ep.142 : พิธีจองเปรียง และลอยประทีป สมัยอยุธยา-รัตนโกสินทร์

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 30 сен 2024
  • รุ่นเก๋า...เล่าเกร็ด
    รายการประวัติศาสตร์ย่อยง่าย
    เพื่อเสริมสร้างความรู้ทางเลือก
    โดย หอย อภิศักดิ์
    RUclips : HOY APISAK - OFFICIAL
    / @hoyapisak
    Fanpage : Hoy Apisak Fanspace
    / hoyapisak
    Podcast : รุ่นเก๋า...เล่าเกร็ด
    pod.co/hoyapisak
    Tik Tok : Hoy Apisak - Official
    / hoyapisak
    --
    ::: อ้างอิง :::
    กฎหมายตราสามดวง เล่ม 1 / พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา. 2505 (หอสมุดแห่งชาติ ชลบุรี : เว็บท่ากรมศิลปากร)
    finearts.go.th...
    พระราชพิธีสิบสองเดือน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : เว็บไซต์ห้องสมุดวัชรญาณ
    vajirayana.org...
    โคลงทวาทศมาส
    vajirayana.org...
    จดหมายเหตุ ลาลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม / ผู้เขียน มองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์ ผู้แปล สันต์ ท.โกมลบุตร. นนทบุรี: ศรีปัญญา. 2557
    kledthai.com/9...
    -
    ::: Credits :::
    โมชั่นกราฟิกไตเติ้ลรายการ :
    จารุวัตร โภไคธเนศ
    Motion Graphic :
    Jaruwatr Bhokhaidhanes
    เพลงไตเติ้ลรายการและดนตรีประกอบ :
    บันทึกเสียง มิกซ์ และมาสเตอร์ โดย นฤชิต เฮงวัฒนอาภา
    Title Music and Scores :
    Recorded / Mixed and Mastered by Naruechit Hengwattanaarpaa
    ภาพนิ่ง :
    รุ่งทิพย์ เฟื่องฟุ้ง
    Photography :
    Roongthip Fuengfung
    สคริปต์ บรรยาย และเพลงประกอบรายการ :
    หอย อภิศักดิ์
    Written, performed and all music by Hoy Apisak
    --รุ่นเก๋า…เล่าเกร็ด
    เรียงตาม Timeline ในประวัติศาสตร์
    จัดลำดับโดยคุณ Noppadol Mukyu Sathusen • รุ่นเก่า เล่าตาม Timeline
    #ep142 #พรหมลิขิต #จองเปรียง #ลอยกระทง #ลอยโคม #ลอยประทีป #เจ้าฟ้าเพชร #เจ้าฟ้าพร #พระเจ้าท้ายสระ #ออเจ้า #ขุนหลวง #ท้ายสระ #ลดโคม #ลดชุด #ไฟชุด #วัดพุทไธศวรรย์ #พระเมรุ #บรรพบุรุษ #อยุธยา #ลาลูแบร์ #พระราชพิธีสิบสองเดือน #ทวาทศมาส #รัตนโกสินทร์ #รัชกาลที่5 #รัชกาลที่4 #ประเพณี #กรุงศรี #Ayutthaya #รุ่นเก๋าเล่าเกร็ด #Siam #สยาม #เกร็ด #ความรู้ #เกร็ดความรู้ #ประวัติศาสตร์ #History #เสียงหอย #HoyApisak #Announcer #โฆษก

Комментарии • 78

  • @phongsiripinthong9188
    @phongsiripinthong9188 10 месяцев назад +4

    ผมสงสัยมาก ในบรรดาเอเซียฟิลิปปินส์หน้าตาคล้ายกันกับหน้าตาคนไทยเยอะมากที่สุดแต่ดีเอ็นเอ ไม่รู้จะเหมือนกันหรือเปล่า🇹🇭

  • @มิถินา-ช9บ
    @มิถินา-ช9บ 10 месяцев назад +2

    เจ้าแม่วัดดุสิต คือ ใครครับ...วัดดุสิต อยู่ตรงไหนของอยุธยาครับ

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  10 месяцев назад +1

      ดูคลิปนี้ครับ ruclips.net/video/kJkGQzk8Mug/видео.htmlsi=QskJieCTA2Zi2hy8

  • @PhisandethFarm
    @PhisandethFarm 10 месяцев назад +1

    ตอนแรกนึกว่าใส่หมวก ดูอีกทีเป็นพระพุทธรูปอยู่ด้านหลัง ขออภัยนะคะ

  • @fankela15
    @fankela15 10 месяцев назад +9

    กว่าจะเตรียมข้อมูลได้ไม่ง่าย เป็นรายการที่มีสาระประโยชน์มากๆครับ

  • @snvw9160
    @snvw9160 10 месяцев назад +2

    อยากย้อนเวลากลัยไปดูพิธีจังครับ😊😊😊

    • @williamlawyer6981
      @williamlawyer6981 9 месяцев назад

      เปิดคัมภีร์กฤษณะกาลีครับ ผมไปด้วย55

  • @0005-w3g
    @0005-w3g 10 месяцев назад +1

    คุณหอยคับ อยากไห้ทำขุนนางคนไหนได้ยศเป็นสมเด็กเจ้าพระยาบางแล้วสาเหตุที่ได้ยศนี้ทำความดีความชอบอะไรบาง ขอบคุณคับ

  • @tum61977
    @tum61977 10 месяцев назад +2

    พี่หอยพอจะบรรยายปีเป็น ค.ศ. ด้วยได้มั๊ยครับ? จะได้ช่วยให้ผู้ฟังสามารถ Relate กับประวัติศาสตร์โลก

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  10 месяцев назад +3

      ผมทำได้ในระดับหนึ่ง เฉพาะที่เกี่ยวกับเอกสารต่างชาติครับ
      บางอย่างมันไม่สามารถ +543 เข้าไปชั้นเดี๋ยวได้ เพราะต้องตามไปดูวันเถลิงศกอะไรวุ่นวายหลายชั้นครับ และขืนถ้าแปลงศักราชมั่ว ๆ คนก็เอาไปใช้ผิด ๆ อีกครับ

    • @tum61977
      @tum61977 10 месяцев назад

      @@hoyapisak ครับพี่

  • @กวีราชสีห์-ข8ป
    @กวีราชสีห์-ข8ป 10 месяцев назад +1

    อยากฟังเรื่องราว เมียพระราชทาน บ้างครับ

  • @bwv8589
    @bwv8589 10 месяцев назад +2

    ชอบการบรรยายมากครับ

  • @เจษฎาพรจิตรอารีย์

    ดีใจจังวันนี้กลับมาทัน...แต่ไม่ลอบชื่อเลยครับ ลืม!สวัสดีครับคุณหอย

  • @กระเจี๊ยบหวานน้ําตาลเปรี้ยว

    สรุปการลอยกระทงใบตองเกิดขึ้นที่หลังอะนะ

  • @user-oq7dq9gj4o
    @user-oq7dq9gj4o 10 месяцев назад +3

    พิธีจองเปรียงลดชุดลอยโคม ประกอบด้วย 2 กิจกรรม
    จองเปรียญ คือ โคมไฟที่ได้จากการจุดไฟเผาน้ำมันเนย การชักโคมขึ้นสู่ยอดเสาเพื่อให้แสงส่องสว่างอยู่ท่ามกลางความมืด เมื่อระยะเวลาผ่านไปโคมจะตกลงสู่แม่น้ำ เป็นการขอขมาดินและน้ำที่ทำให้พืชผลเติบโตสมบูรณ์
    จอง มาจากคำว่า "จง" ในภาษาเขมร แปลว่า ผูก หรือ โยง หมายถึง การประคับประคองให้มีแสงสว่าง และ เปรียง มาจากคำว่า "เปฺรง" ในภาษาเขมร แปลว่า น้ำมัน ในที่นี้หมายถึงน้ำมันเนยที่ได้จากน้ำนมของวัว หรือควาย ผสมกับน้ำแล้วเจียวให้แตกมัน
    ลดชุด แท้จริงแล้วยังไม่พบนิยามหรือคำอธิบายที่แน่ชัด แต่ในแง่ศัพท์ ลดชุด หมายถึง เครื่องจองเปรียงขนาดเล็ก จัดวางเป็นแถวตามแนวไฟในช่องที่เจาะไว้ตามผนังกำแพงเมือง หรือกำแพงวัง
    เมื่อลาลูแบร์ ทูตจากฝรั่งเศส นั่งเรือหลวงมาเข้าเฝ้าสมเด็จพระนารายณ์ ในช่วงเดือน 12 แล้ว ได้เห็นบรรยากาศการชักโคมลอยโคม จึงบรรยายไว้ว่า เมื่อไปถึงเมืองละโว้ในยามกลางคืน เห็นไฟเรียงเป็นแนวตามกำแพงเมืองและวังเป็นระยะๆ เพื่อแสดงความขอบคุณต่อพระแม่ธรณี ที่ทำให้พืชผลอุดมสมบูรณ์ในช่วงปีใหม่
    ส่วนประเพณีลอยกระทง เป็นประเพณีที่พัฒนามาจากพิธีจองเปรียงลดชุดลอยโคม และเป็นขนบธรรมเนียมที่เกิดมาจากความเชื่อของคนไทย จนกลายเป็นประเพณีที่อยู่คู่คนไทยมาอย่างยาวนานจวบจนถึงปัจจุบัน
    ที่มา : จากหนังสือ จดหมายเหตุลาลูแบร์
    ปล. ที่บอกว่าจองเปรียงมาจากภาษาเขมร แต่ไม่ได้หมายความว่าพิธีนี้ไทยนำมาจากเขมรนะครับ เพียงแต่บอกว่าเป็นพิธีของพราหมณ์ เท่านั้น เดี๋ยวจะเป็นประเด็น

    • @kosan3860
      @kosan3860 10 месяцев назад

      ถูกต้องครับ นักศึกษาที่กัมพูชา ก็มีข้อมูลแบบนี้ คล้ายกันครับ

    • @jnnljaninland6885
      @jnnljaninland6885 10 месяцев назад

      เป็นวัฒนธรรมของชาวละโว้ เขมรต่ำล้ว😅นมโนเอา มันไม่มีประเพณีนี้กรอก ล่าสุดสารแน เอาคำว่า ลอยกระทงไปใช้เฉย งงกับคนประเทศนี้ คำเรียกประเพณีนี้ ของตัวเองก็มีทำไมมันไม่ใช้ เสือกใช้ตามไทย ทำไม 😅😅😅😅😅

  • @สายแว๊นแว๊นกันมั้ย

    ❤❤❤

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  10 месяцев назад

      🙏🏽🙏🏽🙏🏽

  • @samarsamar4611
    @samarsamar4611 10 месяцев назад +2

    ฟังทุกคืนครับ

  • @WorapatYommana
    @WorapatYommana 10 месяцев назад +2

    เข้าเทศกาลเลยครับน้า 555

  • @shirotakeru1997official
    @shirotakeru1997official 10 месяцев назад +2

    ผมมาแล้วครับน้าหอย #รุ่นเก๋าเล่าเกร็ด #ep142 #พิธีจองเปรียงลอยประทีป

  • @ดาร์ลี่ชโรฎิน
    @ดาร์ลี่ชโรฎิน 10 месяцев назад +1

    เมื่อวานไปธุระ จึงมาดูวันนี้ครับ😊❤

  • @กนกพรซึมเมอร์มัน
    @กนกพรซึมเมอร์มัน 10 месяцев назад +2

    สวัสดีค่ะ

  • @williamlawyer6981
    @williamlawyer6981 9 месяцев назад

    โคลงนี้ครูสอนภาษไทยบางคนยังไม่เข้าใจ 5555

  • @ธานินทร์ฉิมสุข
    @ธานินทร์ฉิมสุข 10 месяцев назад +1

    ขอบคุณมากครับ อาจารย์ ติดตามตลอดครับ

  • @SZOBOSZLAI-8
    @SZOBOSZLAI-8 10 месяцев назад

    กระทงก็พร้อมลอยคนซอยก็พร้อมแล้วครับ😊

  • @platformmind7597
    @platformmind7597 9 месяцев назад

    เล่าแบบฟังเพลินไปเลย วิชาประวัติศาตร์สนุกตอนเล่าเรื่องแบบ คุณ Hoy Apisak เนี๋ยแหละ ค่ะ

  • @no.12buddhw.48
    @no.12buddhw.48 10 месяцев назад

  • @แกงส้มชะอมไข่-พ2ฉ
    @แกงส้มชะอมไข่-พ2ฉ 10 месяцев назад +2

    ผมถามคำเดียวเลย มีบนกำแพงไหมครับ

  • @yowanatchuachun8273
    @yowanatchuachun8273 10 месяцев назад +1

  • @pisutweerakitikul2978
    @pisutweerakitikul2978 10 месяцев назад +1

  • @กนกพรซึมเมอร์มัน

    ขอบคุณค่ะ

  • @theerapojboontee1835
    @theerapojboontee1835 10 месяцев назад +2

    แสดงว่าพิธีนี้มีสองส่วนคือ จองเปรียง (ประดับโคม) และลอยประทีป ฟังดูคล้ายๆ พิธีทีปาวาลีของอินเดียที่บูชาแสงสว่าง ไม่รู้ว่ากลายเป็นบูชาพระแม่คงคาตั้งแต่เมื่อไหร่ สมัยใหม่นี้เหลือแต่ลอยกระทง ไม่ประดับโคมกันแล้ว คงสู้ไฟฟ้าไม่ไหว ลอยโคมขึ้นฟ้าซะเลย

  • @kosan3860
    @kosan3860 10 месяцев назад +10

    คนไทยสมัยนี้ควรเรียนรู้ใช้คำภาษาไทยให้ได้ถูกต้อง มีคนไทยส่วนใหญ่ยังไม่รู้เลยว่า คำ จองเปรียง และ ลอยประทีป เป็นภาษาไทยหรือเป็นภาษาที่ไทยยืมมาจากประเทษเพื่อนบ้านมาใช้ ในสมัยก่อน นี้เป็นภาษาเขมร ចងប្រេង(จองเปรง )= จองเปรียง=มัดน้ำมัน(มันคลายๆเนย) จดไฟเป็นพิธีบนบก/ ប្រទីប (ปรอตีป) ประทีป=เป็นไฟเล็กๆที่เขาเอาไปลอยเต็ม แม่น้ำ กระทง= กะโตง (កន្ទង) ที่ทำลอยตามบนน้ำ ตัดถมอ កាត់ថ្ម (กัดถมอ) = ตัดหิน เพลิง ភ្លើង (เพลิง) = ไฟ

    • @kosan3860
      @kosan3860 10 месяцев назад

      @@davarcanshyam1374 สมัยนี้มอญยัง ทำอยู่ไมครับ มันเป็นศาสนาพรามจากอินเดีย มอญกวยก็อยู่ในรัฐอาณาจักรเขมรไม่เปลกหรอกว่ากวยก็พูดแบบนี้มอญเขมรก็พูดเหมือนกันแต่คนละความหมาย แต่เป็นพิธีเดียวกัน ที่เขมรเรียกว่า ปรอตีป ไทยเรียก ว่า ลอย(ประทีป) กะโตง = กระทง พิธีและประเพณีนี้ มีก่อนสมัยอยุธยา หลังมา สยามก็รับต่อจากอาณาจักรเขมร ในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ถึง มีคำเขมรอยู่แต็มมากมาย จองเปรียง กระทง บายศรี ประทีป เพลิง โคม จนมาถึงปัจจุบันนี้

    • @greenbean1169
      @greenbean1169 10 месяцев назад +5

      ประทีปไม่ใช้ภาษาเขมรนะ

    • @รู้หรือไม่ภาษาไทยภาษาจีน
      @รู้หรือไม่ภาษาไทยภาษาจีน 10 месяцев назад +1

      @@greenbean1169ใช่ครับ บาลีสันสกฤตเขมรรับมาก่อน ไทยรับต่อมาจากเขมรอีกที เราจึงออกเสียงแบบเขมรไงครับ อักษรไทยก็ออกเสียงแบบเขมรเหมือนกัน

    • @รู้หรือไม่ภาษาไทยภาษาจีน
      @รู้หรือไม่ภาษาไทยภาษาจีน 10 месяцев назад +2

      เปรียงก็คือน้ำมันเนย กี घी ทำจากน้ำนมวัว

    • @epicpbproject4209
      @epicpbproject4209 10 месяцев назад

      ​@@kosan3860อาศัยมั่วไว้ก่อนจริงๆ เหอะ นับเลขฐานไม่เข้าพวกยังมาบอกกวยกับมอญอยู่ในอาณาจักรเขมรอีก มอญกับ กวยคำพูดคล้ายๆกันนับเลขเหมือนกัน เขมรมาอ้างเอามั่วๆ มันเป็นคำภาษากวยทั้งนั้น ที่คนไทยสมัยนี้ใช้กัน ปีนักษัตร กุน จอ ระกา วอก เขนย เพลิง อีกหลายๆอย่างเป็นคำของคนกูยเลี้ยงช้างทั้งนั้น อย่ามาอ้างมั่วๆให้คนที่เขาไม่รู้คิดว่าเป็นเขมร เขมรนับเลขได้แค่ฐาน5 ยังจะมาเคลมของคนอื่นอีก คนไม่รู้ก็เชื่อไอ้นี้

  • @sompongmoan5163
    @sompongmoan5163 10 месяцев назад

    ขอบคุณครับ ที่ให้ความรู้เพิ่มเติม ชืนชมที่อ้างข้อมูล จาก "ทวาทศมาส "แต่อึดอัดใจ ที่อ้างข้อมูลจากละคร

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  10 месяцев назад

      ทำไมเหรอครับ ?????
      ผมไม่ได้เอาเนื้อหาจากละครมาอ้างอิงเชิงวิชาการ แต่เอามา “พูดถึง” เพราะมันมีบางสิ่งที่ผู้ผลิตและผู้แต่งเขาทำการบ้านมา และมันตรงกับเอกสารทางประวัติศาสตร์ครับ

    • @sompongmoan5163
      @sompongmoan5163 10 месяцев назад

      @@hoyapisak ไม่มีอะไรหรอกครับ แค่ความรู้สึกส่วนตัวที่ไม่ค่อยเชื่อถือข้อมูลจากนักเขียนนวนิยาย ละครที่มุ่งเน้นการตลาด เรตติ้ง

    • @panidadamapong9521
      @panidadamapong9521 10 месяцев назад

      เห็นด้วยกับคุณหอย การแสดงที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมต้องยึดถือความเป็นจริงจากประวัติศาสตร์ ไม่ใช่จินตนาการ เป็นการถ่ายทอดและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ถ้าใช้จินตนาการจะถูกโจมตีจากผู้รู้

    • @panidadamapong9521
      @panidadamapong9521 10 месяцев назад

      ขอชื่นชมกับรายการนี้ที่ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์มาอ้างอิงทำให้ได้รับความรู้ทางศิลปวัฒนธรรมลึกซึ้้งมากขึ้น คุณหอยยังอ่านตอบความเห็นของผู้ชมซึ่งจะช่วยในการปรับปรุงรายการต่อไป

    • @hoyapisak
      @hoyapisak  10 месяцев назад

      @@sompongmoan5163 ผมว่าเราควรจะต้องแยกแยะครับ ผมอ่านนิยาย 2 รอบ และดูละครทุกตอน ได้เห็นตั้งแต่ในนิยายแล้วว่า ตรงไหนอิงประวัติศาสตร์ ตรงไหนจินตนาการ
      คุณรอมแพงผู้แต่ง เรียนจบโบราณคดี และศึกษาประวัติศาสตร์เพิ่มเติม ค้นคว้าเอกสารจากหลายแหล่ง และหยิบหลายประเด็นจากเอกสารต่างชาติร่วมสมัยมาใส่เข้าไปในเนื้อเรื่อง นั่นทำให้งานเขียนของเขาน่าสนใจเป็นพิเศษ
      จุดไหนที่อิงประวัติศาสตร์จริง ผมก็หยิบมาขยายความรู้เป็นประโยชน์แก่ผู้ชม ตรงไหนจินตนาการ เราคนศึกษาประวัติศาสตร์ เรารู้ดี เราก็จะไม่แตะ เพราะนั่นคือเสรีภาพทางความคิดของเขา ตราบใดที่ไม่ได้ทำให้การรับรู้ประวัติศาสตร์เพี้ยนไปจากที่ควรจะเป็น
      ส่วนตัวละครภาคนี้ ความจริงผมเองก็ไม่ได้ชอบเท่าภาคแรก แต่เนื่องจากรายการนี้ไม่ใช่รายการวิจารณ์ละคร ผมจึงไม่ขยายความอะไรมากครับ