่/หมู ,แกงฮังเล,ข้าวซอยเนื้อ....อ่อคับ อาหร่อยยยยย
ภาษาใต้เก่าแก่เองก็เรียกรสเปรี้ยวว่า "ส้ม" เหมือนกันครับ ไม่ใช่แค่ภาษาลาวหรือภาษาอีสานทุกวันนี้ถ้าฟังคนอายุเยอะหน่อย 35+ ที่บ้านใช้ภาษาใต้เป็นหลักพูด จะได้ยินเขาเรียก มะนาว ว่า ส้มนาว มะขาม ว่า ส้มขาม ฯลฯ หรือน้ำปรุงรสเปรี้ยวชนิดนึงที่ทำจากน้ำจากต้นตาลโตนดที่ใช้กันมากในภาคใต้ ก็ถูกเรียกว่า น้ำส้มโหนด เหมือนกัน เวลาพูดถึงของเปรี้ยว ก็จะใช้คำว่า "ส้ม" แทน เกือบหมดเลย เช่น ถามว่าต้มยำเปรี้ยวไหม ?ก็จะถามเป็น ต้มยำส้มไหม ? หรือเวลาจะบอกว่าอะไร เปรี้ยวจัง เปรี้ยวเกินไป ก็จะพูดเป็นส้มจัง ส้มแรง จริงๆถ้ามองดีดีภาคกลางเองก็มีของบางอย่างที่มีรสเปรี้ยวหรือกลิ่มเปรี้ยวๆถูกเรียกว่าส้มอยู่เหมือนกันนะ เช่น น้ำส้มสายชู น้ำส้มควันไม้ แกงส้ม ปลาส้ม ฯลฯ นั่นอาจสรุปได้ว่าเดิมที คำว่า ส้ม อาจจะเป็นรากศัพท์จริงๆของภาษาไท โดยรวมเลยไม่ใช่แค่ในภาษาถิ่น แล้วคำว่า เปรี้ยว นั้นเกิดขึ้นภายหลังและถูกใช้แพร่หลายในยุคที่มีการกำหนดภาษากลางเพื่อป้องกันการสับสนกับชื่อผลไม้ แต่ก็ยังเหลือร่องรอยรากศัพท์อยู่ตามชื่อเรียกของต่างๆในภาษาถิ่นอยู่ปล.ที่น่าจะแปลกหน่อย คนใต้จะเรียกรถขายผลไม้ว่า "รถส้ม" ด้วยครับ เพราะส่วนมากจะมีผลไม้รสเปรี้ยวมากกว่าผลไม้รสหวาน ทั้งๆที่แทบไม่มีคันไหนขายส้มเลย 😂
จริงๆภาษาไทยกลางโบราณก็มีหลายคำที่ใช้เหมือนกันกับภาษาอีสานซึ่งน่าจะเป็นภาษาแบบเก่าซึ่งคนภาคอื่นไม่ค่อยใช้แล้วมันเลยกลายเป็นว่ามันเป็นภาษาอีสานทั้งที่จริงเป็นภาษาไทยดั้งเดิมด้วย
@@zenithchan581ภาษาอีสานมาแต่ไหนอีก คำว่าอีสานมันคือชื่อทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
@@zenithchan581คนอีสานส่วนใหญ่ที่เขาพูดกันมันคือภาษาลาว มันจะมาทงมาไทยอะไร ภาคอีสานสมัยก่อนมันเป็นอาณาจักรล้านช้าง
@@thedarklord4951 หมายถึงบางคำ คิดว่าคำที่ใช้ร่วมกันมันก็เป็นภาษากลุ่มไทกระได ถ้าคุณดูละครย้อนยุครึอ่านหนังสือเก่าๆคุณจะรู้ว่ามีภาษาที่ปัจจุบันไม่ใช้แล้วอยู่ในคำที่คนอีสานก็ยังใช้กันอยู่หลายคำ คำใหม่ที่ถูกกำหนดให้ใช้และที่ถูกยกเลิกสมัย จอมพล ป.ก็มียุคนั้นนักเขียนยังปวดหัวที่ต้องไปใช้คำใหม่ๆ แทน ถ้าคุณไม่สักแค่เถียงแล้วไปศึกษาประวัติศาสตร์คุณคงจะเข้าใจอะไรมากขึ้น
@@zenithchan581 ภาษาไทยในปัจจุบัน เป็นภาษาไทกะไดผสมเขมร บาลี-สันสกฤต มันเลยไม่เหมือนที่อื่นเขา
สัมตำเกิดจากชุมชนคนอีสานในกรุงเทพมหานครครับ แล้วจึงแพร่ไปทางอีสานไทยอีกที จะเห็นว่าลาวทำส้มตำไม่เก่งเพราะเป็นวัฒนธรรมไทยแท้จากคนอีสานใน กทม. มะละกอ เพิ่งมีในประเทศไทยตอนปลายอยุทธยาถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มาจากอเมริกาใต้
ไม่ใช่เลยครับ คำว่าส้มตำอิสานเรียกตำส้มหมายถึงการเอาผลไม้ดิบมาตำ ปรุงรสด้วยน้ำปลาร้าและมะนาวทำให้มีรสนัวๆเปรี้ยวๆ ส่วนมากจะใช้มะละกอ ช่วงไม่มีมะละกอจะใช้ปลีกล้วย ผลกล้วยตานีดิบ ถั่วฝักยาว แตง ทุกอย่างเรียกว่าตำส้มหมดเพราะคำว่าส้มหมายถึงเปรี้ยว
ส้มตำมีกำเหนิดจากภาคกลางค่ะจากในวังข้าวมันส้มตำกินกับเนื้อฝอย ตามประวัติศาสตร์จากนั้นก็มีการดัดแปลงไปเรื่อยๆ ตำส้มอีสานสมัยก่อนมีแค่พริก ปลาร้า และมะละกอเท่านั้น เมื่อมาขายให้คนกรุงเทพก็ดัดแปลงใส่มะเขือเทศ ถั่วฝักยาว กุ้งแห้ง มะนาว น้ำตาลปิ๊บลงไป ก็ได้รับความนิยมไปทั่วประเทศ ❤
ข้าวมันส้มตำ เรียกได้ว่าเป็นเมนูไทยโบราณที่หากย้อนกลับไปหลายสิบปีก่อน ชาวไทยภาคกลางก็มีเมนูข้าวมันกับส้มตำไทยอยู่แล้ว ก่อนจะเกิดการผสมผสาน และสร้างสรรค์เมนูส้มตำใหม่ๆ ขึ้นมาจากคนไทยอิสานที่ย้ายมาทำงานในเมืองกรุง หากสืบย้อนกลับไปยังเจอเมนูข้าวมันส้มตำในตำราอาหารอีกด้วย ‘ข้าวมันส้มตำ’ ปรากฏอยู่ในตำราอาหาร ‘ตำรับสายเยาวภา’ ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท พระธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
มันส้มแข่ว แปลว่า เข็ดฟัน น่าจะมาจากรสชาติของมะละกอดิบที่คนสมัยนั้นเริ่มเคยกิน
ชุมชนที่ว่าคือ แรงงานอิสานในสมัยก่อน ก็ไม่เข้าใจทำไมคนอิสานสมัยนั้นทำไมไม่ค่อยจบสูงๆกัน ต้องมาทำแรงงานแต่เดียวนี้ไปเกาหลีกันหมด ใครรู้มาบอกที
ดีมากเลย คิดถึงแหวน คอนเท้นก็สนุกน่าสนใจ
แหวนพูดไทยชัดมากครับ.น่ารักสุดๆเลยครับ.💝💝👍👍👌👌👌👌
น้องแหวนหมายถึงก๋วยเตี๋ยวต้มยำรึเปล่าคะ เปรี้ยวๆหวานๆ
ขอเสริมนิดครับ แกงเขียวหวาน ที่น้องแหวนพูดมีส่วนถูกครับ คือมันอาจจะไม่หวานมากหรือหวานมากก็ได้ แต่แกงเขียวหวานจะเน้นรสชาติแรกคือหวานนำครับ ส่วนจะหวานมากหวานหรือน้อยก็แล้วแต่ความชอบครับ แต่ต้องให้รสหวานเป็นตัวนำ ส่วนเขียวเป็น ที่พริกแกงครับ เป็นพริกแกงสีเขียว อันนี้คือที่ผมรับรู้มานะสำหรับแกงเขียวหวาน สมัยนี้บางร้านก็จะเอาพริกแดงผสมด้วยก็มี แต่เดิมทีคือพริกแกงจะเป็นสีเขียว และมีรสหวานนำครับ(นอกจากรสที่เผ็ดนะ เพราะคำว่าแกงยังไงรสเผ็ดก็ต้องมีอยู่แล้ว) ผมเลยใช้คำแค่ว่าหวานนำ
น้องแหวน อย่างเก่งที่ออกเสียงต้มข่าไก่ ได้ชัดเจน
ส้มหมายถึงเปรี้ยว ในภาษาไต-กะได อะไรที่เปรี้ยวๆ เราจะเรียกว่าส้ม เช่น ส้มพอดี (กระเจี๊ยบ) ปลาส้ม ตำส้ม ฯลฯ ผมไม่แน่ใจว่าทำไมตอนหลังเราถึงเปลี่ยนมาใช้คำว่า "เปรี้ยว" อาจจะยืมมาจากภาษาอื่น ไม่ใช่คำไทแท้ก็ได้ ส่วนแกงเขียวหวานนั้นเขาจะใช้พริกเขียวอ่อนในการทำพริกแกง สีจึงออกเขียวๆ และมักจะทำให้รสออกหวานๆ นิดหน่อย จึงเรียกว่าแกงเขียวหวาน
ดูเป็นเพื่อนที่น่ารัก มีมิตรภาพที่ดีต่อกัน จะติดตามนะ
ไดม่อนด์ ริง ของป้ามาแล้ว ชอบสองสาวค่ะน่ารัก สดใสดูแล้วมีความสุขค่ะ
น้องเเหวน สวยนา่รักธรรมชาตินะ เหมือนสาวไทยโดยทั่วไปเลย ชอบมากกกกกกกกกกกกกกก
ตำส้ม = ตำเปลี้ยว สมะยก่อนเขาใช้ผลไม้รสเปลี้ยว มาตำครับ เช่นส้มมะขาม ส้มมะม่วง มะละกอมาทีหลังครับ เพราะมะละกอไม่ใช่พืชพื้นถิ่น เป็นพืชจากแอฟริกาใต้ เข้ามาโดยนักเดินเรือชาวยุโรป ผ่านมาทาง มะละกา เราจึงเรียกว่ทมะละกอ
มะละกอดิบ ตาม ตจว. เขาก็ต้มให้หมูเป็ดไก่กินนะคะ กะเต๋วเรือสีช๊อค คงเป็นเลือดสดใส่นำร้อนๆและทางร้านคงทำเป็นรสต้มยำจะมี3รสเปรี้ยวหวานเค็ม
ที่บ้านมะละกอดิบต้มกับขาหมูใส่ขิง ถั่วลิง และซีอิ๊วดำเปรี้ยว(คล้ายจิ๊กโฉวหรือซอสเปรี้ยว)รูปลักษณ์เหมือนซีอิ๊วหวาน ส่วนใหญ่ที่บ้านทำให้คนมีลูกอ่อน(ทารก)
อยากให้ทำคลิปที่บอกว่า สิ่งที่คนต่างชาติควรทำและไม่ควรทำในประเทศไทย เพื่อจะได้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันอย่างยั่งยืนครับ❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤
จริงๆแกงเขียวหวานมันหวานค่ะ อย่างน้อยก็หวานกว่าแกงอื่นๆทั่วไป เวลาปรุ่งต้องเป็นรสออกหวานเค็มค่ะ ส่วนแกงส้มมันจะออกเปรี้ยว เพราะคำว่าส้มแปลว่าเปรั้ยว
น้องคนจีนพูดไทยเสียงนุ่ม น่าฟังมากๆครับ
อาหารไทยบางอย่างก็มีพื้นฐานมาจากอาหารจีน เช่น เส้นก๋วยเตี๋ยว หรือผัดต่างๆ ไอติมกระทิแท้ๆ ในไทยเดี๋ยวนี้หายากมากๆ ถ้าคนจีนได้กินไอติมกะทิแท้ๆ ใส่ลอดช่อง กับขนุน และมีข้าวเหนียวกับลูกชิดด้วยนะ อร่อยมากๆ อยากให้พาไปกินข้าวมันไก่จีนบ้าง มีไหมครับ
อยากได้น้องแหวนมาเป็นสะใภ้ไทยจังเลย สวยน่ารักมาก
ก๋วยเตี๋ยวเรือ ภาคกลาง หวานครับ จะเป็นซอสหวานเปรี้ยว แต่คนชอบสับสนก๋วยเตี๋ยวเรือกับก๋วยเตี๋ยวน้ำตก
ข้าวกับผลไม้ บางทีไม่ได้ดัดแปลงอะไรเลย บางทีก็เพียวๆเลย แต่ส่วนมากกินกับข้าวเหนียว มะม่วงสุก มะขามหวาน แตงโม ส้มโอ มะตูมสุกฯลฯ
ปูผัดฝงกระหรี่ เป็นอาหารที่มีต้นกำเนิดมาจากสิงคโปรในยุคที่อังกฤษยังปกครองอยู่ครับ ส่วนส้มตำเป็นภาษาไทยภาคกลาง ภาคอีสานไม่เรียกส้มตำแต่เรียก ตำหมากหุ่ง ครับ
ตำส้มหรือตำบักหุ่ง ตำแตง ตำถั่วแต้ถ้าบอกให้ไปซื้อก็จะบอกว่าเอา"ตำส้ม" จะเข้าใจกันว่าเป็น"ตำบักหุ่ง"
ก่อนจะเป็นหมากหุ้ง ก็มีชื่อว่ากล้วยเทพมาก่อน เพราะเจ้าเมืองทางอีส่รได้รับพระราชทานพันธุ์ไปปลูก เมื่อออกลูกก็เป็นของแปลกมีชาวบ้านมาดูกันทั้งเมือง
ฟังจากเชฟป้อมบอกมาจากเชฟคนไทยทึ่อยู่ฮ่องกง
คนอีสานเขาชอบเอาผลไม้ที่มีรสชาติต่างๆมาตำ จะเรียกว่าตำส้ม เป็นที่มาของส้มตำควรศึกษาข้อมูลดีๆอายเขา
มั่ว ปูผัดผงกะหรี่ เป็นเชฟคนไทยคิดค้นขึ้นครับ มีกลักฐานยืนยัน นั่งยัน นอนยันเลยครับ คนคิดค้นลูกหลานก็ยังอยู่ครับ ส่วนของสิง เป็นปูผัดอีกอย่าง
ส้มตำไม่ได้มาจากภาคอีสานครับ วัตถุดิบในส้มตำที่เรากินๆกันนี้ เป็นของนำเข้าเป็นส่วนมากนะ ซึ่งมันหมายความว่าเป็นของที่ขุนนางชนชั้นสูงสามารถหามาได้ ซึ่งพริก มะละกอ มะเขือเทศ ต้นกำเนิดไม่ได้มาจากประเทศไทยเราต้องนำเข้ามาจากต่างประเทศผ่านการแลกเปลี่ยนทางเรือ แต่อีสานมีเมนูคล้ายๆกันที่ตำอย่างอื่นวิธีทำคล้ายๆกันจึงกล่าวได้ว่าส้มตำนั้นเริ่มจากกรุงเทพฯ แล้วไปบูมทางอีสานและประเทศลาว ซึ่งมีการประยุกต์ให้ถูกปากคนท้องถิ่นโดยการใส่ปลาร้า หรือพวกวัตถุดิบที่พอจะหาได้ตามแต่ภูมิภาคของตนลงไป เพราะทำง่ายรสชาติอร่อยเราจึงมีตำ 2 แบบ คือตำไทย ซึ่งเป็นสูตรคนกรุง และตำลาว/ตำอีสาน ที่มีปลาร้า ปูดอง แต่ไม่มีถั่วลิสงคั่ว ไม่ว่าตำแบบไหน มัน complete ในรสชาติของตัวเอง ไม่ได้ขาดได้เกินเลยแม้แต่น้อย ตำไทย ครบรสเปรี้ยวหวานเค็มเผ็ด มันจากถั่ว ตำอีสาน จะมีความนัวของน้ำปลาร้า แม้ยุคหลังๆ มันก็ได้ผงชูรสช่วยด้วยทั้ง 2 เมนูก็ตามที 😂 เมื่อประมาณ 10 เกือบ 20 ปีที่ผ่านมาเราก็มีวิวัฒนาการที่มีตำสารพัดเกิดขึ้นไปทั่วหัวระแหง เช่น ตำปูม้า ตำไทยไข่เค็ม ฯลฯ สารพัดตำ และล่าสุดเราก็เพิ่งได้น้องใหม่คือตำแซลม่อน เดี๋ยวมีวัตถุดิบอะไรบูมมาอีก คิดว่าก็คงไปนอนอยู่ก้นครกเช่นกัน
ดูจนจบง่ายมาก เพราะ น่ารักทั้ง2สาว แถมมีเกร็ดความรู้ ครับ
ความจริงผัดกะเพรามีเคริ่องเทศสิบอย่างที่ต้องใส่ลงไป แต่โดนลดอัตราส่วนเหลือแค่พริก,กระเทียม,กะเพรา,ลูกยี่หร่าเม็ดเล็กๆล้างน้ำนำไปโขลกให้ละเอียดจะเพิ่มกลิ่นหอม,นำไปผัดกับเนื้อยิ่งอร่อย😊
อาหารคาวของไทยที่ใส่ผลไม้ก็มีหลายเมนูอยู่นะคะ เช่น ม้าฮ่อ ยำส้มโอ ส้มตำผลไม้ ต้มสัปปะรด และแกงสัปปะรด เป็นต้น
ตอบย้อนนะดูคลิปที่เราบ่นแล้วจะมาตอบข้อมูลให้นิสนึง1. ก๋วยเตียวเรือน้ำตก ก๋วยเตียวเรือจริงมันจะมีการปรุงมาให้แล้วรสชาติตามรสมือแม่ค้า แต่สิ่งที่เราคิดคือก๋วยเตียวเรือสมัยนี้ที่เราสั่งที่ร้านมันยังไม่ปรุงมาให้ (ไม่ว่าอันไหนก็ไม่ผิดหรือว่าถูก)2. ผัดกะเพรา หมูผัดปรุงรสใส่ใบกะเพรา ส่วนเรื่องอื่นๆตามที่เราพูดก็สนุกดีตามภาษาเมาส์ๆ3. แกงเขียวหวาน สิ่งที่เราพูดก็ไม่ผิดแต่มันเป็นความคิดที่ออกเป็นความคิดสมัยใหม่ แต่ถ้าถามคนมีอายุจริงๆจะได้ประมาณ เพราะพริกแกงที่จะเน้นสีเขียวและมีรสชาติหวานมัน4. ข้าวผัดสับปะรด สิ่งที่เราพูดมันก็ไม่ได้ผิด แต่ถ้าถามคนมีอายุจริงๆ มันเป็นอาหารฟิวชั่นคนไทยเนี่ยล่ะดัดแปลงขึ้นมาจากอาหารจีน5. ต้มข่าไก่ สิ่งที่เราพูดอันนี้ผิดเลย เพราะคนไทยจะไม่เรียกว่าแกง เราจะคุ้นคำนี้ไหม ต้มยำข่าไก่ มันคือ ต้มยำที่ใส่น้ำกระทิ6. ส้มตำ ข้อมูลตรงนี้เราเปีะสิ่งเราพูดถูก7. ปูผัดผงกระหรี่ ข้อมูลตรงนี้ก็ถูกต้องอยู่นะแต่ตอนท้ายไม่ถูกเพราะเมนูนี้ไม่มีวัฒนธรรมจีนมาผสมเลย แต่เราจะเคยเห็นปูผัดผงกระหรี่แบบจีนอยู่ (มันจะมีรสผงกระหรี่น้อยมากแต่มีน้ำมันพริกเยอะ)8. ผัดไท อันนี้เราเก็บข้อมูลไว้พี่ไม่รู้ว่าเราจะพูดอะไรแต่ อาหารนี้ไม่ได้เกิดมาจากคนจีน เส้นที่มีต้นแบบจากจีนมีแค่ บะหมี่เหลือง กับ เส้นเหมี่สั่ว ส่วนเส้นสีขาวเราจะได้จากทาง มอญ9. ข้าวเหนียวมะม่วง ข้อมูลถูก (ติดแค่วีดีโอที่ราดบนข้าวเหนียวเนี่ยล่ะ พี่ทีมราดบนมะม่วง)10. ต้มยำกุ้ง ข้อมูลถูกต้องจ้าสรุปมันก็ไม่ได้ผิดมากแค่เป็นข้อมูลแบบสมัยใหม่ แต่ถ้าถามคนอายุ 30 ขึ้นเขาจะบอกว่ามันไม่ค่อยถูก
ตอนเด็กๆลุงกิน มะม่วง แตงโม และสัปรด กับข้าวทุกวันตอนเช้าจ้า
ก๋วยเตี๋ยวเรือที่บอกมาน่าจะเป็น ก๋วยเตี๋ยวเรือ แบบใหม่ที่เดี๋ยวนี้เขานิยม ปรุงรสให้ลูกค้าเลย มันจะมีทุกรสชาติ เปี้ยว หวาน เค็ม เผ็ด ถ้าอยากกินแบบดั้งเดิมต้องบอกว่าไม่ต้องปรุงรส
ขอบคุณน้องทั้งสองมากครับ-ที่โปรโมทอาหารไทย 10 อย่างให้คนต่างชาติได้ดูกันครับ
ชอบหมดเลยค่ะ อยากให้น้องแหวนลองทานข้าวซอย อร่อยมาก
เพิ่งเคยดูช่องน้อง น่ารักทั้งคู่เลยค่ะ ทำคลิปดีมากเลยค่ะ
เก่งมากทั้งสองคนและมีความรู้จริงที่ถูก ไม่เข้าข้างประเทศตัวเอง สุดยอดค่ะ
สองสาว คนจีนน่ารักมีเสน่ห์มาก พูดไทยชัดแจ๋วดี เก่งมาก รักนะจุบๆ ดูอยู่ต่างประเทศ ที่ ยูเอสเอ
ช่องให้ความรู้ประกอบด้วยดีมากครับ ดีๆ
ลองหินปูต้มกระทะใส่ต้นหอมดู อร่อยเช่นกันจะคล้ายๆเมนูจีน แต่ไม่มีขิง จะมีรสหวาน
ปูผัดผงกะหรี่ที่สมุทรสาครจานล่ะ80-90บาทก็มีแต่ถ้าขายเป็นถุงๆล่ะ50บาทก็มี..นะ😊😊
น่ารักทั้งคู่เลย ขอชื่นชมที่ทำให้ผมดูไปยิ้มไปครับ
เคยไปนั่งเก้าอี้ตัวเดียว กินข้าวลาดแกงเขียวหวานฟักปลาช่อน อร่อยมาก ปลาไม่คาว แถวๆบ้านหม้อ คนจีนทำขาย😊
สองคนนี่ ช่างน่ารัก ดูไปอมยิ้มไป😊
อาหารหน้าร้อน-แตงโมหน้าปลาแห้ง และ ข้าวแช่ครับ ข้าวเหนียวมะม่วงถ้าใช้มะม่วงอกร่องจะอร่อยมากกกกก❤❤❤❤❤❤
น่ารักทั้งเพชรและแหวน เลยFCทั้ง2
คนไทยมีผลไม้กินตลอดปี เช่น มะละกอ มะม่วง ฯลฯ จึงไม่ต้องรอให้สุก (เพราะถ้ารอสุกกินไม่ทันมันจะเน่าเลย) เราจึงสามารถนำมาประยุกต์กินดิบๆ ได้หลากหลายเมนู แถมอร่อยสุดๆค่ะ❤❤❤
สองคนนี้เหมาะสมกันที่สุด อยู่ด้วยกันแล้วปัง
บางที่ก๋วยเตี๋ยวเรือ ใส่กะทิ ทำให้หวาน แต่ก๋วยเตี๋ยวเรือใน กทม. จะไม่ค่อยหวาน ที่หวานหวานจากกะทิค่ะ ถ้าไม่ชอบกวานจะต้องเลือกที่ไม่ใส่กะทิค่ะ
ภาษาใต้ส้มก็หมายถึงเปรี้ยวเช่นเหมือนแกงส้มภาคใต้(ภาคกลางเรียกแกงเหลือง)มักใช้ส้มแขกเป็นหลักมีรสเปรี้ยวนำ
พระฉันอาหารเช้าคนใต้เรียกฉันจังหันไหม คนอีสานก็เรียกน่ะ 😅😅😅
เรามาดูครั้วแรกคะ
เตี๋ยว ต้มยำครับ เผ็ด เปรี้ยว หวาน สูตรสำเร็จ อาหารไทย ส่วนมาก จะออก หวานทั้งนั้นเลย
คนจีนน่าจะนิยม รสเค็มนำนะคะ เลยจับรสหวานนิดหน่อย ก็จะบอกว่า หวานมากกก
พี่อาศัยอยู่นอเวย์ค่ะ. ยากมีโอกาศไปจีน ยากไปกินอาหารจีนอร่อยๆค่ะ
มีช่องนี้ที่พูดด้วยเรื่องอาหาร"ส้มตำ"ได้เข้าใจง่ายและเข้าใจถูก
แกงเขียวหวาน คนจีนนิยมมาก ผมต้องทำพริกแกงเขียววานบ่อยๆ เพราะ เพื่อนๆ พ่อครัวสิงคโปร์ที่ไปเปิดร้าอาารที่เสิ่นเจิ้น ขอให้ทำให้จน ตอนหลังขายดี หาของทำไม่ทัน ต้องบินมาหิ้วจากไทยไปขาย
คนอีสานเรียกตำมะละกอหรือบักฮุ๊งว่า ตำส้ม /ส้มตำ เพราะมีรสเปรี้ยวๆ
แหวนน่ารักมีเสน่ห์ ส่วนเพชรสวยเป็นพิเศษ 😊
ส้ม เป็นคำสมัยก่อน แปลว่าเปรี้ยว เช่น ส้มตำ แกงส้มแกงเขียวหวาน สีเขียวหวาน = สีเขียวอ่อน สีเขียวหลักในน้ำมาจากพริกเขียวล้วนๆเลย ถ้าไม่ใส่น้ำใบโหระพาให้สีเข้มขึ้น
ยังคงความสนุกและความน่าสนใจเหมือนเดิม เป็นกำลังใจให้ครับ
ภาคเหนือ กับ ใต้ก็น่าจะเรียกรสชาติเปรี้ยวว่าส้มเหมือนกันนะคะ แกงส้มใต้ ส้มหมูเหนือ จิ้นส้มเหนือ
" น่ารักที่สุด "...ทั้งคู่เลย
ต้มข่าไก่จะไม่ใส่พริกก็ได้ ตอนเด็กๆ กินเผ็ดไม่ได้เลยก็ยังเคยได้กินที่ไม่เผ็ด แต่จะใส่ก็ไม่เป็นไรมีรสเผ็ดจะได้ครบรสยิ่งขึ้น อร่อยขึ้น แต่ต้มยำไม่มีรสเผ็ดนี่ตั้งแต่เกิดมาหลายสิบปีก็ไม่เคยกินนะ
ก๋วยเตี๋ยวเรือสีช๊อกโกเล็ต น่าจะหมายถึงก๋วยเตี๋ยวเรือน้ำตก ที่ใส่เลือดไปด้วย ส่วนเรื่องรสหวานมันก็แล้วแต่ร้านที่ทำ บางร้านทำออกมาเค็ม บางร้านทำรสจืดไว้ก่อน
แกงกะทิฟักทองกับปูม้า....อร่อยมาก....อย่าลืมไปลองทานนะคะ
แกงเขียวหวาน คำว่าหวานมาจากหน้าตามันที่ดูสีเขียวหวานละมุนครับ แกงเขียวหวานโบราณจะออกเผ็ด เค็ม และหวานคือรสชาติสุดท้ายและอ่อนที่สุดในสามรสชาตินี้ แกงเขียวหวานสมันก่อนจะเป็นแกงที่เผ็ดที่สุดตรงข้ามกับหน้าตามันครับ เนื่องจากสีเขียวจะใช้พริกสดสีเขียวในปริมาณมากทำให้แกงมีสีเขียว พริกสีเขียวไทย เผ็ดกว่าสีแดงครับ
ไม่ได้ดูมาสักพักพอกลับมาดูช่องนี้พัฒนาไปเยอะจริงๆค่ะ ❤❤ เป็นกำลังใจให้นะคะ
ส้ม เป็นคำไทเดิม หมายถึงเปรี้ยว ใช้กันในทุกภาคครับ
ชื่อท้องถิ่นดั้งเดิมของภาคอิสานส้มตำคือ "ตำหมากส้ม" เป็นคำเรียกรวมๆของตำผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เป็นการนำผลไม้ดิบที่มีหาได้มาตำ โดยปรุงให้มีรสเปรี้ยวนำ ผลไม้ที่นำมาตำแล้วแพร่หลายคือมะละกอ ชื่อเดิมทางอิสานเรียกว่าตำมะละกอ หรือตำหมากหุ่ง หรือตำบักหุ่ง เรียกตามชื่อของผลไม้ที่นำมาตำ พออาหารชนิดนี้เผยแพร่เข้ามาในกรุงเทพ เมื่อถูกถามว่าอาหารนี้เรียกว่าอะไร ถ้าจะตอบว่า ตำหมากส้ม ก็จะฟังแล้วไม่เข้าใจก็เลยตอบไปว่า ส้มตำ
ชอบคนต่างชาติพูดไทยมากๆ เสียงสำเนียงน่ารัก
เพิ่งเข้ามาดูนะ สนุกมาก น่ารักจัง....
ทั้ง 2 สาว เสียงน่าฟังมากค่ะ น่าเอ็นดู ทำเรื่อย ๆ นะคะ สนับสนุนค่ะ❤
ปูนิ่มผัดผงกะหรี่ ปูนิ่มผัดพริกไทยดำ ปูนิ่มแกงเขียวหวานใส่ฟักทอง อาหร่อยมากๆ
กะเพราะกินคู่ไข่ดาว ส่วนของผมนั้น ต้มข่าไก่ กินคู่กับหมูหยองครับ อร่อยมากๆ โรยหมูหยองลงในข้าว ตักต้มข่าไก่ใส่ไปซักช้อน แล้วตักเข้าปากนะ อื้ม ... อาโหร่ย
อาหารสิ้นคิด เช่นไข่ดาว ไข่เจียว ไข่ต้ม +น้ำจิ้มต่างๆ
ส้ม... แปลว่าเปรี้ยว.... (ภาษาอิสาน) อาหารนี้จะเผ็ด, นัวร์, และเปรี้ยว เอาอะไรมาตำก้อได้ อ้อ ตำำ คืออาการเอาไม้แข็งๆทิ่มลงทางยาวตามไม้เราเรียก สาก นัวคือความรู้สึกเมื่ออาหาร.. สัมผัสลิ้น (พอดี ไร้ที่ตำหนิ) พร้อมลื่นลงคอเร็วๆ
หิวจังเลยค่ะ🤤
ต้องไปหาอะไรกินแล้วว 🤤
สัม ในคำว่าส้มตำ หมายถึงรสเปรี้ยว อาหารตำที่มีรสเปรี้ยวนำ เป็นคำไทยแท้ ทางใต้ยังเรียกของเปรี้ยวทุกอย่างนำหน้าด้วยส้มเลย เช่น สัมขาม ส้มม่วง ส้มยม สัมนาว
ต้มข่าไก่ต้อง มันข้นหวานกะทิ และต้องเปรี้ยว เผ็ดแซบ ถึงจะได้รสชาดที่แท้จริง
สีช็อคโกแลตในก๋วยเตี๋ยวเรือคือน้ำตก วิธีทำคือใช้เลือดวัวใส่ลงไปในน้ำซุปของก๋วยเตี๋ยวเนื้อหรือไม่ก็เป็นเลือดหมูใส่ในก๋วยเตี๋ยวหมู ความหวานส่วนหนึ่งจะหวานจากเลือดที่ผสมในน้ำซุปร้านก๋วยเตี๋ยวมักผสมพริกน้ำส้ม เพื่อตัดรสชาติหวานนิดหน่อย
ส้มตำของภาคกลางนั้นมีมานานแล้ว เรียกว่า(ส้มตำไทย)ไม่ใส่ปู ไม่ใส่ปลาร้า ใส่กุ้งแห้งส้มตำชาววังนั่นเองจะทานพร้อมกับใบทองหรางครับ.
คลิปดีมากๆ น่ารักทั้งสองคนเลยครับ
คลิปสนุก น่ารักทั้งสองคนเลยค่ะ
มีใครเข้าใจเรื่องก๋วยเตี๋ยวเรือ สีช็อคโกแลต ของแหวนมั้ย? ก๋วยเตี๋ยวเรือที่ไหนหวาน 😂 แหวนไปกินที่ไหนมาาา หรือจริงๆก๋วยเตี๋ยวเรือมันหวาน หรือจริงๆแหวนหมายถึงอะไร ยังงงอยู่เลย 55555555
น้ำก๋วยเตี๋ยวสีเหมือนช็อคโกแลตรีเปล่าคะ😁
อยากให้พูดถึงที่มาของอาหารเหล่านี้ ขนมจีน ขนมโตเกียว ลอดช่องสิงคโปร์ กะหรี่ปั๊บ ข้าวผัดอเมริกัน
จริงๆหลายๆร้านก๋วยเตี๋ยวเรือก็หวานนะคะ
น่าจะเป็นน้ำตกหรือเปล่าเพราะใส่เลือดพอออกมาสีจะออกเป็นน้ำตาลๆดำๆ
น่าจะเป็นก๋วยเตี๋ยวน้ำตก เขาใส่เลือดสดจึงทำให้สีเข้ม ไปทางช็อกฯ แดงเข้ม หรือไปทางดำ..
ส้ม หมายถึงความเปรี้ยว แปลว่าเปรี้ยว เป็นความเปรี้ยวที่สดใสสดชื่น ไม่เปรี้ยวจี๊ดจ๊าด เปรี้ยวปรี๊ดเหมือนมะนาว และจริงๆ ส้ม ที่เป็นผลไม้สมัยก่อนก็มีรสเปรี้ยว ปรับปรุงพันธุ์จนมีรสเปรี้ยว-หวาน จนมีแต่รสหวานในปัจจุบัน
มีอาหารหลายอย่างเลยที่มีรสเปรี้ยวจะใช้คำว่า ส้ม เช่น แกงส้ม ปลาส้ม ตำส้ม ส้มตำ ฯหรือในชื่อของพืช ต้นส้มป่อย ใบส้มป่อย อาจจะมีอีกแต่นึกไม่ออก ซึ่งในอาหารเหล่านี้ก็ไม่ได้เปรี้ยวมากนัก เป็นความเปรี้ยวที่ติดตรึงใจอยากกินอีก ไม่ใช่เปรี้ยวเข็ดฟัน เข็ดขยาด นำไปใช้ในสีสัน สีส้ม ก็ให้ความรู้สึกเปรี้ยวสดใส
ถูกต้อง อะไรที่มีรสเปรี้ยว เราจะเรียกส้ม
ตามนี้ค่ะ เมนท์นี้ถูกต้อง
เม้นท์นี้ถูกใจและถูกต้อง
ปังมากกก ชอบความเปรี้ยวสดใสสดชื่น อ่านแล้วรู้สึกอยากกินน้ำส้มเลยค่าา 😆
อธิบายได้ดีเลยค่ะเหตุผล
แกงเขียวหวาน คือลักษณะสีของแกงแกงที่มีสีเขึยวอ่อน ๆ คำว่าหวานในสมัยก่อน จะเอาไว้ขยาย คำนามหน้า เพื่อขยายความมากขึ้น
ส่วนข้าวผัดสับปะรด ไม่น่าจะมากจากแนวคิดคนจีน น่าจะคนไทยนี่แหละ เพราะสัปปะรด มีในอาหาคาวมานานแล้ว เช่น แกงสับปะรด ผัดเปรี้ยวหวาน และในปัจจุบัน ส้มตำ ที่มีหลากหลายเมนู ก็เริ่มมีเมนูใหม่แล้วคือ หมูตกครก คือวิธีคล้ายส้มตำแต่ใส่หมูย่างมาใส่แทนมะละกอ คนไทยชอบคิดปรับประยุกต์ไปเรื่อยๆ
ข้าวผัดสับปะรด เกิดขึ้นช่วงหลังนี้เอง เป็นเมนูที่อาจารย์หมึกแดงหรืออาจารย์ยิ่งศักดิ์ไม่แน่ใจ คิดค้นนำผลผลิตจากเกษตรกรคือสับปะรดที่ล้นตลาดมาแปรเป็นอาหารคาวและอร่อยจนทำขายได้ ติดตลาดนักท่องเที่ยวจนทุกวันนี้
@@piyarut10ข้าวผัดสัปปะรดของต่างชาติ มีอยู่แล้ว แต่รสชาติต่างกัน มีคนไทยไปเจอมาแล้วเอาความคิดมาให้พ่อครัวไทยผลิตแบบรสชาติไทยๆขึ้นมา
แกงเขียวหวาน ก็ต้องหวานสิ มันเป็นของภาคกลางชาววัง ชาววัง ส่วนใหญ่ จะชอบกินหวาน อาหารชาววัง จะมีหวานเยอะ ช่วงหนึ่ง แกงหลักๆเป็นของแขก ภาคใต้จะมีความรู้พวกมะพร้าวกับกะทิ กลายเป็นแกงกะทิแบบไทยๆ แต่ส่วนใหญ่สีแดง เหลือง ส้ม แล้วเผ็ด ชาววังที่ชอบหวานไม่เผ็ด ก็หาทางทำแกงที่ มันเหมาะกับบ้านเรา ซึ่งบ้านเรามันร้อน กินสีแดงๆเหลืองๆเผ็ดๆ ทำไม ถึงทำมาแบยไม่เผ็ด แล้วสีแบบเย็นๆ ซึ่งก็คือ แกงเขียวหวานที่มีหวานนำโดย ชาววัง แต่หลังๆ มันชาวบ้านไปทำให้มันเผ็ด ตอนเด็กๆกินเผ็ดๆกันได้เหรอ
@@bmonthatipkul แต่เชฟป้อมบอกว่าสูตรขาววังคือกลมกล่อม รสไม่จัด ถ้าหวานคือเข้าใจผิดครับ แล้วตามต่างจังหวัด แกงเขียวหวานต้องเค็มนำแล้วหวานตามครับ ผมไปกินแทบทุกภาคเป็นแบบนี้หมด ยกเว้น กทม และปริมณทล นี่แหละ ที่หวานนำ ไม่อร่อยเลย
@@Prapatpong-f9kไม่เข้าใจผิด แกงเขียวหวาน ถูกสร้างมาจากความต้องการ ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัง ไม่กินเผ็ด แล้วติดหวานในยุคหนึ่ง มัน ถึงมีอาหารหวานหลายชนิด ในช่วงหนึ่ง เพราะความจริง ชาววังก็ไม่ได้กินหวาน
ชื่อแกงเขียวหวานเกิดจากสีเขียวอ่อนหรือเขียวพาสเทล คนโบราณไม่มีคำเรียกเลยเรียกว่าเขียวหวาน มีรสเผ็ด เค็ม เป็นอาหารเปอร์เซียที่เอามาปรับปรุงใหม่
ส่วนส้มตำ เกิดจากการที่เอาคำมาจากอาหารอีสานคือตำส้ม เป็นการเอาผลไม้รสเปรี้ยวอื่นๆมาตำและปรุงรส ส่วนมะละกอเพิ่งมามีในสมัย ร.5 โดยชื่อมะละกอเป็นผลไม้ที่นำมาจากเมืองมะละกา เลยเรียกว่า ลูกมะละกอและนำมาทำส้มตำไทยแท้ในตำรับสายเยาวภา คือ ข้าวมันส้มตำ ส่วนส้มตำที่เป็นของอีสานที่ใช้มะละกอประกอบจนนิยมในปัจจุบันนี้เกิดจากการที่มีการนำไปปลูกข้างถนนแล้วมีคนนำไปปลูกในภาคอีสานแล้วเอามาทำส้มตำครับพี่เพชร
หวานมาก😢
อาหารเปอร์เซีย ตอนนี้คือ ตุรกี ใช่ไหม 😅
@@GipPigsintu ชาวเปอ์เซียคืออิหร่านครับส่วนตุรกีคือชาวเติกร์
มัสมั่นเราก็รับมาจากแขกเปอร์เซีย แต่ต้นตำรับเป็นแกงอินเดีย แล้วดัดแปลงให้อร่อยคนไทย แต่กลายเป็นอาหารระดับโลก ได้อันดับหนึ่งหลายปีซ้อน มัสมั่น = มุสลิมมาน
ขอบคุณสำหรับข้อมูลคับผมมม 👏🏻👏🏻👏🏻
ก๋วยเตี๋ยวเรือในกรุงเทพ บางร้านก็หวานจริงค่ะ เหมือนก๋วยเตี๋ยวใส่น้ำเชื่อมเลย เลิกกินก๋วยเตี๋ยวเรือไปเลยเพราะเจอแบบหวานๆนี่แหละ
หูยยย เพชรยังไม่เคยเจอก๋วยเตี๋ยวเรือหวานๆเลยค่ะ นึกรสชาติก๋วยเตี๋ยวเรือหวานไม่ออกเลย 😆
@@PetchZ แบรนด์ดังแปลกๆชื่อดังในห้าง ก็หวานครับแต่ไม่มาก
ลองไปโลคอลหลายๆร้าน หวานจนงง สั่งแห้งคือใส่น้ำตาลมาเป็นเม็ดๆเลยครับ ฮ่าาาาาาาาา555+
กับข้าว ข้าวแกงหลายๆอย่างด้วยไม่ใช่แค่ก๋วยเตี๋ยว จะมีติดหวาน
@@MasumiHakuCookในครัว มีโรคประจำตัว~>เป็นเบาหวาน รสลิ้นติดออกหวาน จึงทำอาหารไปทางแนวหวานโดดเด่น
คนไทยส่วนมาก มีโรคประจำตัว~>เป็น~>เบาหวาน.
ชอบที่น้องๆเป็นคนรุ่นใหม่ ที่หาข้อมูล ที่มา ของแต่ละอย่าง อาจจะมี คลาดเคลื่อนไปบ้าง ก็ไม่เป็นไร
ดีกว่าไม่รู้แล้วเดากันไปเรื่อยจนทำให้คนต่างชาติเข้าใจผิดตาม
ได้ทั้งความสนุกและสาระชื่นชมครับ
ขอบคุณนะค้าา 🥰
สองคนนี้คุยกันน่ารักมากๆ แหวน+เพชร=แหวนเพชร ลงตัวสุดๆ
แหวนพูดไทยชัดขึ้นมากๆ ติดตามน้องสองคนทุกคลิป ได้ทั้งสาระและบันเทิง
ผัดไทยไม่ได้มาจากจีน แต่สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม อยากเอาเส้นก๋วยเตี๋ยวของจีนมาทำอาหารไทย จึงให้แม่บ้านนายทหาร และข้าราชการระดับสูงมาช่วยกันคิด ได้ออกมาว่า ใส่เส้นก๋วยเตี๋ยว กุ้งแห้ง ไข่ อาจมีเต้าหู้ด้วย ใส่ใบกุยฉ่าย นำ้มะขามเปียก น้ำตาลทราย มะนาว น้ำปลา ไม่ใส่ หมู หรือเนื้อสัตว์อื่น
ไปหาข้อมูลมาใหม่ ผัดไทยไม่ได้เกี่ยวอะไรกับตาแปลก ผัดไทยมีมาก่อนจอมพล ป เป็นนายยกแล้ว มันคือผัดเส้นก๋วยเตี๋ยวแบบไทย ที่แปลงมาจากผัดก๋วยเตี๋ยวแบบจีน เค้าถึงได้เรียกว่า ผัดไทย มาจาก ก๋วยเตี๋ยวผัดแบบไทย
น้องแหวนครับ แกงเขียวหวาน เพราะมันมีสีเขียวและปรุงให้มีรสหวานนำหน้ารสอื่นๆนิดๆ ส่วนส้มตำ หมายความว่าเอาของที่มีรสเปรี้ยว(ส้ม)นำมาใส่ครกแล้วตำรวมกัน ถ้าใช้ตำส้มจะหมายความว่าเอาส้มมาใส่ครกแล้วตำจ่ะ
ไม่ใช่ครับ ผิดไปไกล ไม่ใช่เรื่องรสชาติครับ มันเรื่องของสี คำว่าหวานภาษากลางเอามาขยายความเรื่องสีครับ
มันหมายถึงสีเขียวหวานจ้า
ไม่นะครับ... คนเหนือเราเรียกส้มตำ ว่า ตำส้ม (มาตลอด)
ถูกครับ ตัมส้ม ภาษาอิสาน หมายถึงเปรี้ยว ตัม ที่มีรสเปรี้ยวนำ
เชฟป้อมบอกในรายการ masterchef นะคะ เขียวหวาน คือ สีเขียวหวานๆ เขียวอ่อนๆ 😊
ไอติมขนมปัง//ต้มข่าไก่//แกงเขียวหวาน//ข้าวผัดสับปะรด//ข้าวกระเพรา//ต้มยำกุ้ง//ข้าวเหนียวมะม่วง//ส้มตำ//ผัดไท//ปูผัดผงกระหรี่
มาแล้วลูกสาวสองคน หายไปนานเลย นี่แหละสี่งที่อยากเห็นคือลูกสาวคนเก่งสองคนมาออกพร้อมกัน .....รัก รัก รัก นะ
เก่ง ฉลาด รู้จักพูด สมเป็นคนไทยเชื้อสายจีน ที่ตกผลึก เรื่องตัวตนของตัวเอง ขอให้เจริญทั้งครอบครัว ขอบคุณครับ 👏👏👏
มีครับก๋ยวเตี๋ยวหวาน แถวบ้านผม สมัยก่อนท้องถิ่นคนทำงานสวน ทำน้ำตาลมะพร้าวเป็นงานหนักมาก มื้อเย็นกินข้าวแล้วก็ยังรู้สึกโหย(อีกระดับของความหิว)เหมือนมันขาดอะไรสักอย่าง คงคล้ายคนติดกาแฟนั่นแหละ จึงต้องมีของหวานตามมาด้วยทุกวันแม้ง่ายๆ เช่นไข่หวาน บัวลอย ต้มถั่วเขียว ถั่วดำ ข้าวเหนียวเปียก สาคูเปียก ฯ ก็เลยกลายเป็นความเคยชินของคนในท้องถิ่น แม้ยุคหลังๆมาก็ยังมีร้านที่ทำรสหวาน จนคนรุ่นใหม่บอกว่าหวานมาก แต่เขาก็ยังขายได้อยู่นะ..
"ก๋วยเตี๋ยวเรือสีช็อคโกแลต" น่าจะเป็นสีของก๋วยเตียวเรือน้ำตก(ผสมเลือดหมูสด)สีมันจะออกน้ำตาลความเข้มข้นขึ้นอยู่แต่ละร้าน ส่วนเรื่องความหวาน ปกติน้ำก๋วยเตี๋ยวจะมีความหวานในตัวอยู่แล้วเกิดจากส่วนผสมของน้ำสตอกถ้าลองกินแบบไม่ปรุงมันจะมีความหวานออกมาคับความหวานที่กลมกล่อมบ่งบอกถึงคุณภาพของน้ำก๋วยเตียว
น่าจะเป็นก๋วยเตี๋ยวหลอดครับ
น่ารักมากๆ คนจีนคนไทยรุ่นใหม่แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน ไทยพูดจีน จีนพูดไทย อาหารจีนในไทยก็เอาข้อเด่นของอาหารไทยไปประยุกต์ อาหารไทยก็เอาข้อเด่นของอาหารจีนมาประยุกต์ (อินเดียอย่าน้อยใจนะอาการอินเดียก็ด้วย) อาหารไทย ร่วมทั้งอาหารจีนในไทยจึงโดดเด่นขนาดนี้ ❤❤❤❤❤
สมัยเป็นเด็กๆสิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับอาหารบ่าย(ข้าวเที่ยงแต่อีสานเรียกข้าวสวย(สาย))คือตำบักหุ่ง เวลาดำนาเสร็จตอนบ่ายๆ แม่จะเป็นคนมาเตรียมอาหาร บางครั้งผมก็มาช่วยแม่สับบักหุ่ง(มะละกอ) คิดถึงสมัยนั้นจังเลยครับ ตอนเป็นเด็กเริ่มจำความได้ แม่จะเป็นคนดูดเอาพริกออกจากเนื้อบักหุ่งแล้วค่อยป้อนให้เรากิน
ตอนนี้ผมเหลืออีกสองปีก็จะเกษียณ ใกล้จะได้หนีจากเมืองกรุงไปใช้ชีวิตที่บ้านเกิดแล้วหละครับ.....
ความหวาน จริงๆ มันมาจะกะทิสดครับผม ในสมัยก่อนคนไทยทำอาหารใช้ความหวานจากกะทิ เพราะน้ำตาลทรายหายากและมีราคาแพง
น้ำตาลมะพร้าว ตาลโตนดก็มีครับ
น้ำตาลปึกครับ
น้ำตาลบ้านเราสมัยก่อนไม่ได้หายากแบบยุโรปสมัยก่อนนะคะรับ
น้ำตาลทรายหายากจริงครับ เพราะสมัยก่อนเป็นของที้้ฝั่งอินเดียคิดค้นและผลิตขาย
หลายประเทศจึงต้องนำเข้า ชนชั้นสูงและคนรวยจึงจะได้ใช้ได้กิน ดังนั้นจะเห็นได้ว่า
เมื่อก่อนนี้ คนที่ต้นตระกูลรวยหรือตระกูลมียศมีศักดิ์หน่อย มักจะชอบทานอาหารรสหวานนำ
แต่จริงๆขนมหวานไทยโบราณ ใช้น้ำตาลมะพร้าว น้ำตาลโตนดในการทำครับ
เพราะเป็นของที่ชาวบ้านผลิตได้เองเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิม ที่มีมาก่อนน้ำตาลทราย
ไม่ใช่แค่ความหวานจากกะทิ แต่ทุกวันนี้ใช้น้ำตาลทรายเพราะหาง่าย
สมัยก่อนไม่มีน้ำตลาดจากอ้อย เพราะอ้อยมาจากอเมริกาใต้
มะละกอ+สับปะรด ก็มาจากอเมริกาใต้
อาหาร ไม่ใช่เป็นเพียงอาหารรับประทาน แต่เป็นวัฒนธรรม วิธีคิด วิถีชีวิตและกระบวนการดำรงชีวิตของคน กลุ่มคนในอต่ละพื้นที่ อาหารจึงมีลักษณะเฉพาะมากๆ(unique) แม้ว่าคนต่างวัฒนธรรมจะมีสูตรและส่วนประสมของอาหารแต่ละชนิดจากคนต่างวัฒนธรรมก็ไม่สามารถทำได้รสชาติเหมือนต้นฉบับ หมายความว่า มีความแตกต่าง แต่ก็อาจ"อร่อย"หรือถูกปากคนจำนวนไม่น้อยก็ได้
อย่างไรก็ตาม วัฒนธรรมเปลี่ยนแปลง เรียนรู้ได้ อาหารก็อาจเปลี่ยนแปลงได้เสมอครับ
รศ.ดร.เสนีย์ คำสุข
อาทิตย์ที่ 9 มิถุนายน 2567
เคยกินหน่อไม้ ไหมแนะนำ
- ผัดเผ็ดหน่อไม้ดอง
- ผัดหน่อไม้ใส่ไข่หมูสามชั้น
- ต้มจืดหน่อไม้ซี่โครงหมู
ผมเป็นเบาหวานได้เลิกกินน้ำตาลและได้รู้ว่าอาหารไทยหวานครับ แกงเขียวหวานนี่หวานจริง ก๋วยเตี๋ยวส่วนใหญ่หลายร้านออกหวาน ยิ่งอาหารตามสั่งร้านไหนวัยรุ่นกินเยอะไปลองดูหวานทั้งนั้น กระเพรายังหวาน
ต้มข่าไก่ยืน 1 เช่นกันครับคุณเพชร ส่วนเมนูแนะนำที่ห้ามพลาดนั่นคือ พแนงไก่/หมู ,แกงฮังเล,ข้าวซอยเนื้อ....อ่อคับ อาหร่อยยยยย
ภาษาใต้เก่าแก่เองก็เรียกรสเปรี้ยวว่า "ส้ม" เหมือนกันครับ ไม่ใช่แค่ภาษาลาวหรือภาษาอีสาน
ทุกวันนี้ถ้าฟังคนอายุเยอะหน่อย 35+ ที่บ้านใช้ภาษาใต้เป็นหลักพูด จะได้ยินเขาเรียก
มะนาว ว่า ส้มนาว มะขาม ว่า ส้มขาม ฯลฯ หรือน้ำปรุงรสเปรี้ยวชนิดนึงที่ทำจากน้ำจากต้นตาลโตนด
ที่ใช้กันมากในภาคใต้ ก็ถูกเรียกว่า น้ำส้มโหนด เหมือนกัน
เวลาพูดถึงของเปรี้ยว ก็จะใช้คำว่า "ส้ม" แทน เกือบหมดเลย เช่น ถามว่าต้มยำเปรี้ยวไหม ?
ก็จะถามเป็น ต้มยำส้มไหม ? หรือเวลาจะบอกว่าอะไร เปรี้ยวจัง เปรี้ยวเกินไป ก็จะพูดเป็น
ส้มจัง ส้มแรง จริงๆถ้ามองดีดีภาคกลางเองก็มีของบางอย่างที่มีรสเปรี้ยวหรือกลิ่มเปรี้ยวๆ
ถูกเรียกว่าส้มอยู่เหมือนกันนะ เช่น น้ำส้มสายชู น้ำส้มควันไม้ แกงส้ม ปลาส้ม ฯลฯ
นั่นอาจสรุปได้ว่าเดิมที คำว่า ส้ม อาจจะเป็นรากศัพท์จริงๆของภาษาไท โดยรวมเลย
ไม่ใช่แค่ในภาษาถิ่น แล้วคำว่า เปรี้ยว นั้นเกิดขึ้นภายหลังและถูกใช้แพร่หลายในยุคที่มีการกำหนด
ภาษากลางเพื่อป้องกันการสับสนกับชื่อผลไม้ แต่ก็ยังเหลือร่องรอยรากศัพท์อยู่ตามชื่อเรียก
ของต่างๆในภาษาถิ่นอยู่
ปล.ที่น่าจะแปลกหน่อย คนใต้จะเรียกรถขายผลไม้ว่า "รถส้ม" ด้วยครับ เพราะส่วนมากจะมีผลไม้
รสเปรี้ยวมากกว่าผลไม้รสหวาน ทั้งๆที่แทบไม่มีคันไหนขายส้มเลย 😂
จริงๆภาษาไทยกลางโบราณก็มีหลายคำที่ใช้เหมือนกันกับภาษาอีสานซึ่งน่าจะเป็นภาษาแบบเก่าซึ่งคนภาคอื่นไม่ค่อยใช้แล้วมันเลยกลายเป็นว่ามันเป็นภาษาอีสานทั้งที่จริงเป็นภาษาไทยดั้งเดิมด้วย
@@zenithchan581ภาษาอีสานมาแต่ไหนอีก
คำว่าอีสานมันคือชื่อทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
@@zenithchan581คนอีสานส่วนใหญ่ที่เขาพูดกันมันคือภาษาลาว มันจะมาทงมาไทยอะไร ภาคอีสานสมัยก่อนมันเป็นอาณาจักรล้านช้าง
@@thedarklord4951 หมายถึงบางคำ คิดว่าคำที่ใช้ร่วมกันมันก็เป็นภาษากลุ่มไทกระได ถ้าคุณดูละครย้อนยุครึอ่านหนังสือเก่าๆคุณจะรู้ว่ามีภาษาที่ปัจจุบันไม่ใช้แล้วอยู่ในคำที่คนอีสานก็ยังใช้กันอยู่หลายคำ คำใหม่ที่ถูกกำหนดให้ใช้และที่ถูกยกเลิกสมัย จอมพล ป.ก็มียุคนั้นนักเขียนยังปวดหัวที่ต้องไปใช้คำใหม่ๆ แทน ถ้าคุณไม่สักแค่เถียงแล้วไปศึกษาประวัติศาสตร์คุณคงจะเข้าใจอะไรมากขึ้น
@@zenithchan581 ภาษาไทยในปัจจุบัน เป็นภาษาไทกะไดผสมเขมร บาลี-สันสกฤต มันเลยไม่เหมือนที่อื่นเขา
สัมตำเกิดจากชุมชนคนอีสานในกรุงเทพมหานครครับ แล้วจึงแพร่ไปทางอีสานไทยอีกที จะเห็นว่าลาวทำส้มตำไม่เก่งเพราะเป็นวัฒนธรรมไทยแท้จากคนอีสานใน กทม. มะละกอ เพิ่งมีในประเทศไทยตอนปลายอยุทธยาถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มาจากอเมริกาใต้
ไม่ใช่เลยครับ คำว่าส้มตำอิสานเรียกตำส้มหมายถึงการเอาผลไม้ดิบมาตำ ปรุงรสด้วยน้ำปลาร้าและมะนาวทำให้มีรสนัวๆเปรี้ยวๆ ส่วนมากจะใช้มะละกอ ช่วงไม่มีมะละกอจะใช้ปลีกล้วย ผลกล้วยตานีดิบ ถั่วฝักยาว แตง ทุกอย่างเรียกว่าตำส้มหมดเพราะคำว่าส้มหมายถึงเปรี้ยว
ส้มตำมีกำเหนิดจากภาคกลางค่ะจากในวังข้าวมันส้มตำกินกับเนื้อฝอย ตามประวัติศาสตร์จากนั้นก็มีการดัดแปลงไปเรื่อยๆ ตำส้มอีสานสมัยก่อนมีแค่พริก ปลาร้า และมะละกอเท่านั้น เมื่อมาขายให้คนกรุงเทพก็ดัดแปลงใส่มะเขือเทศ ถั่วฝักยาว กุ้งแห้ง มะนาว น้ำตาลปิ๊บลงไป ก็ได้รับความนิยมไปทั่วประเทศ ❤
ข้าวมันส้มตำ เรียกได้ว่าเป็นเมนูไทยโบราณที่หากย้อนกลับไปหลายสิบปีก่อน ชาวไทยภาคกลางก็มีเมนูข้าวมันกับส้มตำไทยอยู่แล้ว ก่อนจะเกิดการผสมผสาน และสร้างสรรค์เมนูส้มตำใหม่ๆ ขึ้นมาจากคนไทยอิสานที่ย้ายมาทำงานในเมืองกรุง หากสืบย้อนกลับไปยังเจอเมนูข้าวมันส้มตำในตำราอาหารอีกด้วย ‘ข้าวมันส้มตำ’ ปรากฏอยู่ในตำราอาหาร ‘ตำรับสายเยาวภา’ ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท พระธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
มันส้มแข่ว แปลว่า เข็ดฟัน น่าจะมาจากรสชาติของมะละกอดิบที่คนสมัยนั้นเริ่มเคยกิน
ชุมชนที่ว่าคือ แรงงานอิสานในสมัยก่อน ก็ไม่เข้าใจทำไมคนอิสานสมัยนั้นทำไมไม่ค่อยจบสูงๆกัน ต้องมาทำแรงงานแต่เดียวนี้ไปเกาหลีกันหมด ใครรู้มาบอกที
ดีมากเลย คิดถึงแหวน คอนเท้นก็สนุกน่าสนใจ
แหวนพูดไทยชัดมากครับ.น่ารักสุดๆเลยครับ.💝💝👍👍👌👌👌👌
น้องแหวนหมายถึงก๋วยเตี๋ยวต้มยำรึเปล่าคะ เปรี้ยวๆหวานๆ
ขอเสริมนิดครับ แกงเขียวหวาน ที่น้องแหวนพูดมีส่วนถูกครับ คือมันอาจจะไม่หวานมากหรือหวานมากก็ได้ แต่แกงเขียวหวานจะเน้นรสชาติแรกคือหวานนำครับ ส่วนจะหวานมากหวานหรือน้อยก็แล้วแต่ความชอบครับ แต่ต้องให้รสหวานเป็นตัวนำ ส่วนเขียวเป็น ที่พริกแกงครับ เป็นพริกแกงสีเขียว อันนี้คือที่ผมรับรู้มานะสำหรับแกงเขียวหวาน สมัยนี้บางร้านก็จะเอาพริกแดงผสมด้วยก็มี แต่เดิมทีคือพริกแกงจะเป็นสีเขียว และมีรสหวานนำครับ(นอกจากรสที่เผ็ดนะ เพราะคำว่าแกงยังไงรสเผ็ดก็ต้องมีอยู่แล้ว) ผมเลยใช้คำแค่ว่าหวานนำ
น้องแหวน อย่างเก่งที่ออกเสียงต้มข่าไก่ ได้ชัดเจน
ส้มหมายถึงเปรี้ยว ในภาษาไต-กะได อะไรที่เปรี้ยวๆ เราจะเรียกว่าส้ม เช่น ส้มพอดี (กระเจี๊ยบ) ปลาส้ม ตำส้ม ฯลฯ ผมไม่แน่ใจว่าทำไมตอนหลังเราถึงเปลี่ยนมาใช้คำว่า "เปรี้ยว" อาจจะยืมมาจากภาษาอื่น ไม่ใช่คำไทแท้ก็ได้ ส่วนแกงเขียวหวานนั้นเขาจะใช้พริกเขียวอ่อนในการทำพริกแกง สีจึงออกเขียวๆ และมักจะทำให้รสออกหวานๆ นิดหน่อย จึงเรียกว่าแกงเขียวหวาน
ดูเป็นเพื่อนที่น่ารัก มีมิตรภาพที่ดีต่อกัน จะติดตามนะ
ไดม่อนด์ ริง ของป้ามาแล้ว ชอบสองสาวค่ะน่ารัก สดใสดูแล้วมีความสุขค่ะ
น้องเเหวน สวยนา่รักธรรมชาตินะ เหมือนสาวไทยโดยทั่วไปเลย ชอบมากกกกกกกกกกกกกกก
ตำส้ม = ตำเปลี้ยว สมะยก่อนเขาใช้ผลไม้รสเปลี้ยว มาตำครับ เช่นส้มมะขาม ส้มมะม่วง มะละกอมาทีหลังครับ เพราะมะละกอไม่ใช่พืชพื้นถิ่น เป็นพืชจากแอฟริกาใต้ เข้ามาโดยนักเดินเรือชาวยุโรป ผ่านมาทาง มะละกา เราจึงเรียกว่ทมะละกอ
มะละกอดิบ ตาม ตจว. เขาก็ต้มให้หมูเป็ดไก่กินนะคะ กะเต๋วเรือสีช๊อค คงเป็นเลือดสดใส่นำร้อนๆและทางร้านคงทำเป็นรสต้มยำจะมี3รสเปรี้ยวหวานเค็ม
ที่บ้านมะละกอดิบต้มกับขาหมูใส่ขิง ถั่วลิง และซีอิ๊วดำเปรี้ยว(คล้ายจิ๊กโฉวหรือซอสเปรี้ยว)รูปลักษณ์เหมือนซีอิ๊วหวาน ส่วนใหญ่ที่บ้านทำให้คนมีลูกอ่อน(ทารก)
อยากให้ทำคลิปที่บอกว่า สิ่งที่คนต่างชาติควรทำและไม่ควรทำในประเทศไทย เพื่อจะได้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันอย่างยั่งยืนครับ❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤
จริงๆแกงเขียวหวานมันหวานค่ะ อย่างน้อยก็หวานกว่าแกงอื่นๆทั่วไป เวลาปรุ่งต้องเป็นรสออกหวานเค็มค่ะ ส่วนแกงส้มมันจะออกเปรี้ยว เพราะคำว่าส้มแปลว่าเปรั้ยว
น้องคนจีนพูดไทยเสียงนุ่ม น่าฟังมากๆครับ
อาหารไทยบางอย่างก็มีพื้นฐานมาจากอาหารจีน เช่น เส้นก๋วยเตี๋ยว หรือผัดต่างๆ ไอติมกระทิแท้ๆ ในไทยเดี๋ยวนี้หายากมากๆ ถ้าคนจีนได้กินไอติมกะทิแท้ๆ ใส่ลอดช่อง กับขนุน และมีข้าวเหนียวกับลูกชิดด้วยนะ อร่อยมากๆ อยากให้พาไปกินข้าวมันไก่จีนบ้าง มีไหมครับ
อยากได้น้องแหวนมาเป็นสะใภ้ไทยจังเลย สวยน่ารักมาก
ก๋วยเตี๋ยวเรือ ภาคกลาง หวานครับ จะเป็นซอสหวานเปรี้ยว แต่คนชอบสับสนก๋วยเตี๋ยวเรือกับก๋วยเตี๋ยวน้ำตก
ข้าวกับผลไม้ บางทีไม่ได้ดัดแปลงอะไรเลย บางทีก็เพียวๆเลย แต่ส่วนมากกินกับข้าวเหนียว มะม่วงสุก มะขามหวาน แตงโม ส้มโอ มะตูมสุก
ฯลฯ
ปูผัดฝงกระหรี่ เป็นอาหารที่มีต้นกำเนิดมาจากสิงคโปรในยุคที่อังกฤษยังปกครองอยู่ครับ ส่วนส้มตำเป็นภาษาไทยภาคกลาง ภาคอีสานไม่เรียกส้มตำแต่เรียก ตำหมากหุ่ง ครับ
ตำส้มหรือตำบักหุ่ง ตำแตง ตำถั่ว
แต้ถ้าบอกให้ไปซื้อก็จะบอกว่าเอา"ตำส้ม" จะเข้าใจกันว่าเป็น"ตำบักหุ่ง"
ก่อนจะเป็นหมากหุ้ง ก็มีชื่อว่ากล้วยเทพมาก่อน เพราะเจ้าเมืองทางอีส่รได้รับพระราชทานพันธุ์ไปปลูก เมื่อออกลูกก็เป็นของแปลกมีชาวบ้านมาดูกันทั้งเมือง
ฟังจากเชฟป้อมบอกมาจากเชฟคนไทยทึ่อยู่ฮ่องกง
คนอีสานเขาชอบเอาผลไม้ที่มีรสชาติต่างๆมาตำ จะเรียกว่าตำส้ม เป็นที่มาของส้มตำควรศึกษาข้อมูลดีๆอายเขา
มั่ว ปูผัดผงกะหรี่ เป็นเชฟคนไทยคิดค้นขึ้นครับ มีกลักฐานยืนยัน นั่งยัน นอนยันเลยครับ คนคิดค้นลูกหลานก็ยังอยู่ครับ ส่วนของสิง เป็นปูผัดอีกอย่าง
ส้มตำไม่ได้มาจากภาคอีสานครับ วัตถุดิบในส้มตำที่เรากินๆกันนี้ เป็นของนำเข้าเป็นส่วนมากนะ ซึ่งมันหมายความว่าเป็นของที่ขุนนางชนชั้นสูงสามารถหามาได้ ซึ่งพริก มะละกอ มะเขือเทศ ต้นกำเนิดไม่ได้มาจากประเทศไทยเราต้องนำเข้ามาจากต่างประเทศผ่านการแลกเปลี่ยนทางเรือ แต่อีสานมีเมนูคล้ายๆกันที่ตำอย่างอื่นวิธีทำคล้ายๆกัน
จึงกล่าวได้ว่าส้มตำนั้นเริ่มจากกรุงเทพฯ แล้วไปบูมทางอีสานและประเทศลาว ซึ่งมีการประยุกต์ให้ถูกปากคนท้องถิ่นโดยการใส่ปลาร้า หรือพวกวัตถุดิบที่พอจะหาได้ตามแต่ภูมิภาคของตนลงไป เพราะทำง่ายรสชาติอร่อย
เราจึงมีตำ 2 แบบ คือตำไทย ซึ่งเป็นสูตรคนกรุง และตำลาว/ตำอีสาน ที่มีปลาร้า ปูดอง แต่ไม่มีถั่วลิสงคั่ว ไม่ว่าตำแบบไหน มัน complete ในรสชาติของตัวเอง ไม่ได้ขาดได้เกินเลยแม้แต่น้อย ตำไทย ครบรสเปรี้ยวหวานเค็มเผ็ด มันจากถั่ว ตำอีสาน จะมีความนัวของน้ำปลาร้า แม้ยุคหลังๆ มันก็ได้ผงชูรสช่วยด้วยทั้ง 2 เมนูก็ตามที 😂
เมื่อประมาณ 10 เกือบ 20 ปีที่ผ่านมาเราก็มีวิวัฒนาการที่มีตำสารพัดเกิดขึ้นไปทั่วหัวระแหง เช่น ตำปูม้า ตำไทยไข่เค็ม ฯลฯ สารพัดตำ และล่าสุดเราก็เพิ่งได้น้องใหม่คือตำแซลม่อน เดี๋ยวมีวัตถุดิบอะไรบูมมาอีก คิดว่าก็คงไปนอนอยู่ก้นครกเช่นกัน
ดูจนจบง่ายมาก เพราะ น่ารักทั้ง2สาว แถมมีเกร็ดความรู้ ครับ
ความจริงผัดกะเพรามีเคริ่องเทศสิบอย่างที่ต้องใส่ลงไป แต่โดนลดอัตราส่วนเหลือแค่พริก,กระเทียม,กะเพรา,ลูกยี่หร่าเม็ดเล็กๆล้างน้ำนำไปโขลกให้ละเอียดจะเพิ่มกลิ่นหอม,นำไปผัดกับเนื้อยิ่งอร่อย😊
อาหารคาวของไทยที่ใส่ผลไม้ก็มีหลายเมนูอยู่นะคะ เช่น ม้าฮ่อ ยำส้มโอ ส้มตำผลไม้ ต้มสัปปะรด และแกงสัปปะรด เป็นต้น
ตอบย้อนนะดูคลิปที่เราบ่นแล้วจะมาตอบข้อมูลให้นิสนึง
1. ก๋วยเตียวเรือน้ำตก ก๋วยเตียวเรือจริงมันจะมีการปรุงมาให้แล้วรสชาติตามรสมือแม่ค้า แต่สิ่งที่เราคิดคือก๋วยเตียวเรือสมัยนี้ที่เราสั่งที่ร้านมันยังไม่ปรุงมาให้ (ไม่ว่าอันไหนก็ไม่ผิดหรือว่าถูก)
2. ผัดกะเพรา หมูผัดปรุงรสใส่ใบกะเพรา ส่วนเรื่องอื่นๆตามที่เราพูดก็สนุกดีตามภาษาเมาส์ๆ
3. แกงเขียวหวาน สิ่งที่เราพูดก็ไม่ผิดแต่มันเป็นความคิดที่ออกเป็นความคิดสมัยใหม่ แต่ถ้าถามคนมีอายุจริงๆจะได้ประมาณ เพราะพริกแกงที่จะเน้นสีเขียวและมีรสชาติหวานมัน
4. ข้าวผัดสับปะรด สิ่งที่เราพูดมันก็ไม่ได้ผิด แต่ถ้าถามคนมีอายุจริงๆ มันเป็นอาหารฟิวชั่นคนไทยเนี่ยล่ะดัดแปลงขึ้นมาจากอาหารจีน
5. ต้มข่าไก่ สิ่งที่เราพูดอันนี้ผิดเลย เพราะคนไทยจะไม่เรียกว่าแกง เราจะคุ้นคำนี้ไหม ต้มยำข่าไก่ มันคือ ต้มยำที่ใส่น้ำกระทิ
6. ส้มตำ ข้อมูลตรงนี้เราเปีะสิ่งเราพูดถูก
7. ปูผัดผงกระหรี่ ข้อมูลตรงนี้ก็ถูกต้องอยู่นะแต่ตอนท้ายไม่ถูกเพราะเมนูนี้ไม่มีวัฒนธรรมจีนมาผสมเลย แต่เราจะเคยเห็นปูผัดผงกระหรี่แบบจีนอยู่ (มันจะมีรสผงกระหรี่น้อยมากแต่มีน้ำมันพริกเยอะ)
8. ผัดไท อันนี้เราเก็บข้อมูลไว้พี่ไม่รู้ว่าเราจะพูดอะไรแต่ อาหารนี้ไม่ได้เกิดมาจากคนจีน เส้นที่มีต้นแบบจากจีนมีแค่ บะหมี่เหลือง กับ เส้นเหมี่สั่ว ส่วนเส้นสีขาวเราจะได้จากทาง มอญ
9. ข้าวเหนียวมะม่วง ข้อมูลถูก (ติดแค่วีดีโอที่ราดบนข้าวเหนียวเนี่ยล่ะ พี่ทีมราดบนมะม่วง)
10. ต้มยำกุ้ง ข้อมูลถูกต้องจ้า
สรุปมันก็ไม่ได้ผิดมากแค่เป็นข้อมูลแบบสมัยใหม่ แต่ถ้าถามคนอายุ 30 ขึ้นเขาจะบอกว่ามันไม่ค่อยถูก
ตอนเด็กๆลุงกิน มะม่วง แตงโม และสัปรด กับข้าวทุกวันตอนเช้าจ้า
ก๋วยเตี๋ยวเรือที่บอกมาน่าจะเป็น ก๋วยเตี๋ยวเรือ แบบใหม่ที่เดี๋ยวนี้เขานิยม ปรุงรสให้ลูกค้าเลย มันจะมีทุกรสชาติ เปี้ยว หวาน เค็ม เผ็ด ถ้าอยากกินแบบดั้งเดิมต้องบอกว่าไม่ต้องปรุงรส
ขอบคุณน้องทั้งสองมากครับ-ที่โปรโมทอาหารไทย 10 อย่างให้คนต่างชาติได้ดูกันครับ
ชอบหมดเลยค่ะ อยากให้น้องแหวนลองทานข้าวซอย อร่อยมาก
เพิ่งเคยดูช่องน้อง น่ารักทั้งคู่เลยค่ะ ทำคลิปดีมากเลยค่ะ
เก่งมากทั้งสองคนและมีความรู้จริงที่ถูก ไม่เข้าข้างประเทศตัวเอง สุดยอดค่ะ
สองสาว คนจีนน่ารักมีเสน่ห์มาก พูดไทยชัดแจ๋วดี เก่งมาก รักนะจุบๆ ดูอยู่ต่างประเทศ ที่ ยูเอสเอ
ช่องให้ความรู้ประกอบด้วยดีมากครับ ดีๆ
ลองหินปูต้มกระทะใส่ต้นหอมดู อร่อยเช่นกันจะคล้ายๆเมนูจีน แต่ไม่มีขิง จะมีรสหวาน
ปูผัดผงกะหรี่ที่สมุทรสาครจานล่ะ80-90บาทก็มีแต่ถ้าขายเป็นถุงๆล่ะ50บาทก็มี..นะ😊😊
น่ารักทั้งคู่เลย ขอชื่นชมที่ทำให้ผมดูไปยิ้มไปครับ
เคยไปนั่งเก้าอี้ตัวเดียว กินข้าวลาดแกงเขียวหวานฟักปลาช่อน อร่อยมาก ปลาไม่คาว แถวๆบ้านหม้อ คนจีนทำขาย😊
สองคนนี่ ช่างน่ารัก ดูไปอมยิ้มไป😊
อาหารหน้าร้อน-แตงโมหน้าปลาแห้ง และ ข้าวแช่ครับ ข้าวเหนียวมะม่วงถ้าใช้มะม่วงอกร่องจะอร่อยมากกกกก❤❤❤❤❤❤
น่ารักทั้งเพชรและแหวน เลยFCทั้ง2
คนไทยมีผลไม้กินตลอดปี เช่น มะละกอ มะม่วง ฯลฯ จึงไม่ต้องรอให้สุก (เพราะถ้ารอสุกกินไม่ทันมันจะเน่าเลย) เราจึงสามารถนำมาประยุกต์กินดิบๆ ได้หลากหลายเมนู แถมอร่อยสุดๆค่ะ❤❤❤
สองคนนี้เหมาะสมกันที่สุด อยู่ด้วยกันแล้วปัง
บางที่ก๋วยเตี๋ยวเรือ ใส่กะทิ ทำให้หวาน แต่ก๋วยเตี๋ยวเรือใน กทม. จะไม่ค่อยหวาน ที่หวานหวานจากกะทิค่ะ ถ้าไม่ชอบกวานจะต้องเลือกที่ไม่ใส่กะทิค่ะ
ภาษาใต้ส้มก็หมายถึงเปรี้ยวเช่นเหมือนแกงส้มภาคใต้(ภาคกลางเรียกแกงเหลือง)มักใช้ส้มแขกเป็นหลักมีรสเปรี้ยวนำ
พระฉันอาหารเช้าคนใต้เรียกฉันจังหันไหม คนอีสานก็เรียกน่ะ 😅😅😅
เรามาดูครั้วแรกคะ
เตี๋ยว ต้มยำครับ เผ็ด เปรี้ยว หวาน สูตรสำเร็จ อาหารไทย ส่วนมาก จะออก หวานทั้งนั้นเลย
คนจีนน่าจะนิยม รสเค็มนำนะคะ เลยจับรสหวานนิดหน่อย ก็จะบอกว่า หวานมากกก
พี่อาศัยอยู่นอเวย์ค่ะ. ยากมีโอกาศไปจีน ยากไปกินอาหารจีนอร่อยๆค่ะ
มีช่องนี้ที่พูดด้วยเรื่องอาหาร"ส้มตำ"ได้เข้าใจง่ายและเข้าใจถูก
แกงเขียวหวาน คนจีนนิยมมาก ผมต้องทำพริกแกงเขียววานบ่อยๆ เพราะ เพื่อนๆ พ่อครัวสิงคโปร์ที่ไปเปิดร้าอาารที่เสิ่นเจิ้น ขอให้ทำให้จน ตอนหลังขายดี หาของทำไม่ทัน ต้องบินมาหิ้วจากไทยไปขาย
คนอีสานเรียกตำมะละกอหรือบักฮุ๊งว่า ตำส้ม /ส้มตำ เพราะมีรสเปรี้ยวๆ
แหวนน่ารักมีเสน่ห์ ส่วนเพชรสวยเป็นพิเศษ 😊
ส้ม เป็นคำสมัยก่อน แปลว่าเปรี้ยว เช่น ส้มตำ แกงส้ม
แกงเขียวหวาน สีเขียวหวาน = สีเขียวอ่อน สีเขียวหลักในน้ำมาจากพริกเขียวล้วนๆเลย ถ้าไม่ใส่น้ำใบโหระพาให้สีเข้มขึ้น
ยังคงความสนุกและความน่าสนใจเหมือนเดิม เป็นกำลังใจให้ครับ
ภาคเหนือ กับ ใต้ก็น่าจะเรียกรสชาติเปรี้ยวว่าส้มเหมือนกันนะคะ แกงส้มใต้ ส้มหมูเหนือ จิ้นส้มเหนือ
" น่ารักที่สุด "...ทั้งคู่เลย
ต้มข่าไก่จะไม่ใส่พริกก็ได้ ตอนเด็กๆ กินเผ็ดไม่ได้เลยก็ยังเคยได้กินที่ไม่เผ็ด แต่จะใส่ก็ไม่เป็นไรมีรสเผ็ดจะได้ครบรสยิ่งขึ้น อร่อยขึ้น แต่ต้มยำไม่มีรสเผ็ดนี่ตั้งแต่เกิดมาหลายสิบปีก็ไม่เคยกินนะ
ก๋วยเตี๋ยวเรือสีช๊อกโกเล็ต น่าจะหมายถึงก๋วยเตี๋ยวเรือน้ำตก ที่ใส่เลือดไปด้วย ส่วนเรื่องรสหวานมันก็แล้วแต่ร้านที่ทำ บางร้านทำออกมาเค็ม บางร้านทำรสจืดไว้ก่อน
แกงกะทิฟักทองกับปูม้า....อร่อยมาก....อย่าลืมไปลองทานนะคะ
แกงเขียวหวาน คำว่าหวานมาจากหน้าตามันที่ดูสีเขียวหวานละมุนครับ แกงเขียวหวานโบราณจะออกเผ็ด เค็ม และหวานคือรสชาติสุดท้ายและอ่อนที่สุดในสามรสชาตินี้
แกงเขียวหวานสมันก่อนจะเป็นแกงที่เผ็ดที่สุดตรงข้ามกับหน้าตามันครับ เนื่องจากสีเขียวจะใช้พริกสดสีเขียวในปริมาณมากทำให้แกงมีสีเขียว พริกสีเขียวไทย เผ็ดกว่าสีแดงครับ
ไม่ได้ดูมาสักพักพอกลับมาดูช่องนี้พัฒนาไปเยอะจริงๆค่ะ ❤❤ เป็นกำลังใจให้นะคะ
ส้ม เป็นคำไทเดิม หมายถึงเปรี้ยว ใช้กันในทุกภาคครับ
ชื่อท้องถิ่นดั้งเดิมของภาคอิสานส้มตำคือ "ตำหมากส้ม" เป็นคำเรียกรวมๆของตำผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เป็นการนำผลไม้ดิบที่มีหาได้มาตำ โดยปรุงให้มีรสเปรี้ยวนำ ผลไม้ที่นำมาตำแล้วแพร่หลายคือมะละกอ ชื่อเดิมทางอิสานเรียกว่าตำมะละกอ หรือตำหมากหุ่ง หรือตำบักหุ่ง เรียกตามชื่อของผลไม้ที่นำมาตำ พออาหารชนิดนี้เผยแพร่เข้ามาในกรุงเทพ เมื่อถูกถามว่าอาหารนี้เรียกว่าอะไร ถ้าจะตอบว่า ตำหมากส้ม ก็จะฟังแล้วไม่เข้าใจก็เลยตอบไปว่า ส้มตำ
ชอบคนต่างชาติพูดไทยมากๆ เสียงสำเนียงน่ารัก
เพิ่งเข้ามาดูนะ สนุกมาก น่ารักจัง....
ทั้ง 2 สาว เสียงน่าฟังมากค่ะ น่าเอ็นดู ทำเรื่อย ๆ นะคะ สนับสนุนค่ะ❤
ปูนิ่มผัดผงกะหรี่ ปูนิ่มผัดพริกไทยดำ ปูนิ่มแกงเขียวหวานใส่ฟักทอง อาหร่อยมากๆ
กะเพราะกินคู่ไข่ดาว ส่วนของผมนั้น ต้มข่าไก่ กินคู่กับหมูหยองครับ อร่อยมากๆ โรยหมูหยองลงในข้าว ตักต้มข่าไก่ใส่ไปซักช้อน แล้วตักเข้าปากนะ อื้ม ... อาโหร่ย
อาหารสิ้นคิด เช่นไข่ดาว ไข่เจียว ไข่ต้ม +น้ำจิ้มต่างๆ
ส้ม... แปลว่าเปรี้ยว.... (ภาษาอิสาน) อาหารนี้จะเผ็ด, นัวร์, และเปรี้ยว เอาอะไรมาตำก้อได้ อ้อ ตำำ คืออาการเอาไม้แข็งๆทิ่มลงทางยาวตามไม้เราเรียก สาก นัวคือความรู้สึกเมื่ออาหาร.. สัมผัสลิ้น (พอดี ไร้ที่ตำหนิ) พร้อมลื่นลงคอเร็วๆ
หิวจังเลยค่ะ🤤
ต้องไปหาอะไรกินแล้วว 🤤
สัม ในคำว่าส้มตำ หมายถึงรสเปรี้ยว อาหารตำที่มีรสเปรี้ยวนำ เป็นคำไทยแท้ ทางใต้ยังเรียกของเปรี้ยวทุกอย่างนำหน้าด้วยส้มเลย เช่น สัมขาม ส้มม่วง ส้มยม สัมนาว
ต้มข่าไก่ต้อง มันข้นหวานกะทิ และต้องเปรี้ยว เผ็ดแซบ ถึงจะได้รสชาดที่แท้จริง
สีช็อคโกแลตในก๋วยเตี๋ยวเรือคือน้ำตก วิธีทำคือใช้เลือดวัวใส่ลงไปในน้ำซุปของก๋วยเตี๋ยวเนื้อหรือไม่ก็เป็นเลือดหมูใส่ในก๋วยเตี๋ยวหมู ความหวานส่วนหนึ่งจะหวานจากเลือดที่ผสมในน้ำซุปร้านก๋วยเตี๋ยวมักผสมพริกน้ำส้ม เพื่อตัดรสชาติหวานนิดหน่อย
ส้มตำของภาคกลางนั้นมีมานานแล้ว เรียกว่า(ส้มตำไทย)ไม่ใส่ปู ไม่ใส่ปลาร้า ใส่กุ้งแห้ง
ส้มตำชาววังนั่นเอง
จะทานพร้อมกับใบทองหรางครับ.
คลิปดีมากๆ น่ารักทั้งสองคนเลยครับ
คลิปสนุก น่ารักทั้งสองคนเลยค่ะ