งานวิจัยไผ่

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 16 янв 2025

Комментарии • 6

  • @thailandtours4980
    @thailandtours4980 2 года назад

    มีหน่อพันธ์ขายมั่ยครับ

  • @Bundit816
    @Bundit816 6 лет назад +7

    #เกิดอะไรขึ้นกับไผ่ซางหม่น
    ปีสองปีนี้ กระแสคนอยากปลูกไผ่ซางหม่นมาแรงมากครับ
    ความเป็นไปเป็นมาของไผ่ซางหม่น น้อยคนจะรู้ วันนี้ผมจึงนำข้อมูลประวัติของไผ่ซางหม่นมาเล่าสู่กันฟังอีกครั้งหนึ่งครับ
    ไผ่ซางหม่น เป็นไผ่ซางชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
    ครั้งแรกที่ค้นพบอยู่ที่แม่ฮ่องสอน มีชาวเขาพื้นเมือง
    แถบนั้นได้นำมาปลูกไว้ ครั้งหนึ่ง สมเด็จพระราชินีได้เสด็จไปพำนัก ณ พระราชตำหนักปางตอง แม่ฮ่องสอน ได้ดำริให้ทางกรมป่าไม้ นำไผ่ซางชนิดนั้นไปตัดต่อขยายพันธุ์
    เจ้าหน้าที่นักวิชาการป่าไม้ ท่านหนึ่ง ชื่อ ชัชวาลย์ ค้ำชู
    ได้นำเก็บเมล็ดได้นำต้นกล้าบางส่วนของไผ่ซางชนิดนี้ มา
    ให้ทางกลุ่มไผ่เชียงดาว มาตัดต่อขยายพันธุ์ เผยแพร่และจำหน่าย โดยทางคุณชัชวาลย์ได้ตั้งชื่อไผ่ชนิดนี้ว่า ไผ่ซางหม่น และ บางกลุ่ม ตั้งชื่อว่าไผ่ซางนวลราชินี ซึ่งเป็นตัวเดียวกันครับ ตอนแรกมีการขยายพันธุ์กันแพร่หลายในอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ แต่ต้นกล้าราคาค่อนข้างสูง ต้นละ 1000-2000 บาทและมีการตั้งชื่อไผ่ซางหม่น เพื่อการพาณิชย์ เป็นชื่อไผ่ซางหม่นชนิดต่างๆ เช่น ไผ่ซางหม่น ฟ้าหม่น ต่อมามีคนหัวใส ตัดคำว่าซางหม่นมาเรียกเป็นไผ่ฟ้าหม่นเฉยๆ เจตนาเพื่อหลอกขายสายพันธุ์ไผ่โดยไม่คัดสายพันธุ์ ซึ่งปกติคนในวงการไผ่ หรือหน่วยงานมหาลัยเกษตร ต่างยอมรับว่าไผ่ซางแบบเพาะเมล็ดมีโอกาสกลายพันธุ์ ถึง 90%
    ปัจจุบันคนทั่วไปเริ่มเข้าใจวงจรชีวิตของไผ่หลายสายพันธุ์มากขึ้น
    ข้อสำคัญ กลุ่มไผ่ซาง ต้องมีการคัดสายพันธุ์ก่อนที่จะให้คนทั่วไป ไปปลูกในเชิงพาณิชย์เท่านั้น
    ไผ่ซางมีหลายชนิดเพราะมีกลายพันธุ์จากการเพาะเมล็ด
    เช่น ซางนวล ซางแจ้ ซางป่า ซางคำ ซางตอง ซางโปก ซางงาว ฯลฯ
    ชมรมปลูกไผ่อุตรดิตถ์ ได้ผลิตกล้าไผ่ซางหม่น มาร่วม 20 ปี โดยการคัดสายพันธุ์โดย
    คุณตาบุญช่วย ปิ่นนาค ปัจจุบันอายุ 95 ปี ท่านได้คัดสายพันธุ์เป็นคนแรกในจังหวัดอุตรดิตถ์โดยการสนับสนุนจากคุณชัชวาลย์ ค้ำชู ซึ่งเป็นชาวอุตรดิตถ์ด้วยกัน
    ปัจจุบันมีหลายกลุ่มได้นำไผ่ซางหลากหลายชนิด มาผลิตขายในนามไผ่ซางหม่น และมีการขายตัดราคาเพื่อ เอาใจลูกค้าชอบราคาถูก แต่ไม่มีการคัดสายพันธุ์ให้ถูกต้อง
    มีตัวอย่างที่ ที่เกิดการเสียหายมากมาย เช่น สส.อุดรธานีท่านหนึ่งปลูกเป็นร้อยไร่ ปัจจุบันปลูกไผ่แปดปี ลำไผ่ยังขายไม่ได้เพราะลำไม่สวยตรง กิ่งแขนงเยอะ เนื้อบาง แม้แต่หน่วยงานของกรมป่าไม้ยังโดนหลอก ซื้อไปแจกชาวบ้าน พอปลูกหลายปี ไม่มีประโยชน์ต้องเสียเวลารื้อออก มีหลายท่านที่เสียหาย และมีคดีฟ้องร้องกันก็หลายรายครับ
    ฝากเตือนท่านที่สนใจปลูกไผ่ซางหม่นต้องทราบแหล่งต้นแม่พันธุ์ครับ การตัดสินใจผิดพลาด อาจทำให้เสียความรู้สึกเสียเวลาหลายปี ของดีของถูกไม่มีจริงครับโปรดพิจารณาให้ถ่องแท้ครับ...
    🌱🍯🌱🌱🍯🌱🌱🌱
    #ตลาดของไผ่ เป็นตลาดที่โคตรมหึมาครับ ทั้งคนทำพันธุ์ คนปลูก อุตสาหกรรมต่อเนื่องที่ตามมา แต่หลายๆคนที่จะทำแบบสุดกำลัง ก็ยังลังเล ไม่แน่ใจว่า มันจะใกล้เต็มแล้วหรือยัง เห็นมีแต่คนอยากปลูก
    ผมมองตลาดไผ่ ก็เหมือน ตลาด มะนาว ถ้าเราคิดปลูก เพื่อ เอาหน่อ เป็นหลัก หน้าแล้งแพงมากๆ ลูกละ 3-5 บาท แต่ถ้าหน้าฝน แทบแจกฟรี! แล้วถ้าสังเกตสักนิด ผมไม่ค่อยโปรโมต เรื่อง ปลูกไผ่เพื่อผลิตหน่อ ผมมองว่า ดีมากๆแต่เป็นรายย่อยๆ ติดปัญหาแรงงานต้องตัดทุก 2-3 วันครั้ง ปัจจุบันหาแรงงานยาก ต้องทำเอง ก็ได้ระดับหนึ่งครับ ท่านที่ทำอยู่จะมองออกเอง ว่าจะขยายไปแค่ไหนจึงเหมาะ
    แต่ตลาดไผ่ใช้ลำ คุณ ปล่อยเลย ตัดแค่ 3-4 ครั้งต่อปี เอง ปลูกแล้วไปไหนๆก็ได้ จะทำมาก น้อยขึ้นกับเราเอง ใช้ปัญญา พิจารณาเอา ตลาดไผ่มีที่ไหน ก็พยายามมากๆที่จะ บอกกันว่าตรงไหน ใครซื้อ รวมทั้งท่านอื่นๆด้วยก็ร่วมแบ่งปันข้อมูลกัน
    เขาว่ากันว่า
    สนใจกล้าพันธุ์ไผ่คัดสายแท้ ชัดเจน ติดต่อชมรมปลูกไผ่ โทร 0870691509
    ไอดีไลน์ 0870691509
    กล้าไผ่คุณภาพของชมรมปลูกไผ่ที่จัดจำหน่าย
    -ไผ่ซางหม่น ไผ่ข้าวหลาม ไผ่เป๊าะ ไผ่เก้าดาว ไผ่หกยักษ์ ไผ่บงหวาน ไผ่ตงหม้อ ไผ่ปักกิ่ง ไผ่อ่างขาง ไผ่ปักกิ่ง ไผ่ตงยักษ์ ไผ่ซางหลวง ไผ่บงจักตอก
    ไผ่หลอด ไผ่สีทอง ไผ่ดำติมอร์ ฯลฯ

    • @thailandtours4980
      @thailandtours4980 2 года назад

      จำหน่ายอย่างไรครับ

  • @vinitasaowalak9156
    @vinitasaowalak9156 5 лет назад

    น่าจะใช้ไผ่ชนิดเดียวกันเพื่อการทดลอง เพราะไผ่ต่างชนิดกันย่อมให้ผลแตกต่างกัน

  • @สมสินนาห่อม-ค7ธ

    อยากได้สายพันธิ์ครับ มีหน่อขายไมครับ

  • @runrun3733
    @runrun3733 6 лет назад

    มีพันธ์ไผ่ขายใก้เกษตรกรหรือไม่--ขอที่อยู่ของสวนครับ-หรือเบอร์โทรครับ