Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
ขอบคุณครับอาจารย์
ขอบคุณมากๆเลยค่ะ อาจารย์อธิบายเข้าใจค่ะ เห็นข้อแตกต่างเลยค่ะ🙏🙏🙏
ขอบคุณอาจารย์มากเลยนะครับเพราะผมฟังคลิปนี้ของอาจารย์ก่อนไปสอบเนติบัณฑิตขาญาสมัยที่76 ข้อสอบออกค่อนข้างใกล้เคียงกับข้อมูลที่อาจารย์สอนเลยครับโชคดีมากครับที่ได้มาดูคลิปอาจารย์ก่อนสอบ เพราะข้อที่2ของขาอาญา ผมได้คะแนน 9.5 คะแนนเลยครับขอบคุณอาจารย์มากๆเลยครับ
ยินดีด้วยนะครับ
หนูเป็นเด็ก นิติปี1กำลังเรียนเลยค่ะเเต่ไม่เข้าใจเท่าที่ควร มาดู อจ เเล้วเข้าใจมากๆค่ะ ขอบคุณค่ะ
เข้าใจมากๆเลยค่ะ
ผมเรียนอยู่นิติศาสตร์รามคำแหงครับอาจารย์ แต่ผมมีความประทับใจและทึ่งบางอย่าง ในความสามารถของอาจารย์ สมแล้วครับที่ได้เกียรตินิยม เนติบัณฑิต ผมว่าท่านเป็นอาจารย์คนแรกที่สอนได้ ลึกละเอียดขนาดนี้ ซึ่งเอามาตรา 59 วรรค 3 เปรียบเทียบให้เห็นชัดเจนกับมาตรา 62 วรรคแรก ไม่เคยเจอเลยครับตั้งแต่ผมเรียนมา ไม่มีใครเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจน เหมือนอย่างท่านอาจารย์ เลยครับ ผมขอชื่นชมและ ก้มกราบคารวะ ให้ท่านเลยครับ อาจารย์ยกตัวอย่างจนผมเข้าใจ และเปรียบเทียบระหว่าง 59 วรรค 3 กับ 62 วรรคแรก ได้ชัดเจนและสุดยอดจริงๆครับอาจารย์ ข้าน้อยขอคารวะ แม้เราจะอยู่ต่างสถาบันกัน ขอชื่นชมและรักเคารพท่านอย่างสูงครับ
ขอบคุณครับ
หมายถึงจำเลยมโนไปเองในข้อเท็จจริงใช่มั้ยครับ
อาจารย์ครับ ถ้ามองดีๆแล้วจะเห็นว่า ผู้กระทำตามมาตรา 62 จะต้องพอรู้กฎหมายพอสมควรใช่มั้ยครับ โดยเฉพาะรู้กฎหมายข้อ 68
ขอสอบถามค่ะอาจารย์ในตัวอย่างสุดท้าย ทำไมการที่เเดงสำคัญผิดว่าขาวเเฝดของดำเป็นดำจึงไม่ใช่การสำคัญผิดในตัวบุคคล ตามป.อาญา มาตรา61คะ
จากที่ผมเข้าใจไม่ทราบถูกไหมใครทราบรบกวนบอกผมด้วยนะครับจากที่ผมเข้าใจประมาณนี้ครับเพราะเป็นบันดาลโทสะไหมอ่าครับ ม.72 บันดาลโทสะ ศาลจะลงโทษผู้นั้นน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้ ซึ่งตรงกับม.62วรรคแรก ที่ว่า การสำคัญผิดในข้อเท็จจริงว่ามีอยู่จริงจะทำให้ยกเว้นความผิด หรือไม่ต้องรับโทษหรือรับโทษน้อยลง ซึ่งบันดาลโทสะ ศาลจะลงโทษน้อยกว่ากฎหมายกำหนดเพียงใดก็ได้เลยใช้ ม.62วรรคแรกกับ72
มาตรา ๖๒ เป็นเรื่องสำคัญผิดในข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ แต่มาตรา ๖๑ เป็นเรื่องสำคัญผิดในตัวบุคคลที่ถูกกระทำ ซึ่งเจตนาจะกระทำต่อบุคคลหนึ่ง แต่ได้กระทำต่ออีกบุคคลหนึ่งโดยสำคัญผิด ผู้นั้นจะยกเอาความสำคัญผิดเป็นข้อแก้ตัวว่ามิได้กระทำโดยเจตนาหาได้ไม่ ผลของการสำคัญผิดตามมาตรา ๖๒ ผู้กระทำอาจไม่มีความผิด อาจได้รับยกเว้นโทษ หรือได้รับโทษน้อยลง แต่การสำคัญผิดตามมาตรา ๖๑ ผู้กระทำไม่พ้นผิด กรณีตัวอย่างสุดท้ายนี้ เมื่อมีการสำคัญผิดในข้อเท็จจริงด้วย เราจะปรับด้วยมาตรา ๖๒ ไม่ปรับด้วยมาตรา ๖๑ เพื่อให้ได้รับโทษน้อยลง เพราะถ้าปรับด้วยมาตรา ๖๑ กระทำจะไม่พ้นผิด เป็นบทกฎหมายปิดปากมิให้โต้แย้งเลยว่าตนไม่ได้มีเจตนาในการกระทำต่อผู้ที่ได้รับผลร้ายนั้น
@ทําวันนี้ ให้ดีที่สุด ไม่เกี่ยวกับว่าเพราะเป็นบันดาลโทสะหรือไม่ แต่เกี่ยวกับการอ้างความสำคัญผิดในข้อเท็จจริง เพื่อเป็นเหตุลดโทษได้อีก ตาม มาตรา62วรรคแรก แต่จะอ้างเพื่อไม่มีความผิด หรือไม่ต้องรับโทษไม่ได้ เพราะเป็นความผิดตามป.อ.ม.295 ,72 ประกอบ มาตรา62วรรคแรก โทษจำคุกไม่ถึง5ปี ศาลจึงอาจรอลงอาญาได้
@ทําวันนี้ ให้ดีที่สุด การสำคัญผิดในข้อเท็จจริงจะต้องมีเหตุการณ์เกิดขึ้น ทำให้ผู้กระทำสำคัญผิด จึงลงมือกระทำการเพราะความสำคัญผิดนั้น ถ้าไม่มีเหตุการณ์ใดที่จะทำให้สำคัญผิดได้เลย ผู้กระทำจะอ้างความสำคัญผิดในข้อเท็จจริงไม่ได้ ซึ่งกรณีตัวอย่างนี้ มีเหตุการณ์เกิดขึ้น คือ เป็นคู่แฝดหน้าตาเหมือนกัน ไปอยู่ในจุดเกิดเหตุคนเดียวพอดี ...มิใช่ไปเจออยู่ด้วยกันทั้งสองคน ซึ่งจะเป็นการกระทำโดยพลาด ตามมาตรา60
ขอบคุณครับอาจารย์
ขอบคุณมากๆเลยค่ะ อาจารย์อธิบายเข้าใจค่ะ เห็นข้อแตกต่างเลยค่ะ🙏🙏🙏
ขอบคุณอาจารย์มากเลยนะครับเพราะผมฟังคลิปนี้ของอาจารย์ก่อนไปสอบเนติบัณฑิตขาญาสมัยที่76 ข้อสอบออกค่อนข้างใกล้เคียงกับข้อมูลที่อาจารย์สอนเลยครับโชคดีมากครับที่ได้มาดูคลิปอาจารย์ก่อนสอบ เพราะข้อที่2ของขาอาญา ผมได้คะแนน 9.5 คะแนนเลยครับขอบคุณอาจารย์มากๆเลยครับ
ยินดีด้วยนะครับ
หนูเป็นเด็ก นิติปี1กำลังเรียนเลยค่ะเเต่ไม่เข้าใจเท่าที่ควร มาดู อจ เเล้วเข้าใจมากๆค่ะ ขอบคุณค่ะ
เข้าใจมากๆเลยค่ะ
ผมเรียนอยู่นิติศาสตร์รามคำแหงครับอาจารย์ แต่ผมมีความประทับใจและทึ่งบางอย่าง ในความสามารถของอาจารย์ สมแล้วครับที่ได้เกียรตินิยม เนติบัณฑิต ผมว่าท่านเป็นอาจารย์คนแรกที่สอนได้ ลึกละเอียดขนาดนี้ ซึ่งเอามาตรา 59 วรรค 3 เปรียบเทียบให้เห็นชัดเจนกับมาตรา 62 วรรคแรก ไม่เคยเจอเลยครับตั้งแต่ผมเรียนมา ไม่มีใครเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจน เหมือนอย่างท่านอาจารย์ เลยครับ ผมขอชื่นชมและ ก้มกราบคารวะ ให้ท่านเลยครับ อาจารย์ยกตัวอย่างจนผมเข้าใจ และเปรียบเทียบระหว่าง 59 วรรค 3 กับ 62 วรรคแรก ได้ชัดเจนและสุดยอดจริงๆครับอาจารย์ ข้าน้อยขอคารวะ แม้เราจะอยู่ต่างสถาบันกัน ขอชื่นชมและรักเคารพท่านอย่างสูงครับ
ขอบคุณครับ
หมายถึงจำเลยมโนไปเองในข้อเท็จจริงใช่มั้ยครับ
อาจารย์ครับ ถ้ามองดีๆแล้วจะเห็นว่า ผู้กระทำตามมาตรา 62 จะต้องพอรู้กฎหมายพอสมควรใช่มั้ยครับ โดยเฉพาะรู้กฎหมายข้อ 68
ขอสอบถามค่ะอาจารย์ในตัวอย่างสุดท้าย ทำไมการที่เเดงสำคัญผิดว่าขาวเเฝดของดำเป็นดำจึงไม่ใช่การสำคัญผิดในตัวบุคคล ตามป.อาญา มาตรา61คะ
จากที่ผมเข้าใจไม่ทราบถูกไหมใครทราบรบกวนบอกผมด้วยนะครับจากที่ผมเข้าใจประมาณนี้ครับเพราะเป็นบันดาลโทสะไหมอ่าครับ ม.72 บันดาลโทสะ ศาลจะลงโทษผู้นั้นน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้ ซึ่งตรงกับม.62วรรคแรก ที่ว่า การสำคัญผิดในข้อเท็จจริงว่ามีอยู่จริงจะทำให้ยกเว้นความผิด หรือไม่ต้องรับโทษหรือรับโทษน้อยลง ซึ่งบันดาลโทสะ ศาลจะลงโทษน้อยกว่ากฎหมายกำหนดเพียงใดก็ได้เลยใช้ ม.62วรรคแรกกับ72
มาตรา ๖๒ เป็นเรื่องสำคัญผิดในข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ แต่มาตรา ๖๑ เป็นเรื่องสำคัญผิดในตัวบุคคลที่ถูกกระทำ ซึ่งเจตนาจะกระทำต่อบุคคลหนึ่ง แต่ได้กระทำต่ออีกบุคคลหนึ่งโดยสำคัญผิด ผู้นั้นจะยกเอาความสำคัญผิดเป็นข้อแก้ตัวว่ามิได้กระทำโดยเจตนาหาได้ไม่ ผลของการสำคัญผิดตามมาตรา ๖๒ ผู้กระทำอาจไม่มีความผิด อาจได้รับยกเว้นโทษ หรือได้รับโทษน้อยลง แต่การสำคัญผิดตามมาตรา ๖๑ ผู้กระทำไม่พ้นผิด กรณีตัวอย่างสุดท้ายนี้ เมื่อมีการสำคัญผิดในข้อเท็จจริงด้วย เราจะปรับด้วยมาตรา ๖๒ ไม่ปรับด้วยมาตรา ๖๑ เพื่อให้ได้รับโทษน้อยลง เพราะถ้าปรับด้วยมาตรา ๖๑ กระทำจะไม่พ้นผิด เป็นบทกฎหมายปิดปากมิให้โต้แย้งเลยว่าตนไม่ได้มีเจตนาในการกระทำต่อผู้ที่ได้รับผลร้ายนั้น
@ทําวันนี้ ให้ดีที่สุด ไม่เกี่ยวกับว่าเพราะเป็นบันดาลโทสะหรือไม่ แต่เกี่ยวกับการอ้างความสำคัญผิดในข้อเท็จจริง เพื่อเป็นเหตุลดโทษได้อีก ตาม มาตรา62วรรคแรก แต่จะอ้างเพื่อไม่มีความผิด หรือไม่ต้องรับโทษไม่ได้ เพราะเป็นความผิดตามป.อ.ม.295 ,72 ประกอบ มาตรา62วรรคแรก โทษจำคุกไม่ถึง5ปี ศาลจึงอาจรอลงอาญาได้
@ทําวันนี้ ให้ดีที่สุด การสำคัญผิดในข้อเท็จจริงจะต้องมีเหตุการณ์เกิดขึ้น ทำให้ผู้กระทำสำคัญผิด จึงลงมือกระทำการเพราะความสำคัญผิดนั้น ถ้าไม่มีเหตุการณ์ใดที่จะทำให้สำคัญผิดได้เลย ผู้กระทำจะอ้างความสำคัญผิดในข้อเท็จจริงไม่ได้ ซึ่งกรณีตัวอย่างนี้ มีเหตุการณ์เกิดขึ้น คือ เป็นคู่แฝดหน้าตาเหมือนกัน ไปอยู่ในจุดเกิดเหตุคนเดียวพอดี ...มิใช่ไปเจออยู่ด้วยกันทั้งสองคน ซึ่งจะเป็นการกระทำโดยพลาด ตามมาตรา60