Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
อันนี้ ขอชื่นชมนะครับ รัฐบาล หน่วยงานรัฐ เอกชน และระบบที่เกี่ยวข้อง ช่วยกันพัฒนา ระบบโลจิสติกของไทย รถไฟ ระบบราง ถนนเชื่อมระหว่างจังหวัด ขนส่งมวลชนกำลัง เปลี่ยนอย่างก้าวกระโดดและเป็นรูปธรรมมากๆ
คนไทยบางจำพวกก็ยังคอยด่า คอยด้อยค่าประเทศตัวเอง อันไหนที่ดีบอกเอกชนทำเอง อันไหนที่ไม่ดีเป็นเพราะรัฐบาล แหมถ้ารัฐไม่ส่งเสริมเอกชนมันจะเดินหน้าเองได้ไงเพราะขั้นตอนเอกสารต้องได้รับอนุมัติจากรัฐ ประชากรจำพวกนี้ไม่เคยเสียภาษีแต่อยากได้นั่นอยากได้นี่
ทําดีก็ต้องชมค่ะ ไม่ใช่วันๆเอาแต่แซะและด่าหัวชนฝาลูกเดียว 😁
รถไฟฟ้า แบตเตอรี่ไฟฟ้า นี่แหละจะเป็นตัวเปลี่ยนเกม ให้ไทยเรามีนวตกรรมและเทคโนโลยีของตนเองเมื่อก่อนเราเป็นฐานการผลิตรถยนต์ให้ญี่ปุ่น อเมริกา แต่เราไม่สามารถผลิตรถยนต์ของตนเองได้ เพราะลิขสิทธ์ และข้อตกลงทางการค้ากับประเทศต้นทาง แต่สำหรับรถยนต์ไฟฟ้า แบตเตอรี่ ไม่ใช่
ก้าวกระโดด ไอ้ส... 555
จากปีไหนถึงปีไหนที่มึงบอกก้าวกระโดดอ่ะ
เราไม่ผลิตรถน้ำมัน แต่เอาทางลัด ผลิตรถไฟ้าก็ทันเกมโลกยานยนต์ แต่เราต้องสร้างและพัฒนา นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับรถไฟ้าให้ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพขั้นสูงเทียบต่างชาติได้ สู้ๆต่อไปครับ
ไม่ได้ครับ ทำไหมบ้านเราไม่ผลิตรถยนต์ เพราะมันคือฐานการผลิตรถครับ
@@ตะลุยเที่ยว-ค8ฤ ใช่ครับ
แบตเตอรรี่ของเราแต่ตัวรถของญี่ปุ่น มาคิดค้นเองมันเสียเวลา
เรายังไม่มีพื้นฐานที่ดี
ตามแผน ตามนโยบายรัฐบาลนายกประยุทธ์ส่งเสริมยานยนต์พลังงานสะอาดรถยนต์ไฟฟ้าจักรยานยนต์ไฟฟ้าเรือไฟฟ้ารถเมล์ไฟฟ้ารถไฟไฟฟ้าโดรน
ค่อยๆพัฒนาไปดีขึ้นเรื่อยๆ ขอบคุณที่รัฐบาลไทย เอกชนต่างๆที่เข้ามาทำลงทุนให้ประเทศก้าวหน้าไปเรื่อยๆค่ะ
ดูไปยิ้มไป บอกเลยว่าอิ่มใจมากๆ ภูมิใจมากๆ คนไทยเก่ง คิดได้พัฒนาได้ไม่ใช่ซื้อๆๆ ... ขอบคุณคุณ well ที่ทำรายการนี้
เห็นด้วยทุกคำสื่อไทยเอาแต่ถ่ายรถไฟเก่า
ชื่นใจครับ
อยู่ที่รัฐบาล ที่ผ่านมาเคยสนับสนุนเอกชนจริงจังแค่ไหน ถึงมันเกิดขึ้นได้
ช่วยกันสนับสนุนแบรนด์คนไทย
@@somchaidiy5663 อ้าวจาร มาดูกับเขาด้วย
Ea จะเป็นบริษัทที่ทำให้ประเทศไทยมีนวัตกรรมที่ก้าวล้ำนำหน้าเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะด้านโลจิสติกส์
แต่ eตู่ จะเป็นตัวฉุดรั้งประเทศไม่ให้ก้าวหน้า555
ดีครับเราจะได้พัฒนาเป็นknow how ของเราเองก็จะเป็นจุดเริ่ต้นของเราเองทุกอย่างที่แต่ก่อนต้องอาศัย เมกา ญี่ปุ่นเราจะได้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ซะที
ยังไม่ล้ำครับ อินโดมีบริษัทผลิตรถไฟทั้งใช้เองทั้งส่งออกถึง2บริษัทใหญ่ แถมผลิตเองได้นานแล้ว
@@samartfc2158 น่าจะต้องดูปัจจัยอื่นประกอบคือ ประสิทธิภาพการแข่งขันนั้นต้องมีนวัฒตกรรมเป็นของตัวเอง เท่าที่ทราบ ทางอีเอ ผลิตชุปเปอร์ชาร์จเจอร์เจ้าแรกของโลก หวังว่าเมืองรองทั้วประเทศจะมีรถไฟฟ้าวิ่งทุกเมือง
@@samartfc2158 แล้วทำไมรถไฟความเร็วสุงเค้าใช้ของจีนครับไม่ทำเองครับ
เดินทางมาหลายประเทศ ที่ไหนก็ไม่เหมือนประเทศเรา ความเจริญรุ่งเรืองก้าวไปข้างหน้า บ้านเมืองสะอาด มีรอยยิ้มทั่วแผ่นดินไทยรักความเป็นไทย รัก ประเทศไทย
มีแต่คนชื่นชมประเทศไทยเราเราก็พรุมใจที่เกิดมาเป็นคนไทยคะ
ภูมิใจThailand
หัวชาร์จ 1 เมกาวัตต์ งั้นน่าจะคืนทุนไวกว่าน้ำมันดีเซลอยู่แล้วนะครับ แถมไม่ต้องเดินสายไฟให้ยุ่งยาก และผมเองแอบชอบไอเดียเปลี่ยนตู้นะครับ 😆
คนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก
@@bunharnkto7891 เอาตรงๆนะครับเทคโนโลยีแบบนี้ประหยัดกว่ารถไฟความเร็วสูงอีก ในหลายๆด้าน 😅
เขาให้มาเพิ่มอีกแล้วจากญี่ปุ่น
ทำยังไงที่จะเพิ่มความเร็วและระยะทางได้มากขึ้น
@@ณฐนลทองเย็น-ป2จ ถ้าไม่ติดว่ามันต้องคอยซอกซอนไปตามเมืองตามเส้นทางต่างๆที่ใช้ความเร็วสูงมากไม่ได้ มันอาจจะเร่งได้เร็วกว่าที่คิดนะครับ เพียงแต่ว่าเขาทำมาให้วิ่งช้าสำหรับในเมือง แต่ถ้าเป็นแบบภาคเหนือลงใต้ ใต้ขึ้นเหนืออาจจะได้เร็วกว่า แต่ระยะทางอาจจะไม่ไหวครับ นอกจากจะใช้วิธียกเปลี่ยนโบกี้ที่บรรจุแบตเตอรี่ทุกระยะที่กำหนด
ขอบคุณเวลและทาง E@ มากครับ ให้กำลังกับทาง E@ และ รฟท.เต็มที่่ครับที่ได้ทุ่มเทพัฒนาการขนส่งระบบรางซึ่งประหยัดพลังงานที่สุดแล้ว ทาง E@มีการศึกษาถึงความเป็นไปได้ที่จะดัดแปลงรถจักรดีเซลไฟฟ้าที่ทาง รฟท.เพิ่งสั่งเข้ามาใช้หลายสิบคันเพื่อเปลี่ยนถ่ายให้ไปใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเยนแบบที่โตโยต้าพยายามจะผลักดันให้คนใช้ในเครื่องยนต์ IC แล้วจะปล่อยคาร์บอนเป็นศูนย์ ถ้าบรรทุกถังH2 ไปในเพาเวอร์คาร์แทนแบตฯที่หนักมากอาจทำให้ นน.กดเพลาต่อเพลาลดลงก็ได้นะครับ อาจทำให้วิ่งได้ไกลกว่าเดิม และจุดเติมหรือเปลี่ยนถังไฮโดรเยนไม่ต้องลงทุนหลายแห่งเอาแค่สถานีชุมทางใหญ่ๆก็อาจจะพอ
ชอบเรื่องไอเดียครับ แต่เรื่องน้ำหนักกดเพลา รถไฟจะไม่เหมือนรถวิ่งบนถนนครับที่ลดน้ำหนักจะดี เพราะรางมีความเสียดทานต่ำ การเคลื่อนตัวจึงต้องใช้น้ำหนักกดเพลาให้เหมาะสมพอดีกับขนาดแรงที่มันออกได้ ถ้าน้ำหนักน้อยไปล้อมันจะสลิป ขนาดตัวรถและน้ำหนักต้องขยายตามไปด้วยกันครับ ยิ่งแรงมากก็ต้องมีน้ำหนักกดลงให้มากเพื่อถ่ายแรงลงบนหัวรางให้เต็มที่โดยล้อไม่ดิ้นครับ
เยี่ยมครับ คนไทยเก่งเยอะ แต่ไม่ค่อยมีเวที่ให้แสดงความสามารถ ขอบคุณ EA ที่สร้าง ธุรกิจใหม่ซึ่งต้องยอมรับว่าเป็นธุรกิจที่เสี่ยงและลงทุนเยอะ แต่เป็นธุรกิจที่จะเปลี่ยนการรถไฟไทยไปสู่การลดคาร์บอน ที่คำนึงถึงปริบทของไทยอย่างแท้จริง ถ้ารัฐบาลให้การสนับสนุนก็จะเป็นการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ในไทยอย่างแท้จริง แล้วในอนาคตเรายังสามารถส่งออกไปขายในประเทศเพื่อนบ้านได้ด้วย สุดยอดครับครับ EA
ก็นี่แหละ ภาครัฐ สนับสนุนโดยตรงเลย
ที่ยุคนี้เห็นอะไรหลายๆอย่างที่พัฒนาขึ้นมาก ก็เพราะมาจากการสนับสนุนจากรัฐบาลชุดนี้แหละ เป็นยุทธศาสาตร์ที่เขาลงมือทำจริงคนไทยเก่งๆ มีเยอะ แต่ส่วนใหญ่ไปทำงานนอกประเทศหมด เพราะไม่มีใครสนับสนุน จะเห็นก็มีแต่ยุคนี้แหละ
แต่จริงๆ ถ้าให้ดีกว่าจะต้องเปลี่ยงรางเป็นแม่เหล็กแล้วครับ ใช้รถไฟความเร็วสูง เหมาะกับยุค รถรางคงเหมาะกับแค่เดินทางระยะใกล้ๆซึ่งทดแทนรถเมล์ครับ รถไฟแบบแม่เหล็กลอยตัว นิ่มแรงสั่นแทบไม่มี เหมือนนั่งบนขี้
เวลเก่งจริงๆป้อนคำถามที่ตรงใจที่ใครก็อยากรู้
สุดยอดเลยครับ คนไทยเก่งไม่แพ้ชาติใดในโลก พัฒนากันต่อไป เป็นกำลังใจให้ทุกท่านครับ
ดูแล้วรู้สึก อิ่มเอมใจ ไทยเราไปไกลแล้วโว้ยยยย
ได้ความรู้ ได้ความหวัง และได้ความภูมิใจในนวัตกรรมของคนไทย ยอดเยี่ยมมากครับ
ใช่ครับ
ช่องคุณภาพ สนับสนุนของไทย ผลักดันช่วยกัน ไทยทำไทยใช้ ประเทศเราก็จะพัฒนาไปด้วยกัน ฟังไปก็ภูมิใจไป 🇹🇭🥰
สุดยอดประเทศไทย ไม่แพ้ชาติใดในโลก
คนไทยเก่งมาก อยากให้พัฒนาต่อยอดไปอีกเรื่อยๆ😊
คอนเท้นต์ ยอดเยี่ยมกระเทียมดอง อีกแล้ว ชอบดูมากๆ เครื่องจักรใช้ไฟฟ้าที่คนไทยสามารถผลิตเองได้ หวังว่ากลางปี จะได้ลองเอามาลากขนวนรถโดยสารจริงๆ
สุดยอดมาก ไทยมีนวัตกรรมเป็นของตัวเองและใช้ในประเทศไทยสักที หลังจากที่รอมานานมากๆ อยากให้พัฒนาเรื่องความเร็วสูงขึ้น วิ่งได้สัก 100-150km/hrs มันจะดีมากๆ ถ้าทำได้มากกว่านั้นยิ่งดี จะได้ส่งออกไปขายในประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่ๆได้ เช่น อินโ
หัวรถจักรแบตเตอรี่ไฟฟ้าคันนี้วิ่งได้ 120 กม./ชม.ครับ เพียงแต่มันมีปัจจัยเรื่อง จำนวนการลากจูงกี่ตู้ จุดตัดรถไฟที่มีรถยนต์วิ่งผ่าน และระยะโค้งของรถไฟปัจจัยเหล่านี้ เริ่มหมดไปหลังจากโครงการรถไฟทางคู่แล้วเสร็จ เราลดจุดตัดรถไฟน้อยลง ทางรถไฟเส้นใหม่เราลดความโค้ง และปรับระดับทางวิ่งให้คงที่ เช่น ช่วงมวกเหล็ก-สระบุรี ที่ทำทางยกระดับ เป็นต้น
@@pcart0092 สิงที่ต้องการคือความเร็วในการลากตู้ให้ได้ถึงรถไฟดีเซล ทัวไปให้ได้ คือ ลิมิตที่อีเอ ต้องทำให้ได้ เพื่อทดแทนหัวรถจักรดีเซลได้หมด แค่นี้ก็เพียงพอสำหรับรถไฟทางคู่เมืองไทย และพัฒนารถไฟฟ้าความเร็วสูงไปด้วยกัน
ชื่นชมมากครับ ที่มีคนไทย มีศักยภาพผลิตและพัฒนาได้เอง
ใช่ ต้องโคตรชื่นชมเค้าจริงๆบริษัทนี้
ทำแบบนี้เข้ากับรางรถไฟไทยเรามากที่สุดขอยกย่องและขอให้พัฒนาให้ใช้แทนหัวลากดีเซลได้ทั่วประเทศขอบคุณครับ EA
อยากให้ติดโซล่าเซลล์ที่หลังคารถ และสถานีด้วยเพื่อให้ไฟฟ้าที่ใข้มาจากพลังงานสะอาดให้ได้มากที่สุด และถ้าจะลงทุนทำระบบเปลี่ยนแบตและชาร์จเร็วที่สถานีรถไฟอยู่แล้ว ก็ควรต่อยอดธุรกิจ ให้มี-รถบัสไฟฟ้าวิ่งรับส่งผู้โดยสารจากสถานีรถไฟไปในเมือง หรือสองแถวไฟฟ้า-รถบรรทุกไฟฟ้า สำหรับส่งของจากสถานีไปที่โรงงาน หรือโกดัง หรือศูนย์กระจายสินค้าของบริษัทโลจิสติกส์อื่นๆ
กำลังทำ และจะค่อยๆพัฒนา ต้องใช้เวลา และ know how
1 ใช้พื้นที่เยอะมากๆๆๆ ถ้าจะจ่ายให้หัวชาร์จ 1 mw * 3 (ต่อ1ตู้) แล้วจุดสถานีใหญ่ๆน่าจะไม่ได้มีแค่จุดชาร์จเดียว 2 แดดประเทศไทยแรงมากและไม่สม่ำเสมอแบบบางประเทศในยุโรปทำให้อุปกรณ์บางอย่างเสื่อมไว3 ตอนนี้ต้นทุนแพงมากๆเพราะแร่ที่ผลิตตัวแผงนำเข้าหมด100%ถ้าเอาแค่หลังคาชานชลาเป็นไฟเลี้ยงตัวเทอมินัลอาจจะได้อยู่มั้งครับ
ชื่นชม..คนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก
ขอแค่มีคนสนับสนุนชาติจะไปไกลไม่แพ้ประเทศอื่น เรารักประเทศไทย
คนไทยเก่งไม่แพ้ชาติใดในโลก
อยากให้ รฟท. เห็นความสำคัญกับหัวและตู้โดยสาร เอาแบบนี้เข้ามาใช้งาน ผู้โดยสารจะได้เยอะขึ้น ดีกว่าไปทำอะไรก็ไม่รู้ไม่ได้เรื่องได้ราวเป็นข่าวให้ชาวบ้านเขาด่าไปทั่ว
ขอบใจที่พามาดูนะจ๊ะ
เยี่ยมมากครับ พัฒนาต่อไป รัฐต้องสนุบสนุน อุดหนุน เราต้องพึ่งหาตัวเอง ให้มีเทคโนโลยีไปขายเค้า ไมใช่ย่ำอยู่แบบเดิมๆ เอาแต่ขายข้าว ขายปลา ขายทุเรียน หวังแต่การท่องเที่ยว รับจ้างผลิตไปวันๆ โลกมีแต่การแข่งขันที่รุนแรงในอนาคต...ประเทศจะก้าวไปเป็นประเทศพัฒนาไม่ได้ถ้าเราไม่มีอุตสาหกรรมหนัก มีสินค้าไฮเทคและเทคโนโลยีเป็นของตัวเอง
อย่าดูถูกอุตสาหกรรมอาหาร และการท่องเที่ยวครับ 2 อุตสาหกรรมนี้แม้แต่ประเทศเทคโนโลยียังทำไม่ได้ในยุคที่โลกวุ่นวายเกิดภัยพิบัติ ภาวะสงคราม โรคระบาด และจำนวนประชากรล้นโลก ประเทศที่มีความมั่นคงทางอาหาร จะได้เปรียบทุกประเทศเราสามารถเลิกใช้ ไอโฟน รถยนต์ได้ แต่เราไม่สามารถหยุดกินข้าวได้ประเทศที่ผลิตน้ำมัน ยังต้องหาทางผลิตอาหาร
ทุกๆภาคการผลิตมีความสำคัญ บางอย่างแม้ว่าจะไม่ทำเงินแต่ก็เป็นพื้นฐานให้เกิดการแข่งขันได้
ขายข้าวขายปลานี่ เป็นปัจจัย 4 เลยนะ
รู้ครับว่ามันสำคัญ แต่ถ้าอยากจะเติบโต ก้าวหน้าไปเป็นประเทศพัฒนาแล้ว มีเศรษฐกิจหลากหลาย มีรายได้หลายทาง มันต้องมีอุตสาหกรรมหนัก มีเทคโนโลยีเป็นของตัวเองไปขายเค้า มีรายได้สูงๆ เช่น ไอโฟนเครื่องนึงต้องปลูกข้าวกี่เกวียนถึงจะได้ ทุกวันนี้ใครคิดว่าโทรศัพท์ไม่สำคัญ? เราไม่ได้อยู่แบบยุคหิน เราต้องทำงาน หาเงิน ติดต่อ ค้าขาย โลกมันมีแต่ก้าวไปข้างหน้า เราขายข้าว ขายปลา ขายอาหารไปทั่วโลกมาเป็นร้อยๆปีแล้ว แต่เราติดกับดักรายได้ปานกลางมากี่สิบปีแล้วเพราะอะไร มันไม่มีประเทศไหนในโลกหรอกครับที่เป็นประเทศเกษตรกรรมแล้วก้าวไปเป็นชาติที่พัฒนาแล้วนะ
@@user-cq8pw6xe8k ผมเปรียบเทียบให้เห็นชัดๆว่าเขาขายเทคโนโลยี เขาถึงร่ำรวย จะไอโฟน ออฟโป ซัมซุง หัวเว่ย มันก็เทคโนโลยีทั้งนั้นแหละ เฮ้อ..
รักยักษ์เขียวภูมิใจในคนไทยบ.EAของไทยเรามากๆค่ะ😍👍👍
คนไทยเก่ง หมดครับ ผลิตคิดค้น สร้างสิ่งต่างๆได้ ไม่แพ้ญี่ปุ่น ยุโรป แต่จะโดนคนกลุ่มนึงที่ขัดขวาง
คนไทยเก่ง ไม่แพ้ชาติใดในโลก ภูมิใจจัง
ถ้าได้รับการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนอย่างจริงจัง ความสามารถของคนไทยไม่แพ้ใครในโลก ขอชื่นชมครับ..เป็นกำลังใจให้ทีมงานทุกคน...
ถ้าสวอบแบตสำเร็จ โอกาสที่จะทำทั่วประเทศก็มีสูง อยากเห็นตอนทำสำเร็จจริง
ผลงานรถไฟฟ้า ยุคนายกฯลุงตู่ ไม่ได้โม้ ของจริง ของจริง😊😊😊
สุดยอดนักคิด นักพัฒนา ที่นำมาใช้ได้จริงและลงทุนต่ำเหมาะกับประเทศไทย สุดยอดจริงๆ
ชื่นชม EA คิดให้ไกล ไปตามฝัน สร้างนวัตกรรมไทยไปสู่อนาคต
ยินดีมากๆ หวังว่าอนาคตคงมีวิ่งไปทั่วประเทศและสามารถผลิตเองในประเทศพร้อมส่งออกได้นะครับ ขอบคุณช่องที่นำมาให้ชมได้ความรู้คู่ความบันเทิงเช่นเคยครับ
ขอบคุณช่องมากครับทีให้ความรู้ได้ครบหมด ผมดูจากทีวียังไม่เข้าใจในประเด็นต่างฯเลย แต่พอดูช่องนี้ทำให้เข้าใจหมดเลยและเข้าใจง่ายมากครับ ต้องขอบคุณทางช่องมากครับ
ทุกอย่างดีหมด ยกเว้นการทำความเร็ว ถ้าได้สัก 120 สำหรับรถโดยสารทางไกลคงดีมากครับ
ต้องรอเทคโนโลยีแบตเพราะปัจจุบัน แบตคือหัวใจของevถ้าแบตเท่าเดิมแต่จุได้เยอะขึ้นความเร็วสูงๆไม่มีปัญหาครับ
ดีใจที่ใช่หัวไฟฟ้า แต่ตัวและหางเปลี่ยนด้วยมั้ยครับและผู้บริหาร
สุดยอดครับ ถ้าได้รับการสนับสนุนที่ดี ต่อยอด พัฒนาไปได้อีกครับ
เพรุษคือ70แถเเถพ
ผมขออนุญาตเอาไปแชร์ในเพจ ชุมชนคนรักรถไฟไทย นะครับ อีกสักพักคงมีความคิดเห็นในห้องนั้นและขอนำเสนอความคิดถึง EA สักเรื่อง คือหากรถไฟไฟฟ้าในรูปแบบรถดีเซลรางที่มีตู้โดยสารเพียง 3-4 ตู้ โดยลดขนาดแบตเตอรี่, มอเตอร์ ลงมา จะดีไหมครับ จุดประสงค์เพื่อนำมาใช้เป็นรถชานเมือง วิ่งในระยะทางไม่ไกลและมีความคล่องตัวกว่า
ขอบคุณมากๆค่า ยินดีรับคำแนะนำ และเราดูเรื่องนี้อยู่ด้วยเพื่อ serve รถไฟโดยสารคะ ^^
รถไฟชานเมืองคงจะทำเป็นแบบสายสีแดง คือใช้ส่งไฟฟ้าพาดบนผ่านสายไฟเพราะปริมาณเที่ยววิ่งคุ้มกับการเดินสาย การใช้แบบแบตเตอรี่คือลดค่าใช้จ่ายการเดินสายไฟฟ้าสำหรับเส้นทางที่มี traffic น้อยไม่คุ้มกับการลงทุนสายไฟพาดเหนือรถไฟตลอดเส้นทาง เพราะท้ายที่สุดแล้วระบบรับไฟฟ้าจากสายไฟน่าจะมีความเสถึยรที่สุด แต่คิดว่าที่ไม่ทำตอนนี้เพราะต้นทุนการเดินสายกับปริมาณการเดินรถยังไม่คุ้ม น่าจะต้องทะยอยขยายออกไปเรื่อยๆ รถแบบนี้เหมาะกับการขนส่งสินค้ามากกว่าเพราะถ้าต้องการวิ่งไกลขึ้นก็แค่เพิ่มตู้แบต 80 ตันอีก1-2 ตู้ ถ้าเทียบกับ 2500 ตันที่ลากได้ ถือว่าคุ้ม หรือถ้าไม่ต้องการพ่วงตู้ก็อาจมี super charger พร้อมตู้แบตพ่วงที่สถานีอาจจะทุกๆ 200 km เพื่อรอสับเปลี่ยนทันที (hot swap)เมื่อรถไฟไปถึงโดยไม่ต้องรอ charge แล้วเอาตู้ที่ใช้ไปแล้ว charge ไฟ รอขบวนถัดไปมาเปลี่ยน ทำแบบนี้ก็วิ่งได้ทั่วประเทศแล้ว
ค่อยทำไปจะดีขึ้นเองจะรู้วิธีทำให้ดีขึ้นแน่ๆ
สุดยอดฝีมือคนไทยเยี่ยมจริงๆ
แบตเตอรี่แบบโซเดียมน่าจะทำให้ราคาถูกลงมาอีก ตกใจราคาค่าสายส่งไฟฟ้าแพงมาก
คนไทยทำสุดยอดๆๆ
Swap batteries ดีสุดเลยครับ แต่ต้องใช้เครนคู่ยกออก ก็ไม่ยากเกินไป
ดีจังช่วยกันประหยัดเพื่อ ชาติเย้
เป้าหมายต่อไป ขอเป็นพลังงานไฮโดรเจนนะครับ ผมว่า EV ไม่น่าจะอยู่นานมาก แบตโซเดียมก็ทั้งใหญ่ทั้งหนัก ขนาดแบตลิเทียมยังกินที่และหนักขนาดนี้ คิดว่าเมื่อพัฒนาพลังงานไฮโดรเจนได้ลงตัวแล้ว ก็จะถูกนำมาใช้แทนพลังงานแบตเตอรี่ ไม่รู้เหมือนกันว่าเป็นยังไง
มีการคิดค้นแต่เค้าไม่พัฒนาต่อยอดครับคงกลัวเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของโลกกับพลังงานน้ำมันโดยเฉพาะพวกประเทศเศรษฐีน้ำมันที่ไม่สนับสนุนการพัฒนาแต่อนาคตผมว่าเป็นไปได้เคยเห็นเป็นข่าวยุเนืองนานๆทีและทำได้จริงแต่สักพักข่าวก็เงียบไปคือเครื่องยนต์พลังงานไฮโดรเจนโดยแยกไฮโดรเจนจากน้ำมาเป็นพลังงานหรือรถเติมน้ำนั่นเอง
@@ธีรศักดิ์ทรงศิริ ใช่ครับ มีแต่ข่าว แล้วก็หายไปเลย คงจำเป็นต้องพัฒนาเองหรือร่วมมือกับประเทศพันธมิตรอื่นๆ ครับ จับมือกันก่อตั้งภาคีประเทศพัฒนาพลังงานทางเลือกเลยก็ดี จะหวังให้ประเทศเศรษฐีน้ำมันมาร่วมพัฒนาพลังงานทางเลือก คงจะคืบหน้ายาก
ตอนนี้น้ำหนักแบตเตอรี่ก็ไม่ใช่ปัญหาหลักแล้วสำหรับการขนส่งทางราง#แร่หินเกลือในไทยกำลังจะเป็นสินค้าที่สำคัญในการผลิตแบตเตอรี่แล้วครับ
ผมภูมิใจ ที่เกิดเป็นคนไทย. นิยม ของแบบคลาสสิค
พระเจ้าจอร์จนายยอดมากนาย EA 😂😂😂😂😂😂🇹🇭❤️
ถุ้าไม่ต้องลากตู้แบตเตอรี่ทั้งสองตู้พ่วงในขบวนรถไปตลอดเส้นทาง แต่นำตู้แบตเตอรี่ ไปจอดไว้ที่สถานีข้างหน้า(ช๊าร์ตไฟไว้เต็มแล้ว) ในแต่ละสถานี เพื่อให้ขบวนรถจะวิ่งได้ระยะทางมากขึ้น และไม่เสียเวลาในการจอดรอการชาร์ตหรือไม่
ขอให้ทุกอย่างสำเร็จตามแผนนะคร้าบ
ชอบๆแบบนี้มากกว่า OCSอีก แบบนั้นส่วนตัวผมมองว่ามันไม่สวย มีเสามีสายขนาบไปตลอด ยังต้องมาดูแลรักษาทีละเสาทีละสายไฟอีก
ในทางที่พัฒนาก็ดำเนินการต่อไป..ขอบคุณที่นำเสมอ..ทำต่อไปนะครับ
บ้านเาก้าวหน้าไปมาก แต่ไม่มีใครทำข่าวให้เลย มีแต่ช่องของคุณที่พี่ได้ดู ขอบคุณนะค่ะ
ดีครับ ขอชื่นชมแนวคิดนี้จริงๆ ถึงแม้จะวิ่งไม่เร็วแต่ก็ช่วยเรื่องลดมลพิษ พลังงานทดแทน เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงได้มากจริงๆ
สามารถพัฒนา รุ่นต่อๆไปได้
ดีมากเลยครับผมชอบมากเลย เป็นการพัฒนาที่เหมาะสมกับประเทศไทยมากเลยครับ
เด็กรุ่นใหม่และอาจารย์เก่งค่ะ
ในจุดนี้ อยากให้ทางEA พัฒนาเรื่องการสลับเปลี่ยนแบต มากกว่าการชารจ์แบตครับ.. เพราะประหยัดเวลา สะดวกรวดเร็ว
เขาพูดอยู่ท้ายคลิปคับ
ดีมากๆครับ เพราะว่ารถไฟไทยคือ ควันดำมาก
ไทยแลนด์สุดยอดๆๆๆๆๆพัฒนาต่อไปนะครับ......สู้ๆๆๆๆๆๆๆๆ 🗣️✍️👍👍👍👍👍👍👍👍👍👍💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐
รายการดีมากครับ ได้ความรู้เยอะมากๆเลยครับขอบคุณครับ🙏🙏🙏
ภูมิใจในความเป็นไทยที่คิดได้ทำได้จริง
ตื่นตาตื่นใจครับ..ดูรวดเดียวจบคลิปเลย เเถมตรงไหนไม่เข้าใจมีย้อนหลังไปดูซ้ำด้วย EA น่าจะทำให้ไทยกลายเป็นผู้ส่งออกด้านเทคโนโลยีสู่ชาวโลกได้โดยเฉพาะอาเซี่ยน บ้านใกล้เรือนเคียงเรา เหลือการพัฒนารูปลักษณ์หัวรถน่าจะเป็นเเบบลู่ลมกว่านี้ เเละการพัฒนาเเบตเกลือ ที่ มข.กำลังพัฒนาอยู่มาต่อยอดแทนเเบตลิเธียมของปัจจุบัน....เป็นกำลังใจให้ EA ครับ
เอาให้เหมนอิจฉาหน่อยเผื่ออยากไปแกะสลักรถไฟEVไว้บนกำแพงวัด
ออแบบหน้าตาให้ทันสมัยหน่อย ดูญี่ปุ่น ยุโรป เค้าล้ำ สวยงาม กว่า
ผมเสนอไอเดีย ที่ รฟท ทำรถไฟทางคู่ อยากให้เปลี่ยนเป็นรางใหม่ กว้างมากกว่า 1เมตร //1.4 เมตร เหตุผล ความปลอดภัย ความเร็ว รองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่ๆ มีคนบอกว่า ทำไม่ได้เพราะ รถไฟที่มีใช้รางเก่า กว้าง 1เมตร รถไฟที่มีจะเอาไปไหน และต้องซื้อรถจักร ตู้ใหม่หมด ไม่มีเงิน แต่เสนอไอเดีย กลางๆ ใช้ผสมผสาน 1เมตรข้างนึง ใช้รถเดิม วิ่งไปมา กับสร้าง1.4 เมตรอีกข้างวิ่งไปมา แต่ต้องซื้อรถจักร/ตู้ใหม่ ในอนาคต อาจจะ20ปีข้างหน้า รถจักรรุ่นเก่า หมดอายุการใช้งาน ก็ปรับรางเก่าเป็น 1.4 เมตร และซื้อหัวรถจักรมาเพิ่ม เราจะได้รถไฟ ทางคู่ 1.4เมตร ทั้งหมด แนวคิดแบบบ้านๆครับ
โอ๊ย ไปอยู่ไหนมา ???ราง 1 เมตรสมัย ร.5 บ้านเรามันทำความเร็วได้สูงสุด 160 กม./ชม. รถไฟฟ้าสายสีแดงทำให้ดูมาแล้ว เท่ากับรถไฟความเร็วสูงลาว-จีน ราง 1.435 เมตร เลยเหตุที่รถไฟบ้านเรามันช้า เพราะ เป็นรางเดี่ยวรอสับหลีก + หัวรถจักรเก่าเสียบ่อย + ผ่านจุดตัดถนน ... มันไม่ใช่ความผิดของราง 1 เมตรตอนนี้เขาปรับปรุงราง 1 เมตรเป็นรางคู่ + ซื้อหัวรถจักใหม่ + ทำทางลอยฟ้าข้ามถนนให้รถไฟวิ่ง กันเสร็จแล้ว จะเปิดใช้ปีหน้าแล้วส่วนรถไฟความเร็วสูงไทย-จีนที่ทำความเร็วสูงสุดได้ 250 กม./ชม. ใช้ราง 1.435 เมตรก็ลงมือสร้างไปแล้ว 20%
ระบบเบรค สำคัญครับ ต้องมีแบบใช้ลม และใช้ระบบเบรคสำรองน้ำมัน
ผลิตออกมาวิ่งเยอะๆครับ เส้นกรุงเทพ อู่ตะเภา กรุงเทพ หัวหิน กรุงเทพ นครสวรรค์ กรุงเทพ โคราช
เยี่ยมเลยครับ
คนไทยเก่งสุดๆครับผม รักประเทศไทย
ไม่หน้าเชื่อว่าคนไทยทำได้จริง แต่ก็ทำได้จริงๆ โดยเฉพาะเบตเตอร์รี่ ผลิดเองได้ถึง 2 แบบ 2 อย่าง..ช่องนี้ให้ความรู้ เดินหน้าดีมากครับ..เบตเตอรี่ กราฟีน และ แบตเตอรี่ EA..ของไทย..เยี่ยมครับ คณาจารย์ที่วิจัยออกมาทำได้จริง..❤🎉❤🎉❤🎉❤
Ea นี่ยูนิคอนเทคฯของไทยแท้ๆเลย กล้าทำกล้าเปลี่ยน ปล.เห็นที่ชาร์จแช้วคืดดีไม่ได้เลย555
เรียกว่า ยักษ์เขียว สวย ใส่แบตเตอรี่ + ระบบขับเคลื่อนราง ต้อง รับนน.กดลง 20 ตันต่อเพลา มีระบบชาร์จไฟเข้าเครื่องทันสมัย 🎉🎉🎉
วิงเกิน120 ต้องขยายราง หรือถ้าจะเอาราง1ม วิงเกิน120 รางต้องขนานกันแป๊ะ ระยะโค้งต้องกว้างพอให้ทำความเร็ว รางปูนพอทำได้ ถ้าอยากวิ่ง เกิน200 ก้ต้องขยายรางเป้น 1.44m ถึงจะปลอดภัย ไม่ต้องสร้างรางให้ละเอียดมากบำรุงรักษารางง่ายกว่า ค่อยขยับกันไป เงินไม่หากันง่ายๆ ว่างรางคู่ในวิงสวนกันได้ก่อน ส่วนทำรางสามฟรือขึ้นเสาจ่ายไปไม่พุดถึงแพงมาก แพงบบนั้นค่าโดยสานพุงแน่นอน ตอนนี้ในไทยรถไฟไม่ตรงเวลา เพราะจอดรอรถสวนทางบ่อยมากรถไฟ BEV น่าจะ ทำเป้นเสารับไฟฟ้า แบบเสาเหมือนรถไฟฟ้าสีแดง ติดหลังคาไว้หน่อยก้ดีครับ เวลาวิ่งชาญเมืองก้ใช้ไฟฟ้าจากเสาวิ่ง ออกนอกเมือง ใช้แบต แล้วพอวิ่งออก กทม เข้าเขตเมืองใหญ่ อย่างสุราษ หาดใหญ่ โคราช เชียงใหม่ เมืองที่คนเยอะะ ก็วางรางสามวางเสาจ่ายไฟ ในเขตเมืองเอาวิงไปชาร์ตแบตไป ออกนอกเมืองใหญ่ก้วิ่งใช้แบต น่าจะวิงได้ระยะทางมากขึ้น ไม่ต้องว่างรางสาม ทั้งประเทศหรอกมันแพง
1.435 เป็น standard gauge ใช่ไหมคะ
สีแดงวิ่ง 140 นะครับ ราง1 เมตร
@@anastasiayusupov7931 ชื่อเต็ม European standard gauge ครับ
เห็นด้วยมากๆเรื่องเสารับไฟเหนือหัวติดตั้งบนหลังคาแบบพับขึ้นลงได้ ไหนๆก็ต้องทำรถไฟชานเมืองไฟฟ้าอยู่แล้ว เช่นสายสีแดงอ่อน(สายใต้)มีเสาส่งเหนือหัวถึงนครปฐม สายสีแดง(สายเหนือ-อีสาน) มีเสาส่งเหนือหัวถึงอยุธยา ชุมทางบ้านภาชี รางก็เป็น metre gauge (ราง 1 เมตร) อยู่แล้ววิ่งร่วมกันได้ พอสิ้นสุดเสาส่งไฟฟ้าเหนือหัวก็วิ่งด้วยแบตเตอรี่ เสาส่งไฟฟ้าไม่จำเป็นต้องทำตลอดทั้งสาย ทำเสาส่งไฟฟ้าช่วงที่ต้องการชาร์จแบตและขับมอเตอร์ไฟฟ้าไปด้วย อาจจะทำเสาส่งเหนือหัวในช่วงกลางของแต่ละสาย เช่นสายเหนือทำช่วงพิษณุโลก-ชุมทางบ้านดารา แล้วทำเสาส่งอีกทีช่วงลำปาง-เชียงใหม่ ถ้าทำแบบนี้ได้ จะสามารถนำรถไฟ bi-mode (มีเสารับไฟฟ้าบนหลังคาพับขึ้น-ลงได้) พลังงานไฟฟ้า-ดีเซล หรือไฟฟ้า-แบตเตอรี่ มาใช้วิ่งรับส่งผู้โดยระหว่างเมืองได้ด้วย ruclips.net/video/3Cqn10YE8ZU/видео.htmlรถไฟที่ใช้หัวรถจักรลากตู้โดยสาร ดูไม่เหมาะสมกับการนำมาใช้เป็นรถไฟชานเมืองวิ่งระหว่างเมือง หัวรถจักรแบบ EV เหมาะกับการขนส่งสินค้ามากกว่า ไหนๆทำแล้วก็ทำมันทีเดียวรองรับได้หมด
อยากให้ปรับปรุงเรื่องแรงวิ่งหรือความเร็วให้ดีขึ้นกว่านี้นะครับ ขอให้แรงใจ...
หัวรถจักรไฟฟ้า 100%สำเร็จแล้ว ถึงจะยังไม่สมบูรณ์ในการนำมาใช้งานได้ 100% ก็แก้ไขปัญหาปลีกย่อยกันไป แต่ก็ต้องเดินหน้าวิจัยพัฒนารถไฟชุด 4 คัน จากรถไฟชุดแบบดีเซลรางเชื้อเพลิงน้ำมันดีเซลเปลี่ยนไปเป็น Battery Train ต่อเนื่องไปเลย แต่ตั้งข้อสังเกตุว่าแบตเตอรี่ที่ตัวหัวรถจักรเอง คงต้องอัพให้สามมารถswapping ให้ได้ด้วยวิธีเดียวกันกับรถเพาเวอร์คาร์และก็ต้องอัพเรื่องความเร็วเมื่อลากจูงขบวนตู้โดยสารที่หน่วยลากจูง 550 ตัน ให้สามารถทำความเร็วสูงสุดได้ 120 กม./ชม.ให้ได้ด้วย ไม่ใช่ทำความเร็วได้แค่ 50กม./ชม. ตวามเร็วขนาดนี้เอาไปใช้งานลากตู้สินค้ายังไม่เวิร์คเลย ตู้สินค้าความเร็วสูงสุดมาตรฐานมันก็ต้องให้ได้ 70กม./ชม.แล้ว ยิ่งขบวนรถโดยสารมาตรฐานความเร็วสูงสุดที่แย่ที่สุดมันก็ไม่ควรต่ำกว่า 90 กม./ชม.กลางๆก็ 100 กม./ชม.ดีสุดก็ต้อง 120 กม./ชม.เหมือนหัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า QSY ถ้าทำได้แค่ 50-70กม./ชม.อย่าเอามาใช้งานให้ผู้โดยสารเค้าก่นด่าเลยจะดีกว่า เพราะถึงจะวิ่งทางคู่แต่มันก็ยังใช้เวลาเดินทางนานเหมือนทางเดี่ยวแบบเดิม แล้วจะมีประโยชน์อะไรกับการลงทุนหลายแสนล้านทำทางคู่ เพื่อให้เดินทางได้ช้าเหมือนเดิม
มันต้องมีจุดเริ่มต้น ใช้งานไปพัฒนาไป
ยังอยู่ในขั้นพัฒนานะครับถ้าสำเร็จแล้วสามารถตอบโจทย์ได้ ควหายข้องใจนะครับ(ยังไงๆผู้พัฒนาเขาต้องคิดถึงประสิทธิภาพสูงสุดอยู่แล้วไม่งั้นก็จะเสียเงินเสียเวลาไปเปล่า)
พิธีกร ชอบพูดแทรก เลยฟังข้อมูลไม่ค่อยครบจากคนให้ข้อมูลเลยครับ
ตู้นึงวิ่งได้ 300 กิโล ทำสวอปสำเร็จเมื่อไหร่ ตั้งสวอปได้ตามสถานีใหญ่ๆได้สบาย ยังไงก็ต้องจอดสถานีใหญ่อยู่แล้ว
ภูมิใจกับคนไทยมากครับ
เยี่ยมมากเลยครับ
ท่านทั้งหลายเดินทางโดยสวัสดิภาพ
ส่วนตัวถ้าจะให้ไทยเราขยายรางเป็น1.45 เมตรคงอยากมากเพราะไทยเราต้องเชื่อมต่อกับเพื่อนบ้านเพราะ ลาว กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ พม่า ใช้รางรถไฟขนาด 1 เมตรและรางรถไฟขนาด1 เมตรสามารถทำความเร็วได้สูงสุดถึง160 กิโลเมตรต่อชั่วโมงและรางขนาด 1.435 เมตรของไทยจะใช้ในโครงการรถไฟความเร็วสูงที่จะเชื่อมทั้งจีนและสิงคโปร์ในอนาคต
ป้าได้ดูคลิปแล้ว ภูมิใจในตัวเด็กไทยยุคใหม่ ที่เก่งและสร้างสรรมากๆ ภูมิใจที่เกิดเป็นคนไทย นอนตายตาหลับแล้ว🎉👏👏👏👏👏
1. มี Regenerative Brake ใช่มั้ย2. พ่วงพหุกับรถดีเซลคุ้มมั้ย3. ถ้าในอนาคต มีการติดตั้งสายไฟเหนือหัว สามารถดัดแปลงติด pantograph เพื่อรับไฟจากสายส่งได้หรือเปล่า
EA มีผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ดีมากๆ
บริษัทEa สุดยอดแล้วที่ทำชี่อเสียงให้ไทยเรา
#จากคลิปนี้เราเพิ่งรู้ว่า :- หัวรถไฟดีเซลที่เราใช้ๆกันอยู่ เป็นเครื่องปั่นไฟจ่ายให้มอเตอร์ขับล้อ เครื่องดีเซลไม่ได้ขับเพลาล้อโดยตรง
สุดยอดเลยค่ะ ขอชื่นชมทีมงานทุกคนที่ระดมความคิดช่วยกันพัฒนาประเทศให้ก้าวไปข้างหน้า สร้างงานให้คนในชาติ ขอบคุณมากค่ะ 😊
การรถไฟฯและรัฐบาลควรสนับสนึนทุนวิจัยด้วย สุดยอดคนไทย!
ก็รัฐนี่แหละที่สนับสนุน โครงการกับ EA
@@mr.naruthaptoyou6364 ไอ้ยุทเนี่ยนะ
@@Studio-bo1fy - GDP nominal ยุคประยุทธ์อันดับ 24 ของโลกแซงสวีเดน ... 5G, สายไฟลงดิน, Motor way 4 ภาค, รถไฟ metro สายสีแดง-เหลือง-ชมพู, รถไฟรางคู่ 4 ภาค, รถไฟความเร็วสูง- GDP nominal ยุคทักกี้อันดับ 34 ของโลก ... ไม่ยอมประมูล 3G จนลาวมี 3G ใช้ก่อนไทย, AIS พาดสายสื่อสารมั่วซั่ว, ถนน 4 เลนภาคใต้สร้างไม่เสร็จ, ขัดขวางผู้ว่า กทม.จากพรรคฝ่ายค้านไม่ให้ขยาย BTS ไปฝั่งธน, ตัดงบรถไฟรางคู่
@@mr.naruthaptoyou6364 ใช่ทั้งเรือไฟฟ้า รถไฟไฟฟ้า รถเมล์ไฟฟ้าโรงงานผลิตแบตเตอรี่
@@Studio-bo1fy ไปอยู่ไหนมา ถ้ารัฐบาลไม่สนับสนุน จะเอามาวิ่งบนรางได้เหรอ
ขนส่งมวลชนสาธารณะขนาดใหญ่อย่างรถไฟ รถเมล์ น่าจะเหมาะกับระบบไฮโดรเจน เพราะมีสถานีที่ต้องแวะขัดเจน สามารถสร้างสถานีชาร์จได้ในบริเวณสถานีรถ การใช้เชื้อเพลิงของระบบขับเคลื่อนที่หลากหลายคือการกระจายความเสี่ยงในการลงทุนอย่างหนึ่ง หากเกิดปัญหาหรือความไม่คุ้มทุนในระบบใดก็สามารถเพิ่มน้ำหนักการใช้หรือสลับมาระบบอื่นได้
อยากให้ลองทำรถที่เป็นแบบดีเซลราง คือ มีมอเตอร์ขับเคลื่อนในแต่ละตู้ด้วยค่ะ เพื่อใช้สำหรับเป็นรถที่ขนส่งชานเมืองอะไรแบบนี้ เพราะน่าจะมีความถี่ในการใช้สูง จะยิ่งประหยัดการใช้รางไปกันอีก ถ้ายิ่งใช้รางยิ่งคุ้มค่ากับการลงทุน
มันต้องรอให้เราผลิตแบตได้เองก่อนเพราะแบบนั้นมันต้องสร้างแฟล็ตฟรอมใหม่หมดถ้าไปจ้างเขาผลิตต้นทุนสูง
ดีเซลไฟฟ้ามันทำให้มีมอเตอร์ทุกตู้ไม่ได้นะถ้าจะให้มีมอเตอร์ทุกตู้ต้องเป็นสายส่งหรือแบตเตอรี่
ขอบคุณ content ดีๆครับ
18:53 จริงๆโดยหัวรถจักรนะครับ max ของทุกประเภทในทาง1เมตรกำหนดไม่เกิน120km/h แต่ถ้าเป็นรถ พวกรถ multiple unit จะทำความเร็วได้ถึง 120-150 km/h ครับ ยกตัวอย่างก็สายสีแดงครับ ตอนนี้สาวกคนรักรถไฟเขาก็รออนุมัติ รถ Bi-mode 184 คัน ที่รองรับความเร็ว 160 km/h ครับ ส่วน HSR มองว่าสายแรกเสร็จ ปี 71 ครับ
bi-mode จะกลับมาอีกแล้วเหรอคะ ดีใจจัง
@@anastasiayusupov7931 แผนเดิมครับทางรฟท.ค้านครับ
@@anastasiayusupov7931 มาอะไรล่ะครับ เจ้ากระทาวงดันรถแบตอยู่ สั่งกลับไปศึกษารถแบตมา. . . .แล้วDEMU,Bi-mode ก๋ไม่สั่งเดินต่อทั้งที่ทางคู่จะเสร็จแล้ว
ถ้าใช้เป็นแบ็ตเกลือได้จะสุดยอด
อยากให้เพิ่มความเร็วในขณะลากจูงตู้โดยสารเป็น 120-150 km/ h จะเจ๋งมาก
ลดการโยงสายไฟระโยงระยางไปเยอะ ยิ่งถ้าเราผลิตตู้พ่วงได้เองที่มีน้ำหนักเบา ก็ยิ่งทำให้ระยะวิ่งยิ่งไกลขึ้น หรือประหยัดขึ้น
700000 ล้านในคลิป ยังไม่รวมค่าบำรุงรักษา
ตู้พ่วงเราทำเองได้ครับ กำลังทำอยู่ครับ
น่ารักจัง พี่ยักษ์เขียว
สนับสนุนให้เปลี่ยนทั้งหมดเลยครับ ทั้งหัวรถจักรทั้งตู้โดยสาร
รุ่นนี้ ตกรุ่น ที่ต่างประเทศ แล้ว
จะเป็นไปได้มั้ยถ้าทำแบบ bi-mode มีเสายกขึ้นเพื่อรับไฟเหนือหัวไว้ขับมอเตอร์ไฟฟ้า หรือชาร์ทไฟไปด้วยในตัว เพื่อลดข้อจำกัดเรื่องระยะทาง และเพิ่มความเร็วให้มากขึ้น โดยไม่จำเป็นต้องทำสายส่งไฟฟ้าเหนือหัวตลอดทั้งสาย อาจทำเป็นจุดๆไป เช่นบริเวณ สถานี ถ้าทำได้แบบนี้ อาจพัฒนาต่อยอด ทำรถไฟ ev bi mode ระหว่างเมือง ที่มีห้องขับในตัวไม่ต้องใช้หัวรถจักรลาก
ใช่ จริงๆไม่ต้องตั้งเสาทั้งประเทศก็ได้ ถ้าทำเป็น bi mode
สบายใจไทยแลนด์ เราผลิตหัวรถจักรได้ละ สิ่งที่ทำให้รถไฟบ้านเราดูไม่สวย และล้าสมัย คือตู้โดยสาร โดยเฉพาะชั้น3 ช่วยผลิตให้มันดูทันสมัยหน่อยครับ #Love E@
เอาจริงๆ ปรับชั้น 3 ติดแอร์ แล้วปรับราคาขึ้นไม่กี่บาท ผมก็โอเคนะครับ 😊😊😊
@@ปัณณวิชญ์ทาสี ถูกครับ หลังจากทางคู่เสร็จ ก็ต้องเรื่องตู้โดยสารต่อ
รฟท.ของไทยยอดเยี่ยมจริงๆขอบอก
อันนี้ ขอชื่นชมนะครับ รัฐบาล หน่วยงานรัฐ เอกชน และระบบที่เกี่ยวข้อง ช่วยกันพัฒนา ระบบโลจิสติกของไทย รถไฟ ระบบราง ถนนเชื่อมระหว่างจังหวัด ขนส่งมวลชนกำลัง เปลี่ยนอย่างก้าวกระโดดและเป็นรูปธรรมมากๆ
คนไทยบางจำพวกก็ยังคอยด่า คอยด้อยค่าประเทศตัวเอง อันไหนที่ดีบอกเอกชนทำเอง อันไหนที่ไม่ดีเป็นเพราะรัฐบาล แหมถ้ารัฐไม่ส่งเสริมเอกชนมันจะเดินหน้าเองได้ไงเพราะขั้นตอนเอกสารต้องได้รับอนุมัติจากรัฐ ประชากรจำพวกนี้ไม่เคยเสียภาษีแต่อยากได้นั่นอยากได้นี่
ทําดีก็ต้องชมค่ะ ไม่ใช่วันๆเอาแต่แซะและด่าหัวชนฝาลูกเดียว 😁
รถไฟฟ้า แบตเตอรี่ไฟฟ้า นี่แหละจะเป็นตัวเปลี่ยนเกม ให้ไทยเรามีนวตกรรมและเทคโนโลยีของตนเอง
เมื่อก่อนเราเป็นฐานการผลิตรถยนต์ให้ญี่ปุ่น อเมริกา แต่เราไม่สามารถผลิตรถยนต์ของตนเองได้ เพราะลิขสิทธ์ และข้อตกลงทางการค้ากับประเทศต้นทาง
แต่สำหรับรถยนต์ไฟฟ้า แบตเตอรี่ ไม่ใช่
ก้าวกระโดด ไอ้ส... 555
จากปีไหนถึงปีไหนที่มึงบอกก้าวกระโดดอ่ะ
เราไม่ผลิตรถน้ำมัน แต่เอาทางลัด ผลิตรถไฟ้าก็ทันเกม
โลกยานยนต์ แต่เราต้องสร้างและพัฒนา นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับรถไฟ้าให้ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพขั้นสูงเทียบต่างชาติได้ สู้ๆต่อไปครับ
ไม่ได้ครับ ทำไหมบ้านเราไม่ผลิตรถยนต์ เพราะมันคือฐานการผลิตรถครับ
@@ตะลุยเที่ยว-ค8ฤ ใช่ครับ
แบตเตอรรี่ของเราแต่ตัวรถของญี่ปุ่น มาคิดค้นเองมันเสียเวลา
เรายังไม่มีพื้นฐานที่ดี
ตามแผน ตามนโยบายรัฐบาลนายกประยุทธ์
ส่งเสริมยานยนต์พลังงานสะอาด
รถยนต์ไฟฟ้า
จักรยานยนต์ไฟฟ้า
เรือไฟฟ้า
รถเมล์ไฟฟ้า
รถไฟไฟฟ้า
โดรน
ค่อยๆพัฒนาไปดีขึ้นเรื่อยๆ ขอบคุณที่รัฐบาลไทย เอกชนต่างๆที่เข้ามาทำลงทุนให้ประเทศก้าวหน้าไปเรื่อยๆค่ะ
ดูไปยิ้มไป บอกเลยว่าอิ่มใจมากๆ ภูมิใจมากๆ คนไทยเก่ง คิดได้พัฒนาได้ไม่ใช่ซื้อๆๆ ... ขอบคุณคุณ well ที่ทำรายการนี้
เห็นด้วยทุกคำ
สื่อไทยเอาแต่ถ่ายรถไฟเก่า
ชื่นใจครับ
อยู่ที่รัฐบาล ที่ผ่านมาเคยสนับสนุนเอกชนจริงจังแค่ไหน ถึงมันเกิดขึ้นได้
ช่วยกันสนับสนุนแบรนด์คนไทย
@@somchaidiy5663 อ้าวจาร มาดูกับเขาด้วย
Ea จะเป็นบริษัทที่ทำให้ประเทศไทยมีนวัตกรรมที่ก้าวล้ำนำหน้าเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะด้านโลจิสติกส์
แต่ eตู่ จะเป็นตัวฉุดรั้งประเทศไม่ให้ก้าวหน้า555
ดีครับเราจะได้พัฒนาเป็นknow how ของเราเองก็จะเป็นจุดเริ่ต้นของเราเองทุกอย่างที่แต่ก่อนต้องอาศัย เมกา ญี่ปุ่นเราจะได้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ซะที
ยังไม่ล้ำครับ อินโดมีบริษัทผลิตรถไฟทั้งใช้เองทั้งส่งออกถึง2บริษัทใหญ่ แถมผลิตเองได้นานแล้ว
@@samartfc2158 น่าจะต้องดูปัจจัยอื่นประกอบคือ ประสิทธิภาพการแข่งขันนั้นต้องมีนวัฒตกรรมเป็นของตัวเอง เท่าที่ทราบ ทางอีเอ ผลิตชุปเปอร์ชาร์จเจอร์เจ้าแรกของโลก หวังว่าเมืองรองทั้วประเทศจะมีรถไฟฟ้าวิ่งทุกเมือง
@@samartfc2158 แล้วทำไมรถไฟความเร็วสุงเค้าใช้ของจีนครับไม่ทำเองครับ
เดินทางมาหลายประเทศ ที่ไหนก็ไม่เหมือนประเทศเรา ความเจริญรุ่งเรืองก้าวไปข้างหน้า บ้านเมืองสะอาด มีรอยยิ้มทั่วแผ่นดินไทย
รักความเป็นไทย รัก ประเทศไทย
มีแต่คนชื่นชมประเทศไทยเราเราก็พรุมใจที่เกิดมาเป็นคนไทยคะ
ภูมิใจThailand
หัวชาร์จ 1 เมกาวัตต์ งั้นน่าจะคืนทุนไวกว่าน้ำมันดีเซลอยู่แล้วนะครับ แถมไม่ต้องเดินสายไฟให้ยุ่งยาก และผมเองแอบชอบไอเดียเปลี่ยนตู้นะครับ 😆
คนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก
@@bunharnkto7891 เอาตรงๆนะครับเทคโนโลยีแบบนี้ประหยัดกว่ารถไฟความเร็วสูงอีก ในหลายๆด้าน 😅
เขาให้มาเพิ่มอีกแล้วจากญี่ปุ่น
ทำยังไงที่จะเพิ่มความเร็วและระยะทางได้มากขึ้น
@@ณฐนลทองเย็น-ป2จ ถ้าไม่ติดว่ามันต้องคอยซอกซอนไปตามเมืองตามเส้นทางต่างๆที่ใช้ความเร็วสูงมากไม่ได้ มันอาจจะเร่งได้เร็วกว่าที่คิดนะครับ เพียงแต่ว่าเขาทำมาให้วิ่งช้าสำหรับในเมือง แต่ถ้าเป็นแบบภาคเหนือลงใต้ ใต้ขึ้นเหนืออาจจะได้เร็วกว่า แต่ระยะทางอาจจะไม่ไหวครับ นอกจากจะใช้วิธียกเปลี่ยนโบกี้ที่บรรจุแบตเตอรี่ทุกระยะที่กำหนด
ขอบคุณเวลและทาง E@ มากครับ ให้กำลังกับทาง E@ และ รฟท.เต็มที่่ครับที่ได้ทุ่มเทพัฒนาการขนส่งระบบรางซึ่งประหยัดพลังงานที่สุดแล้ว ทาง E@มีการศึกษาถึงความเป็นไปได้ที่จะดัดแปลงรถจักรดีเซลไฟฟ้าที่ทาง รฟท.เพิ่งสั่งเข้ามาใช้หลายสิบคันเพื่อเปลี่ยนถ่ายให้ไปใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเยนแบบที่โตโยต้าพยายามจะผลักดันให้คนใช้ในเครื่องยนต์ IC แล้วจะปล่อยคาร์บอนเป็นศูนย์ ถ้าบรรทุกถังH2 ไปในเพาเวอร์คาร์แทนแบตฯที่หนักมาก
อาจทำให้ นน.กดเพลาต่อเพลาลดลงก็ได้นะครับ อาจทำให้วิ่งได้ไกลกว่าเดิม และจุดเติมหรือเปลี่ยนถังไฮโดรเยนไม่ต้องลงทุนหลายแห่งเอาแค่สถานีชุมทางใหญ่ๆก็อาจจะพอ
ชอบเรื่องไอเดียครับ แต่เรื่องน้ำหนักกดเพลา รถไฟจะไม่เหมือนรถวิ่งบนถนนครับที่ลดน้ำหนักจะดี เพราะรางมีความเสียดทานต่ำ การเคลื่อนตัวจึงต้องใช้น้ำหนักกดเพลาให้เหมาะสมพอดีกับขนาดแรงที่มันออกได้ ถ้าน้ำหนักน้อยไปล้อมันจะสลิป ขนาดตัวรถและน้ำหนักต้องขยายตามไปด้วยกันครับ ยิ่งแรงมากก็ต้องมีน้ำหนักกดลงให้มากเพื่อถ่ายแรงลงบนหัวรางให้เต็มที่โดยล้อไม่ดิ้นครับ
เยี่ยมครับ คนไทยเก่งเยอะ แต่ไม่ค่อยมีเวที่ให้แสดงความสามารถ ขอบคุณ EA ที่สร้าง ธุรกิจใหม่ซึ่งต้องยอมรับว่าเป็นธุรกิจที่เสี่ยงและลงทุนเยอะ แต่เป็นธุรกิจที่จะเปลี่ยนการรถไฟไทยไปสู่การลดคาร์บอน ที่คำนึงถึงปริบทของไทยอย่างแท้จริง ถ้ารัฐบาลให้การสนับสนุนก็จะเป็นการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ในไทยอย่างแท้จริง แล้วในอนาคตเรายังสามารถส่งออกไปขายในประเทศเพื่อนบ้านได้ด้วย สุดยอดครับครับ EA
ก็นี่แหละ ภาครัฐ สนับสนุนโดยตรงเลย
ที่ยุคนี้เห็นอะไรหลายๆอย่างที่พัฒนาขึ้นมาก ก็เพราะมาจากการสนับสนุนจากรัฐบาลชุดนี้แหละ เป็นยุทธศาสาตร์ที่เขาลงมือทำจริง
คนไทยเก่งๆ มีเยอะ แต่ส่วนใหญ่ไปทำงานนอกประเทศหมด เพราะไม่มีใครสนับสนุน จะเห็นก็มีแต่ยุคนี้แหละ
แต่จริงๆ ถ้าให้ดีกว่าจะต้องเปลี่ยงรางเป็นแม่เหล็กแล้วครับ ใช้รถไฟความเร็วสูง เหมาะกับยุค รถรางคงเหมาะกับแค่เดินทางระยะใกล้ๆซึ่งทดแทนรถเมล์ครับ รถไฟแบบแม่เหล็กลอยตัว นิ่มแรงสั่นแทบไม่มี เหมือนนั่งบนขี้
เวลเก่งจริงๆป้อนคำถามที่ตรงใจที่ใครก็อยากรู้
สุดยอดเลยครับ คนไทยเก่งไม่แพ้ชาติใดในโลก พัฒนากันต่อไป เป็นกำลังใจให้ทุกท่านครับ
ดูแล้วรู้สึก อิ่มเอมใจ ไทยเราไปไกลแล้วโว้ยยยย
ได้ความรู้ ได้ความหวัง และได้ความภูมิใจในนวัตกรรมของคนไทย ยอดเยี่ยมมากครับ
ใช่ครับ
ช่องคุณภาพ สนับสนุนของไทย ผลักดันช่วยกัน ไทยทำไทยใช้ ประเทศเราก็จะพัฒนาไปด้วยกัน ฟังไปก็ภูมิใจไป 🇹🇭🥰
สุดยอดประเทศไทย ไม่แพ้ชาติใดในโลก
คนไทยเก่งมาก อยากให้พัฒนาต่อยอดไปอีกเรื่อยๆ😊
คอนเท้นต์ ยอดเยี่ยมกระเทียมดอง อีกแล้ว ชอบดูมากๆ เครื่องจักรใช้ไฟฟ้าที่คนไทยสามารถผลิตเองได้ หวังว่ากลางปี จะได้ลองเอามาลากขนวนรถโดยสารจริงๆ
สุดยอดมาก ไทยมีนวัตกรรมเป็นของตัวเองและใช้ในประเทศไทยสักที หลังจากที่รอมานานมากๆ อยากให้พัฒนาเรื่องความเร็วสูงขึ้น วิ่งได้สัก 100-150km/hrs มันจะดีมากๆ ถ้าทำได้มากกว่านั้นยิ่งดี จะได้ส่งออกไปขายในประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่ๆได้ เช่น อินโ
หัวรถจักรแบตเตอรี่ไฟฟ้าคันนี้วิ่งได้ 120 กม./ชม.ครับ เพียงแต่มันมีปัจจัยเรื่อง จำนวนการลากจูงกี่ตู้ จุดตัดรถไฟที่มีรถยนต์วิ่งผ่าน และระยะโค้งของรถไฟ
ปัจจัยเหล่านี้ เริ่มหมดไปหลังจากโครงการรถไฟทางคู่แล้วเสร็จ เราลดจุดตัดรถไฟน้อยลง ทางรถไฟเส้นใหม่เราลดความโค้ง และปรับระดับทางวิ่งให้คงที่ เช่น ช่วงมวกเหล็ก-สระบุรี ที่ทำทางยกระดับ เป็นต้น
@@pcart0092 สิงที่ต้องการคือความเร็วในการลากตู้ให้ได้ถึงรถไฟดีเซล ทัวไปให้ได้ คือ ลิมิตที่อีเอ ต้องทำให้ได้ เพื่อทดแทนหัวรถจักรดีเซลได้หมด แค่นี้ก็เพียงพอสำหรับรถไฟทางคู่เมืองไทย และพัฒนารถไฟฟ้าความเร็วสูงไปด้วยกัน
ชื่นชมมากครับ ที่มีคนไทย มีศักยภาพผลิตและพัฒนาได้เอง
ใช่ ต้องโคตรชื่นชมเค้าจริงๆบริษัทนี้
ทำแบบนี้เข้ากับรางรถไฟไทยเรามากที่สุด
ขอยกย่องและขอให้พัฒนาให้ใช้แทนหัวลากดีเซลได้ทั่วประเทศ
ขอบคุณครับ EA
อยากให้ติดโซล่าเซลล์ที่หลังคารถ และสถานีด้วยเพื่อให้ไฟฟ้าที่ใข้มาจากพลังงานสะอาดให้ได้มากที่สุด และถ้าจะลงทุนทำระบบเปลี่ยนแบตและชาร์จเร็วที่สถานีรถไฟอยู่แล้ว ก็ควรต่อยอดธุรกิจ ให้มี
-รถบัสไฟฟ้าวิ่งรับส่งผู้โดยสารจากสถานีรถไฟไปในเมือง หรือสองแถวไฟฟ้า
-รถบรรทุกไฟฟ้า สำหรับส่งของจากสถานีไปที่โรงงาน หรือโกดัง หรือศูนย์กระจายสินค้าของบริษัทโลจิสติกส์อื่นๆ
กำลังทำ และจะค่อยๆพัฒนา ต้องใช้เวลา และ know how
1 ใช้พื้นที่เยอะมากๆๆๆ ถ้าจะจ่ายให้หัวชาร์จ 1 mw * 3 (ต่อ1ตู้) แล้วจุดสถานีใหญ่ๆน่าจะไม่ได้มีแค่จุดชาร์จเดียว
2 แดดประเทศไทยแรงมากและไม่สม่ำเสมอแบบบางประเทศในยุโรปทำให้อุปกรณ์บางอย่างเสื่อมไว
3 ตอนนี้ต้นทุนแพงมากๆเพราะแร่ที่ผลิตตัวแผงนำเข้าหมด100%
ถ้าเอาแค่หลังคาชานชลาเป็นไฟเลี้ยงตัวเทอมินัลอาจจะได้อยู่มั้งครับ
ชื่นชม..คนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก
ขอแค่มีคนสนับสนุนชาติจะไปไกลไม่แพ้ประเทศอื่น เรารักประเทศไทย
คนไทยเก่งไม่แพ้ชาติใดในโลก
อยากให้ รฟท. เห็นความสำคัญกับหัวและตู้โดยสาร เอาแบบนี้เข้ามาใช้งาน ผู้โดยสารจะได้เยอะขึ้น ดีกว่าไปทำอะไรก็ไม่รู้ไม่ได้เรื่องได้ราวเป็นข่าวให้ชาวบ้านเขาด่าไปทั่ว
ขอบใจที่พามาดูนะจ๊ะ
เยี่ยมมากครับ พัฒนาต่อไป รัฐต้องสนุบสนุน อุดหนุน เราต้องพึ่งหาตัวเอง ให้มีเทคโนโลยีไปขายเค้า ไมใช่ย่ำอยู่แบบเดิมๆ เอาแต่ขายข้าว ขายปลา ขายทุเรียน หวังแต่การท่องเที่ยว รับจ้างผลิตไปวันๆ โลกมีแต่การแข่งขันที่รุนแรงในอนาคต...ประเทศจะก้าวไปเป็นประเทศพัฒนาไม่ได้ถ้าเราไม่มีอุตสาหกรรมหนัก มีสินค้าไฮเทคและเทคโนโลยีเป็นของตัวเอง
อย่าดูถูกอุตสาหกรรมอาหาร และการท่องเที่ยวครับ 2 อุตสาหกรรมนี้แม้แต่ประเทศเทคโนโลยียังทำไม่ได้
ในยุคที่โลกวุ่นวายเกิดภัยพิบัติ ภาวะสงคราม โรคระบาด และจำนวนประชากรล้นโลก ประเทศที่มีความมั่นคงทางอาหาร จะได้เปรียบทุกประเทศ
เราสามารถเลิกใช้ ไอโฟน รถยนต์ได้ แต่เราไม่สามารถหยุดกินข้าวได้
ประเทศที่ผลิตน้ำมัน ยังต้องหาทางผลิตอาหาร
ทุกๆภาคการผลิตมีความสำคัญ บางอย่างแม้ว่าจะไม่ทำเงินแต่ก็เป็นพื้นฐานให้เกิดการแข่งขันได้
ขายข้าวขายปลานี่ เป็นปัจจัย 4 เลยนะ
รู้ครับว่ามันสำคัญ แต่ถ้าอยากจะเติบโต ก้าวหน้าไปเป็นประเทศพัฒนาแล้ว มีเศรษฐกิจหลากหลาย มีรายได้หลายทาง มันต้องมีอุตสาหกรรมหนัก มีเทคโนโลยีเป็นของตัวเองไปขายเค้า มีรายได้สูงๆ เช่น ไอโฟนเครื่องนึงต้องปลูกข้าวกี่เกวียนถึงจะได้ ทุกวันนี้ใครคิดว่าโทรศัพท์ไม่สำคัญ? เราไม่ได้อยู่แบบยุคหิน เราต้องทำงาน หาเงิน ติดต่อ ค้าขาย โลกมันมีแต่ก้าวไปข้างหน้า เราขายข้าว ขายปลา ขายอาหารไปทั่วโลกมาเป็นร้อยๆปีแล้ว แต่เราติดกับดักรายได้ปานกลางมากี่สิบปีแล้วเพราะอะไร มันไม่มีประเทศไหนในโลกหรอกครับที่เป็นประเทศเกษตรกรรมแล้วก้าวไปเป็นชาติที่พัฒนาแล้วนะ
@@user-cq8pw6xe8k ผมเปรียบเทียบให้เห็นชัดๆว่าเขาขายเทคโนโลยี เขาถึงร่ำรวย จะไอโฟน ออฟโป ซัมซุง หัวเว่ย มันก็เทคโนโลยีทั้งนั้นแหละ เฮ้อ..
รักยักษ์เขียวภูมิใจในคนไทยบ.EAของไทยเรามากๆค่ะ😍👍👍
คนไทยเก่ง หมดครับ ผลิตคิดค้น สร้างสิ่งต่างๆได้ ไม่แพ้ญี่ปุ่น ยุโรป แต่จะโดนคนกลุ่มนึงที่ขัดขวาง
คนไทยเก่ง ไม่แพ้ชาติใดในโลก ภูมิใจจัง
ถ้าได้รับการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนอย่างจริงจัง ความสามารถของคนไทยไม่แพ้ใครในโลก ขอชื่นชมครับ..เป็นกำลังใจให้ทีมงานทุกคน...
ถ้าสวอบแบตสำเร็จ โอกาสที่จะทำทั่วประเทศก็มีสูง อยากเห็นตอนทำสำเร็จจริง
ผลงานรถไฟฟ้า ยุคนายกฯลุงตู่ ไม่ได้โม้ ของจริง ของจริง😊😊😊
สุดยอดนักคิด นักพัฒนา ที่นำมาใช้ได้จริงและลงทุนต่ำเหมาะกับประเทศไทย สุดยอดจริงๆ
ชื่นชม EA คิดให้ไกล ไปตามฝัน สร้างนวัตกรรมไทยไปสู่อนาคต
ยินดีมากๆ หวังว่าอนาคตคงมีวิ่งไปทั่วประเทศและสามารถผลิตเองในประเทศพร้อมส่งออกได้นะครับ ขอบคุณช่องที่นำมาให้ชมได้ความรู้คู่ความบันเทิงเช่นเคยครับ
ขอบคุณช่องมากครับทีให้ความรู้ได้ครบหมด ผมดูจากทีวียังไม่เข้าใจในประเด็นต่างฯเลย แต่พอดูช่องนี้ทำให้เข้าใจหมดเลยและเข้าใจง่ายมากครับ ต้องขอบคุณทางช่องมากครับ
ทุกอย่างดีหมด ยกเว้นการทำความเร็ว ถ้าได้สัก 120 สำหรับรถโดยสารทางไกลคงดีมากครับ
ต้องรอเทคโนโลยีแบตเพราะปัจจุบัน แบตคือหัวใจของevถ้าแบตเท่าเดิมแต่จุได้เยอะขึ้นความเร็วสูงๆไม่มีปัญหาครับ
ดีใจที่ใช่หัวไฟฟ้า แต่ตัวและหางเปลี่ยนด้วยมั้ยครับและผู้บริหาร
สุดยอดครับ ถ้าได้รับการสนับสนุนที่ดี ต่อยอด พัฒนาไปได้อีกครับ
เพรุษคือ70แถเเถพ
ผมขออนุญาตเอาไปแชร์ในเพจ ชุมชนคนรักรถไฟไทย นะครับ อีกสักพักคงมีความคิดเห็นในห้องนั้น
และขอนำเสนอความคิดถึง EA สักเรื่อง คือหากรถไฟไฟฟ้าในรูปแบบรถดีเซลรางที่มีตู้โดยสารเพียง 3-4 ตู้ โดยลดขนาดแบตเตอรี่, มอเตอร์ ลงมา จะดีไหมครับ จุดประสงค์เพื่อนำมาใช้เป็นรถชานเมือง วิ่งในระยะทางไม่ไกลและมีความคล่องตัวกว่า
ขอบคุณมากๆค่า ยินดีรับคำแนะนำ และเราดูเรื่องนี้อยู่ด้วยเพื่อ serve รถไฟโดยสารคะ ^^
รถไฟชานเมืองคงจะทำเป็นแบบสายสีแดง คือใช้ส่งไฟฟ้าพาดบนผ่านสายไฟเพราะปริมาณเที่ยววิ่งคุ้มกับการเดินสาย การใช้แบบแบตเตอรี่คือลดค่าใช้จ่ายการเดินสายไฟฟ้าสำหรับเส้นทางที่มี traffic น้อยไม่คุ้มกับการลงทุนสายไฟพาดเหนือรถไฟตลอดเส้นทาง เพราะท้ายที่สุดแล้วระบบรับไฟฟ้าจากสายไฟน่าจะมีความเสถึยรที่สุด แต่คิดว่าที่ไม่ทำตอนนี้เพราะต้นทุนการเดินสายกับปริมาณการเดินรถยังไม่คุ้ม น่าจะต้องทะยอยขยายออกไปเรื่อยๆ รถแบบนี้เหมาะกับการขนส่งสินค้ามากกว่าเพราะถ้าต้องการวิ่งไกลขึ้นก็แค่เพิ่มตู้แบต 80 ตันอีก1-2 ตู้ ถ้าเทียบกับ 2500 ตันที่ลากได้ ถือว่าคุ้ม หรือถ้าไม่ต้องการพ่วงตู้ก็อาจมี super charger พร้อมตู้แบตพ่วงที่สถานีอาจจะทุกๆ 200 km เพื่อรอสับเปลี่ยนทันที (hot swap)เมื่อรถไฟไปถึงโดยไม่ต้องรอ charge แล้วเอาตู้ที่ใช้ไปแล้ว charge ไฟ รอขบวนถัดไปมาเปลี่ยน ทำแบบนี้ก็วิ่งได้ทั่วประเทศแล้ว
ค่อยทำไปจะดีขึ้นเองจะรู้วิธีทำให้ดีขึ้นแน่ๆ
สุดยอดฝีมือคนไทยเยี่ยมจริงๆ
แบตเตอรี่แบบโซเดียมน่าจะทำให้ราคาถูกลงมาอีก ตกใจราคาค่าสายส่งไฟฟ้าแพงมาก
คนไทยทำสุดยอดๆๆ
Swap batteries ดีสุดเลยครับ แต่ต้องใช้เครนคู่ยกออก ก็ไม่ยากเกินไป
ดีจังช่วยกันประหยัดเพื่อ ชาติเย้
เป้าหมายต่อไป ขอเป็นพลังงานไฮโดรเจนนะครับ ผมว่า EV ไม่น่าจะอยู่นานมาก แบตโซเดียมก็ทั้งใหญ่ทั้งหนัก ขนาดแบตลิเทียมยังกินที่และหนักขนาดนี้ คิดว่าเมื่อพัฒนาพลังงานไฮโดรเจนได้ลงตัวแล้ว ก็จะถูกนำมาใช้แทนพลังงานแบตเตอรี่ ไม่รู้เหมือนกันว่าเป็นยังไง
มีการคิดค้นแต่เค้าไม่พัฒนาต่อยอดครับคงกลัวเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของโลกกับพลังงานน้ำมันโดยเฉพาะพวกประเทศเศรษฐีน้ำมันที่ไม่สนับสนุนการพัฒนาแต่อนาคตผมว่าเป็นไปได้เคยเห็นเป็นข่าวยุเนืองนานๆทีและทำได้จริงแต่สักพักข่าวก็เงียบไปคือเครื่องยนต์พลังงานไฮโดรเจนโดยแยกไฮโดรเจนจากน้ำมาเป็นพลังงานหรือรถเติมน้ำนั่นเอง
@@ธีรศักดิ์ทรงศิริ ใช่ครับ มีแต่ข่าว แล้วก็หายไปเลย คงจำเป็นต้องพัฒนาเองหรือร่วมมือกับประเทศพันธมิตรอื่นๆ ครับ จับมือกันก่อตั้งภาคีประเทศพัฒนาพลังงานทางเลือกเลยก็ดี จะหวังให้ประเทศเศรษฐีน้ำมันมาร่วมพัฒนาพลังงานทางเลือก คงจะคืบหน้ายาก
ตอนนี้น้ำหนักแบตเตอรี่ก็ไม่ใช่ปัญหาหลักแล้วสำหรับการขนส่งทางราง
#แร่หินเกลือในไทยกำลังจะเป็นสินค้าที่สำคัญในการผลิตแบตเตอรี่แล้วครับ
ผมภูมิใจ ที่เกิดเป็นคนไทย. นิยม ของแบบคลาสสิค
พระเจ้าจอร์จ
นายยอดมาก
นาย EA 😂😂😂😂😂😂🇹🇭❤️
ถุ้าไม่ต้องลากตู้แบตเตอรี่ทั้งสองตู้พ่วงในขบวนรถไปตลอดเส้นทาง แต่นำตู้แบตเตอรี่ ไปจอดไว้ที่สถานีข้างหน้า(ช๊าร์ตไฟไว้เต็มแล้ว) ในแต่ละสถานี เพื่อให้ขบวนรถจะวิ่งได้ระยะทางมากขึ้น และไม่เสียเวลาในการจอดรอการชาร์ตหรือไม่
ขอให้ทุกอย่างสำเร็จตามแผนนะคร้าบ
ชอบๆแบบนี้มากกว่า OCSอีก แบบนั้นส่วนตัวผมมองว่ามันไม่สวย มีเสามีสายขนาบไปตลอด ยังต้องมาดูแลรักษาทีละเสาทีละสายไฟอีก
ในทางที่พัฒนาก็ดำเนินการต่อไป..ขอบคุณที่นำเสมอ..ทำต่อไปนะครับ
บ้านเาก้าวหน้าไปมาก แต่ไม่มีใครทำข่าวให้เลย มีแต่ช่องของคุณที่พี่ได้ดู ขอบคุณนะค่ะ
ดีครับ ขอชื่นชมแนวคิดนี้จริงๆ ถึงแม้จะวิ่งไม่เร็วแต่ก็ช่วยเรื่องลดมลพิษ พลังงานทดแทน เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงได้มากจริงๆ
สามารถพัฒนา รุ่นต่อๆไปได้
ดีมากเลยครับผมชอบมากเลย เป็นการพัฒนาที่เหมาะสมกับประเทศไทยมากเลยครับ
เด็กรุ่นใหม่และอาจารย์เก่งค่ะ
ในจุดนี้ อยากให้ทางEA พัฒนาเรื่องการสลับเปลี่ยนแบต มากกว่าการชารจ์แบตครับ.. เพราะประหยัดเวลา สะดวกรวดเร็ว
เขาพูดอยู่ท้ายคลิปคับ
ดีมากๆครับ เพราะว่ารถไฟไทยคือ ควันดำมาก
ไทยแลนด์สุดยอดๆๆๆๆๆ
พัฒนาต่อไปนะครับ......
สู้ๆๆๆๆๆๆๆๆ 🗣️✍️👍👍👍👍👍👍👍👍👍👍💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐
รายการดีมากครับ ได้ความรู้เยอะมากๆเลยครับ
ขอบคุณครับ🙏🙏🙏
ภูมิใจในความเป็นไทยที่คิดได้ทำได้จริง
ตื่นตาตื่นใจครับ..ดูรวดเดียวจบคลิปเลย เเถมตรงไหนไม่เข้าใจมีย้อนหลังไปดูซ้ำด้วย EA น่าจะทำให้ไทยกลายเป็นผู้ส่งออกด้านเทคโนโลยีสู่ชาวโลกได้โดยเฉพาะอาเซี่ยน บ้านใกล้เรือนเคียงเรา เหลือการพัฒนารูปลักษณ์หัวรถน่าจะเป็นเเบบลู่ลมกว่านี้ เเละการพัฒนาเเบตเกลือ ที่ มข.กำลังพัฒนาอยู่มาต่อยอดแทนเเบตลิเธียมของปัจจุบัน....เป็นกำลังใจให้ EA ครับ
เอาให้เหมนอิจฉาหน่อยเผื่ออยากไปแกะสลักรถไฟEVไว้บนกำแพงวัด
ออแบบหน้าตาให้ทันสมัยหน่อย ดูญี่ปุ่น ยุโรป เค้าล้ำ สวยงาม กว่า
ผมเสนอไอเดีย ที่ รฟท ทำรถไฟทางคู่ อยากให้เปลี่ยนเป็นรางใหม่ กว้างมากกว่า 1เมตร //1.4 เมตร เหตุผล ความปลอดภัย ความเร็ว รองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่ๆ
มีคนบอกว่า ทำไม่ได้เพราะ รถไฟที่มีใช้รางเก่า กว้าง 1เมตร รถไฟที่มีจะเอาไปไหน และต้องซื้อรถจักร ตู้ใหม่หมด ไม่มีเงิน
แต่เสนอไอเดีย กลางๆ ใช้ผสมผสาน 1เมตรข้างนึง ใช้รถเดิม วิ่งไปมา กับสร้าง1.4 เมตรอีกข้าง
วิ่งไปมา แต่ต้องซื้อรถจักร/ตู้ใหม่ ในอนาคต อาจจะ20ปีข้างหน้า รถจักรรุ่นเก่า หมดอายุการใช้งาน ก็ปรับรางเก่าเป็น 1.4 เมตร และซื้อหัวรถจักรมาเพิ่ม เราจะได้รถไฟ ทางคู่ 1.4เมตร ทั้งหมด แนวคิดแบบบ้านๆครับ
โอ๊ย ไปอยู่ไหนมา ???
ราง 1 เมตรสมัย ร.5 บ้านเรามันทำความเร็วได้สูงสุด 160 กม./ชม. รถไฟฟ้าสายสีแดงทำให้ดูมาแล้ว เท่ากับรถไฟความเร็วสูงลาว-จีน ราง 1.435 เมตร เลย
เหตุที่รถไฟบ้านเรามันช้า เพราะ เป็นรางเดี่ยวรอสับหลีก + หัวรถจักรเก่าเสียบ่อย + ผ่านจุดตัดถนน ... มันไม่ใช่ความผิดของราง 1 เมตร
ตอนนี้เขาปรับปรุงราง 1 เมตรเป็นรางคู่ + ซื้อหัวรถจักใหม่ + ทำทางลอยฟ้าข้ามถนนให้รถไฟวิ่ง กันเสร็จแล้ว จะเปิดใช้ปีหน้าแล้ว
ส่วนรถไฟความเร็วสูงไทย-จีนที่ทำความเร็วสูงสุดได้ 250 กม./ชม. ใช้ราง 1.435 เมตรก็ลงมือสร้างไปแล้ว 20%
ระบบเบรค สำคัญครับ ต้องมีแบบใช้ลม และใช้ระบบเบรคสำรองน้ำมัน
ผลิตออกมาวิ่งเยอะๆครับ เส้นกรุงเทพ อู่ตะเภา กรุงเทพ หัวหิน กรุงเทพ นครสวรรค์ กรุงเทพ โคราช
เยี่ยมเลยครับ
คนไทยเก่งสุดๆครับผม รักประเทศไทย
ไม่หน้าเชื่อว่าคนไทยทำได้จริง แต่ก็ทำได้จริงๆ โดยเฉพาะเบตเตอร์รี่ ผลิดเองได้ถึง 2 แบบ 2 อย่าง..
ช่องนี้ให้ความรู้ เดินหน้าดีมากครับ..เบตเตอรี่ กราฟีน และ แบตเตอรี่ EA..ของไทย..เยี่ยมครับ คณาจารย์ที่วิจัยออกมาทำได้จริง..❤🎉❤🎉❤🎉❤
Ea นี่ยูนิคอนเทคฯของไทยแท้ๆเลย กล้าทำกล้าเปลี่ยน ปล.เห็นที่ชาร์จแช้วคืดดีไม่ได้เลย555
เรียกว่า ยักษ์เขียว สวย
ใส่แบตเตอรี่ + ระบบขับเคลื่อน
ราง ต้อง รับนน.กดลง 20 ตันต่อเพลา มีระบบชาร์จไฟเข้าเครื่องทันสมัย 🎉🎉🎉
วิงเกิน120 ต้องขยายราง หรือถ้าจะเอาราง1ม วิงเกิน120 รางต้องขนานกันแป๊ะ ระยะโค้งต้องกว้างพอให้ทำความเร็ว รางปูนพอทำได้ ถ้าอยากวิ่ง เกิน200 ก้ต้องขยายรางเป้น 1.44m ถึงจะปลอดภัย ไม่ต้องสร้างรางให้ละเอียดมากบำรุงรักษารางง่ายกว่า ค่อยขยับกันไป เงินไม่หากันง่ายๆ ว่างรางคู่ในวิงสวนกันได้ก่อน ส่วนทำรางสามฟรือขึ้นเสาจ่ายไปไม่พุดถึงแพงมาก แพงบบนั้นค่าโดยสานพุงแน่นอน ตอนนี้ในไทยรถไฟไม่ตรงเวลา เพราะจอดรอรถสวนทางบ่อยมาก
รถไฟ BEV น่าจะ ทำเป้นเสารับไฟฟ้า แบบเสาเหมือนรถไฟฟ้าสีแดง ติดหลังคาไว้หน่อยก้ดีครับ เวลาวิ่งชาญเมืองก้ใช้ไฟฟ้าจากเสาวิ่ง ออกนอกเมือง ใช้แบต แล้วพอวิ่งออก กทม เข้าเขตเมืองใหญ่ อย่างสุราษ หาดใหญ่ โคราช เชียงใหม่ เมืองที่คนเยอะะ ก็วางรางสามวางเสาจ่ายไฟ ในเขตเมืองเอาวิงไปชาร์ตแบตไป ออกนอกเมืองใหญ่ก้วิ่งใช้แบต น่าจะวิงได้ระยะทางมากขึ้น ไม่ต้องว่างรางสาม ทั้งประเทศหรอกมันแพง
1.435 เป็น standard gauge ใช่ไหมคะ
สีแดงวิ่ง 140 นะครับ ราง1 เมตร
@@anastasiayusupov7931 ชื่อเต็ม European standard gauge ครับ
เห็นด้วยมากๆเรื่องเสารับไฟเหนือหัวติดตั้งบนหลังคาแบบพับขึ้นลงได้ ไหนๆก็ต้องทำรถไฟชานเมืองไฟฟ้าอยู่แล้ว เช่นสายสีแดงอ่อน(สายใต้)มีเสาส่งเหนือหัวถึงนครปฐม สายสีแดง(สายเหนือ-อีสาน) มีเสาส่งเหนือหัวถึงอยุธยา ชุมทางบ้านภาชี รางก็เป็น metre gauge (ราง 1 เมตร) อยู่แล้ววิ่งร่วมกันได้ พอสิ้นสุดเสาส่งไฟฟ้าเหนือหัวก็วิ่งด้วยแบตเตอรี่ เสาส่งไฟฟ้าไม่จำเป็นต้องทำตลอดทั้งสาย ทำเสาส่งไฟฟ้าช่วงที่ต้องการชาร์จแบตและขับมอเตอร์ไฟฟ้าไปด้วย อาจจะทำเสาส่งเหนือหัวในช่วงกลางของแต่ละสาย เช่นสายเหนือทำช่วงพิษณุโลก-ชุมทางบ้านดารา แล้วทำเสาส่งอีกทีช่วงลำปาง-เชียงใหม่
ถ้าทำแบบนี้ได้ จะสามารถนำรถไฟ bi-mode (มีเสารับไฟฟ้าบนหลังคาพับขึ้น-ลงได้) พลังงานไฟฟ้า-ดีเซล หรือไฟฟ้า-แบตเตอรี่ มาใช้วิ่งรับส่งผู้โดยระหว่างเมืองได้ด้วย ruclips.net/video/3Cqn10YE8ZU/видео.html
รถไฟที่ใช้หัวรถจักรลากตู้โดยสาร ดูไม่เหมาะสมกับการนำมาใช้เป็นรถไฟชานเมืองวิ่งระหว่างเมือง หัวรถจักรแบบ EV เหมาะกับการขนส่งสินค้ามากกว่า ไหนๆทำแล้วก็ทำมันทีเดียวรองรับได้หมด
อยากให้ปรับปรุงเรื่องแรงวิ่งหรือความเร็วให้ดีขึ้นกว่านี้นะครับ ขอให้แรงใจ...
หัวรถจักรไฟฟ้า 100%สำเร็จแล้ว ถึงจะยังไม่สมบูรณ์ในการนำมาใช้งานได้ 100% ก็แก้ไขปัญหาปลีกย่อยกันไป แต่ก็ต้องเดินหน้าวิจัยพัฒนารถไฟชุด 4 คัน จากรถไฟชุดแบบดีเซลรางเชื้อเพลิงน้ำมันดีเซลเปลี่ยนไปเป็น Battery Train ต่อเนื่องไปเลย แต่ตั้งข้อสังเกตุว่าแบตเตอรี่ที่ตัวหัวรถจักรเอง คงต้องอัพให้สามมารถ
swapping ให้ได้ด้วยวิธีเดียวกันกับรถเพาเวอร์คาร์และก็ต้องอัพเรื่องความเร็วเมื่อลากจูงขบวนตู้โดยสารที่หน่วยลากจูง 550 ตัน ให้สามารถทำความเร็วสูงสุดได้ 120 กม./ชม.ให้ได้ด้วย ไม่ใช่ทำความเร็วได้แค่ 50กม./ชม. ตวามเร็วขนาดนี้เอาไปใช้งานลากตู้สินค้ายังไม่เวิร์คเลย ตู้สินค้าความเร็วสูงสุดมาตรฐานมันก็ต้องให้ได้ 70กม./ชม.แล้ว ยิ่งขบวนรถโดยสารมาตรฐานความเร็วสูงสุดที่แย่ที่สุดมันก็ไม่ควรต่ำกว่า 90 กม./ชม.กลางๆก็ 100 กม./ชม.ดีสุดก็ต้อง 120 กม./ชม.เหมือนหัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า QSY ถ้าทำได้แค่ 50-70กม./ชม.อย่าเอามาใช้งานให้ผู้โดยสารเค้าก่นด่าเลยจะดีกว่า เพราะถึงจะวิ่งทางคู่แต่มันก็ยังใช้เวลาเดินทางนานเหมือนทางเดี่ยวแบบเดิม แล้วจะมีประโยชน์อะไรกับการลงทุนหลายแสนล้านทำทางคู่ เพื่อให้เดินทางได้ช้าเหมือนเดิม
มันต้องมีจุดเริ่มต้น ใช้งานไปพัฒนาไป
ยังอยู่ในขั้นพัฒนานะครับ
ถ้าสำเร็จแล้ว
สามารถตอบโจทย์ได้ ควหายข้องใจนะครับ
(ยังไงๆผู้พัฒนาเขาต้องคิดถึงประสิทธิภาพสูงสุดอยู่แล้ว
ไม่งั้นก็จะเสียเงินเสียเวลาไปเปล่า)
พิธีกร ชอบพูดแทรก เลยฟังข้อมูลไม่ค่อยครบจากคนให้ข้อมูลเลยครับ
ตู้นึงวิ่งได้ 300 กิโล ทำสวอปสำเร็จเมื่อไหร่ ตั้งสวอปได้ตามสถานีใหญ่ๆได้สบาย ยังไงก็ต้องจอดสถานีใหญ่อยู่แล้ว
ภูมิใจกับคนไทยมากครับ
เยี่ยมมากเลยครับ
ท่านทั้งหลายเดินทางโดยสวัสดิภาพ
ส่วนตัวถ้าจะให้ไทยเราขยายรางเป็น1.45 เมตรคงอยากมากเพราะไทยเราต้องเชื่อมต่อกับเพื่อนบ้านเพราะ ลาว กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ พม่า ใช้รางรถไฟขนาด 1 เมตรและรางรถไฟขนาด1 เมตรสามารถทำความเร็วได้สูงสุดถึง160 กิโลเมตรต่อชั่วโมงและรางขนาด 1.435 เมตรของไทยจะใช้ในโครงการรถไฟความเร็วสูงที่จะเชื่อมทั้งจีนและสิงคโปร์ในอนาคต
ป้าได้ดูคลิปแล้ว ภูมิใจในตัวเด็กไทยยุคใหม่ ที่เก่งและสร้างสรรมากๆ ภูมิใจที่เกิดเป็นคนไทย นอนตายตาหลับแล้ว🎉👏👏👏👏👏
1. มี Regenerative Brake ใช่มั้ย
2. พ่วงพหุกับรถดีเซลคุ้มมั้ย
3. ถ้าในอนาคต มีการติดตั้งสายไฟเหนือหัว สามารถดัดแปลงติด pantograph เพื่อรับไฟจากสายส่งได้หรือเปล่า
EA มีผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ดีมากๆ
บริษัทEa สุดยอดแล้วที่ทำชี่อเสียงให้ไทยเรา
#จากคลิปนี้เราเพิ่งรู้ว่า :- หัวรถไฟดีเซลที่เราใช้ๆกันอยู่ เป็นเครื่องปั่นไฟจ่ายให้มอเตอร์ขับล้อ เครื่องดีเซลไม่ได้ขับเพลาล้อโดยตรง
สุดยอดเลยค่ะ ขอชื่นชมทีมงานทุกคนที่ระดมความคิดช่วยกันพัฒนาประเทศให้ก้าวไปข้างหน้า สร้างงานให้คนในชาติ ขอบคุณมากค่ะ 😊
การรถไฟฯและรัฐบาลควรสนับสนึนทุนวิจัยด้วย สุดยอดคนไทย!
ก็รัฐนี่แหละที่สนับสนุน โครงการกับ EA
@@mr.naruthaptoyou6364 ไอ้ยุทเนี่ยนะ
@@Studio-bo1fy - GDP nominal ยุคประยุทธ์อันดับ 24 ของโลกแซงสวีเดน ... 5G, สายไฟลงดิน, Motor way 4 ภาค, รถไฟ metro สายสีแดง-เหลือง-ชมพู, รถไฟรางคู่ 4 ภาค, รถไฟความเร็วสูง
- GDP nominal ยุคทักกี้อันดับ 34 ของโลก ... ไม่ยอมประมูล 3G จนลาวมี 3G ใช้ก่อนไทย, AIS พาดสายสื่อสารมั่วซั่ว, ถนน 4 เลนภาคใต้สร้างไม่เสร็จ, ขัดขวางผู้ว่า กทม.จากพรรคฝ่ายค้านไม่ให้ขยาย BTS ไปฝั่งธน, ตัดงบรถไฟรางคู่
@@mr.naruthaptoyou6364
ใช่
ทั้งเรือไฟฟ้า รถไฟไฟฟ้า รถเมล์ไฟฟ้า
โรงงานผลิตแบตเตอรี่
@@Studio-bo1fy
ไปอยู่ไหนมา ถ้ารัฐบาลไม่สนับสนุน จะเอามาวิ่งบนรางได้เหรอ
ขนส่งมวลชนสาธารณะขนาดใหญ่อย่างรถไฟ รถเมล์ น่าจะเหมาะกับระบบไฮโดรเจน เพราะมีสถานีที่ต้องแวะขัดเจน สามารถสร้างสถานีชาร์จได้ในบริเวณสถานีรถ การใช้เชื้อเพลิงของระบบขับเคลื่อนที่หลากหลายคือการกระจายความเสี่ยงในการลงทุนอย่างหนึ่ง หากเกิดปัญหาหรือความไม่คุ้มทุนในระบบใดก็สามารถเพิ่มน้ำหนักการใช้หรือสลับมาระบบอื่นได้
อยากให้ลองทำรถที่เป็นแบบดีเซลราง คือ มีมอเตอร์ขับเคลื่อนในแต่ละตู้ด้วยค่ะ เพื่อใช้สำหรับเป็นรถที่ขนส่งชานเมืองอะไรแบบนี้ เพราะน่าจะมีความถี่ในการใช้สูง จะยิ่งประหยัดการใช้รางไปกันอีก ถ้ายิ่งใช้รางยิ่งคุ้มค่ากับการลงทุน
มันต้องรอให้เราผลิตแบตได้เองก่อนเพราะแบบนั้นมันต้องสร้างแฟล็ตฟรอมใหม่หมดถ้าไปจ้างเขาผลิตต้นทุนสูง
ดีเซลไฟฟ้ามันทำให้มีมอเตอร์ทุกตู้ไม่ได้นะ
ถ้าจะให้มีมอเตอร์ทุกตู้ต้องเป็นสายส่งหรือแบตเตอรี่
ขอบคุณ content ดีๆครับ
18:53 จริงๆโดยหัวรถจักรนะครับ max ของทุกประเภทในทาง1เมตรกำหนดไม่เกิน120km/h แต่ถ้าเป็นรถ พวกรถ multiple unit จะทำความเร็วได้ถึง 120-150 km/h ครับ ยกตัวอย่างก็สายสีแดงครับ ตอนนี้สาวกคนรักรถไฟเขาก็รออนุมัติ รถ Bi-mode 184 คัน ที่รองรับความเร็ว 160 km/h ครับ ส่วน HSR มองว่าสายแรกเสร็จ ปี 71 ครับ
bi-mode จะกลับมาอีกแล้วเหรอคะ ดีใจจัง
@@anastasiayusupov7931 แผนเดิมครับทางรฟท.ค้านครับ
@@anastasiayusupov7931 มาอะไรล่ะครับ เจ้ากระทาวงดันรถแบตอยู่ สั่งกลับไปศึกษารถแบตมา. . . .แล้วDEMU,Bi-mode ก๋ไม่สั่งเดินต่อทั้งที่ทางคู่จะเสร็จแล้ว
ถ้าใช้เป็นแบ็ตเกลือได้จะสุดยอด
อยากให้เพิ่มความเร็วในขณะลากจูงตู้โดยสารเป็น 120-150 km/ h จะเจ๋งมาก
ลดการโยงสายไฟระโยงระยางไปเยอะ ยิ่งถ้าเราผลิตตู้พ่วงได้เองที่มีน้ำหนักเบา ก็ยิ่งทำให้ระยะวิ่งยิ่งไกลขึ้น หรือประหยัดขึ้น
700000 ล้านในคลิป ยังไม่รวมค่าบำรุงรักษา
ตู้พ่วงเราทำเองได้ครับ กำลังทำอยู่ครับ
น่ารักจัง พี่ยักษ์เขียว
สนับสนุนให้เปลี่ยนทั้งหมดเลยครับ ทั้งหัวรถจักรทั้งตู้โดยสาร
รุ่นนี้ ตกรุ่น ที่ต่างประเทศ แล้ว
จะเป็นไปได้มั้ยถ้าทำแบบ bi-mode มีเสายกขึ้นเพื่อรับไฟเหนือหัวไว้ขับมอเตอร์ไฟฟ้า หรือชาร์ทไฟไปด้วยในตัว เพื่อลดข้อจำกัดเรื่องระยะทาง และเพิ่มความเร็วให้มากขึ้น โดยไม่จำเป็นต้องทำสายส่งไฟฟ้าเหนือหัวตลอดทั้งสาย อาจทำเป็นจุดๆไป เช่นบริเวณ สถานี
ถ้าทำได้แบบนี้ อาจพัฒนาต่อยอด ทำรถไฟ ev bi mode ระหว่างเมือง ที่มีห้องขับในตัวไม่ต้องใช้หัวรถจักรลาก
ใช่ จริงๆไม่ต้องตั้งเสาทั้งประเทศก็ได้ ถ้าทำเป็น bi mode
สบายใจไทยแลนด์ เราผลิตหัวรถจักรได้ละ สิ่งที่ทำให้รถไฟบ้านเราดูไม่สวย และล้าสมัย คือตู้โดยสาร โดยเฉพาะชั้น3 ช่วยผลิตให้มันดูทันสมัยหน่อยครับ #Love E@
เอาจริงๆ ปรับชั้น 3 ติดแอร์ แล้วปรับราคาขึ้นไม่กี่บาท ผมก็โอเคนะครับ 😊😊😊
@@ปัณณวิชญ์ทาสี ถูกครับ หลังจากทางคู่เสร็จ ก็ต้องเรื่องตู้โดยสารต่อ
รฟท.ของไทยยอดเยี่ยมจริงๆขอบอก