จะเป็นไปได้ไหม? ถ้ากล้องโทรทรรศน์อวกาศขนาดใหญ่ที่สุดคือ ดวงอาทิตย์

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 21 сен 2024
  • การพัฒนากล้องโทรทรรศน์อวกาศทุกวันนี้ล้ำมากกว่าเดิมมาก แต่ด้วยข้อจำกัดหลายอย่างที่ทำให้เราไม่สามารถสร้างกล้องโทรทรรศน์อวกาศขนาดใหญ่ เพื่อให้ได้ภาพระยะไกลและมีคุณภาพสูงได้ แต่จะเป็นอย่างไรถ้าเราใช้ดวงอาทิตย์เป็นกล้องโทรทรรศน์ได้ วิธีการที่ว่านี้จะทำอย่างไร ติดตามในคลิปนี้ได้เลยครับ
    #SpaceTelescope #Sun #GiganticTelescope #GravitationalLensing #ข่าวอวกาศ #ข่าวสั้นล้ำหน้าโชว์ #TechOffside
    ขอบคุณข้อมูลจาก Live Science
    ลิงก์ : www.livescienc...

Комментарии • 150

  • @darkmatter8600
    @darkmatter8600 7 часов назад +6

    อัจฉริยะสุดๆ เป็นทฤษฎีที่น่าให้การสนับสนุนมาก แต่กว่าจะไปถึงไกลเกิ้นน

  • @sunb12345
    @sunb12345 13 часов назад +6

    เพราะมนุษย์ไม่เคยหยุดเรียนรู้ครับ 😊
    ขอบคุณสำหรับข่าวสารดี ๆ ครับ

  • @aoyou3551
    @aoyou3551 14 часов назад +3

    ขอบคุณพี่หลาม จิ๊กโก๋ไอที มากเลยครับ ดูทีไร ได้ความรู้ ได้ความเข้าใจอะไรๆเพิ่มมากขึ้นทุกครั้ง ทุกคลิป ทุกคอนเท้นต์มีคุณภาพ เก่ง สื่อสารดีเข้าใจง่าย เป็นประโยชน์สุดๆ ขอบคุณมากครับ 👍👍👍

  • @o0I0o100
    @o0I0o100 12 часов назад +13

    ลองนึกภาพว่าเราอยู่ในโดมครึ่งวงกลม แบ่งโดมนั้นเป็นส่วนๆ ส่วนละ 1 องศา สมมุติว่าเหนือ ใต้ ได้ทั้งหมด 180 ส่วน (180 องศา) หั่น 1 องศาลงอีก 60 ส่วน 1/60 องศา เท่ากับ 1 arc minute แบ่ง 1 arc minute ออกเป็น 60 ส่วน 1/60 ของ arc minute เท่ากับ 1 arc second (ส่วนโค้งวินาที) วินาทีเชิงมุมก็น่าจะอันเดียวกัน เพื่อเปรียบเทียบ ดวงจันทร์มีขนาดประมาณ ครึ่งองศา ครับ

    • @Chal3u-dg1ef
      @Chal3u-dg1ef 3 часа назад +1

      มันแตกต่างยังไงกับลิปดาและฟิลิปดาครับ ใช้30ลิปดาก้มีความหมายเท่ากับครึ่งองศาเหมือนกัน หรือเขาไม่ใช้มาตราวัดนี้ครับ

  • @ninmungkorn
    @ninmungkorn 9 часов назад +3

    แนวคิดนี้มีมานานแล้ว อย่างน้อยผมก็เคยได้ยินมาเป็นสิบปีแล้ว แต่ก็ได้แค่คิด เพราะเทคโนโลยียังไม่มีศักยภาพมากพอที่จะทำได้ ซึ่งแม้เทคโนโลยีในปัจจุบันเอง ก็ยังไม่สามารถทำได้อยู่ดี เขาเลยหวังในระบบควอนตัมให้สำเร็จเร็วๆ มันจะเป็นใบเบิกทางระดับเริ่มต้นให้มีความหวังขึ้นมาบ้าง ส่วนตัวก็ไม่ได้หวังว่าจะได้เห็นความสำเร็จตอนผมมีชีวิต แต่ก็ขอให้ลงมือทำ ถ้ามันสำเร็จ มันจะเป็นความสำเร็จระดับมนุษยชาติ ที่จะหาแหล่งที่อยู่อาศัยใหม่ ก่อนเราจะเผาโลกจนอยู่ไม่ได้

  • @เฮียมั่วทั่วไท
    @เฮียมั่วทั่วไท 13 часов назад +16

    ระยะทาง 542 AU ห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่าโลกและดาวเคราะห์ในระบบสุริยะทั้งหมดอย่างมาก ต่อไปนี้เป็นระยะทางเฉลี่ยของดาวเคราะห์ต่างๆ ในหน่วย AU เพื่อเปรียบเทียบ:
    1. โลก (Earth): 1 AU
    2. ดาวอังคาร (Mars): 1.52 AU
    3. ดาวพฤหัสบดี (Jupiter): 5.2 AU
    4. ดาวเสาร์ (Saturn): 9.58 AU
    5. ดาวยูเรนัส (Uranus): 19.22 AU
    6. ดาวเนปจูน (Neptune): 30.05 AU
    7. พลูโต (Pluto): ประมาณ 39.48 AU (ถือว่าเป็นวัตถุแถบไคเปอร์)
    เมื่อเปรียบเทียบกับระยะทางของดาวเคราะห์เหล่านี้:
    ระยะทาง 542 AU นั้นไกลกว่าดาวเนปจูนซึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ไกลที่สุดมากกว่า 18 เท่า และไกลกว่าพลูโตในแถบไคเปอร์กว่า 13 เท่า
    ระยะทางนี้อยู่ในบริเวณของ "กลุ่มเมฆออร์ต" (Oort Cloud) ซึ่งเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่รอบระบบสุริยะที่ประกอบด้วยวัตถุขนาดเล็กจำนวนมาก
    ดังนั้น ระยะทาง 542 AU อยู่ไกลกว่าแถบไคเปอร์และใกล้กับขอบเขตของกลุ่มเมฆออร์ตที่อยู่รอบระบบสุริยะ
    ขณะนี้ Voyager 1 อยู่ห่างจากโลกประมาณ 162.7 AU หรือประมาณ 24.34 พันล้านกิโลเมตร (ข้อมูล ณ เดือนกันยายน 2024).
    Voyager 2 อยู่ห่างจากโลกประมาณ 135 AU.
    ทั้งสองยานกำลังเดินทางในอวกาศระหว่างดวงดาว (interstellar space) ซึ่งหมายถึงยานเหล่านี้ได้พ้นอิทธิพลของระบบสุริยะเราแล้ว และเดินทางต่อไปยังอวกาศที่อยู่ระหว่างดาวฤกษ์.

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 13 часов назад +2

      ข้อมูลดีมากครับ

    • @B13-z4c
      @B13-z4c 8 часов назад +2

      ถ้าจะให้หลุดพ้นโดยสมบูรณ์แบบ จะประมาณกี่ AU ครับ และใช้เวลามากไหม

    • @sacredation
      @sacredation 8 часов назад +1

      แล้วกว่าจะส่งข้อมูลกับมายังโลก ต้องรออีกนานแค่ไหน 5555

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 8 часов назад +1

      @@sacredation ไม่เป็นไร รอได้อย่างมากก็ไม่กี่วัน ไม่ต้องมีการโต้ตอบอะไรเร่งด่วน

    • @sacredation
      @sacredation 8 часов назад

      @@Sandsun-h7s เคยดูช่อง 9arm ขนาดส่ง update file เล็กๆไป vovager1 ยังรอเกือบวัน แล้วก็ห่างจากโลกน้อยกว่าระยะโฟกัส 3 เท่ากว่าๆ ไม่รู้ว่ารูปนึงต้องรอนานขนาดนั้น แต่ถ้าทำได้จริง คุ้มแหละที่ต้องรอนาน

  • @BenZBiocheM
    @BenZBiocheM 12 часов назад +14

    "ส่วนโค้งวินาที" น่าจะหมายถึง arcsec หรือ second of arc เรามักคุ้นเคยกับคำว่า "ฟิลิปดา" หรือ "วิลิปดา" ที่บ่งบอกถึงขนาดของมุม ซึ่งในที่นี้คือขนาดของมุมรับภาพ (angle of view) ค่ะ

    • @MongkonchaiS-el4nr
      @MongkonchaiS-el4nr 9 часов назад +1

      เฉพาะทางก็มาทีนี้ ผมก็ยังไม่เข้าใจครับ55

  • @ประเสริฐสิทธิ์ปัญจะเทวคุปต์

    อาร์กวินาที หรือ arcsecond คือ 1 ใน 3600 ของมุม 1 องศา เพราะมุม 1 องศามี 60 อาร์กนาที ใน 1 อาร์กนาทีมีอีก 60 อาร์กวินาที
    นอกจากนี้ยังเป็นที่มาของระยะทาง 1 พาร์เซ็ก (Parsec = parallax of one arcsecond) ด้วยครับ คือระยะที่ทำให้มุมพาราแล็กซ์เป็น 1 arcsecond
    สุดท้ายขอใส่ท่าอัลติ ปัดป้องจากทุกข้อมูลที่ให้ผิดพลาดและผมจะไม่กลับมารับผิดชอบใดๆด้วยสิ่งนี้ 😂

  • @wongsoon-n2f
    @wongsoon-n2f 13 часов назад +2

    ปัญหาที่ 2 คือ ถ้าจะเปลี่ยน ตำแหน่งของการมอง ตย เช่น 90 องศา จากตำแหน่งเดิม
    เราต้องให้ยาน มันเคลื้อนที่ ไปกี่ AU

  • @tipapornmeeklinhom6406
    @tipapornmeeklinhom6406 13 часов назад +1

    ฟังไปก็งงงงไป แต่ชอบเรื่องแบบนี้...งึดหลาย

  • @Sandsun-h7s
    @Sandsun-h7s 13 часов назад +1

    ความคิดเจ๋งมาก

  • @BallRune
    @BallRune 12 часов назад +3

    คิดเพิ่มอีกอนาคตคงใช้ กาแล็กซี่ทางช้างเผือกแทน

  • @MongkonchaiS-el4nr
    @MongkonchaiS-el4nr 9 часов назад

    เนื้อหานี้ดีมากๆครับ

  • @T_W_M
    @T_W_M 13 часов назад +8

    542AU=3วันแสง Voyager1 ห่าง(165AU)22:51ชั่วโมงแสงเองครับ😅

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 13 часов назад +1

      เยี่ยม

    • @nana1579-b1i
      @nana1579-b1i 12 часов назад +1

      ปัญหาใหญ่สุดน่าจะเป็นระยะทางแหละผมว่าไม่งั้นคงไปถึงตั้งแต่ปี 2000 ตีเป็นปีให้หน่อยได้ไหมครับ ว่าถ้ายานอวกาศที่เร็วที่สุดตอนนี้ที่บรรทุกดาวเทียมได้น่าจะไปถึงกี่ปีครับ

    • @Prisna_TH
      @Prisna_TH 12 часов назад

      @@nana1579-b1i วอยเอเจอร์ออกเกินทางไป47ปีแล้วครับ

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 12 часов назад +1

      @@nana1579-b1i พวกเราไม่ทันเห็น ตายก่อน

    • @baktangmo3412
      @baktangmo3412 5 часов назад

      แล้ววอยเอเจอร์ 1 ปล่อยไปตั่งแต่ปี 1977 ยังได้แค่นี้ 5555

  • @CAPTNoLOGO
    @CAPTNoLOGO 12 часов назад +1

    Arcsecond คือฟิลิปดาครับ ถ้า Arcminute ก็คือลิปดา เป็นหน่วยย่ิอยของมุม

  • @EsZaintS
    @EsZaintS 13 часов назад +6

    แล้วเป็นไปได้ไหมครับ ที่โลกเราจะอยู่ในระยะโฟกัสของเลนส์ความโน้มถ่วงจากดาวที่มีมวลมาก ๆ ดวงอื่นพอดี หรือแม้แต่จุดโฟกัสของดาวอื่นนั้นไม่ได้ห่างไปจากโลกเรามากเท่าไหร่ ?

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 13 часов назад +2

      ไม่มีหรอก มันไกลเกิน แค่มองดาวดวงนั้นยังเป็นจุดเล็กๆเอง จุดโฟกัสแรงโน้มถ่วงห่างจากดาวดวงนั้นไม่ถึงเศษเสี้ยวหนึ่งปีแสง แต่ดาวฤกษ์ที่ใกล้โลกที่สุดคือ Alpha century ห่าง 4.3 ปีแสง

    • @summanon
      @summanon 3 часа назад

      ผมก้อคิดว่าน่าจะมีนะ หาดาวที่มีแรงโน้มถ่วงมาก แล้วหาจุดโฟกัสให้มันอยู่ใกล้โลกหรือระยะที่มนุษย์ไปถึงได้ มวลอาจไม่เท่าดวงอาทิตย์ แต่ก้อยังดีกว่าเดินทางไปจุดโฟกัสของดวงอาทิตย์

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 2 часа назад

      @@summanon ดาว Alpha century ครับ ใกล้โลกที่สุด ระยะทางเท่ากับแสงเดินทาง 4.3 ปี ไกลเข้าไปอีก
      500 au ยังไม่กี่ชั่วโมงแสงเอง

  • @Iwatana1
    @Iwatana1 13 часов назад +1

    คนเมื่อ100ปีก่อนหาทางไปดวงจันทร์ได้ อีก100ปีต่อไปคงหาทางขุดเจาะและนำทรัพยากรดาวต่างๆได้
    คงต้องฝากความหวังไว้กับคนรุ่นถัดไป 😊

  • @marsrobot978
    @marsrobot978 12 часов назад +16

    แอนโดเมด้า แค่4.2 ปีแสงเองครับพี่😂😂 หากทำได้จริง จะมองไปได้ไกลกว่าแอนโดเมด้านะครับ ที่พี่ให้ข้อมูลนี้มาคือ เห็นรายละเอียดชัดนะครับ ใน100ปีแสง โอ้โห! มนุษย์เราคงรู้ว่า ดาวเคราะห์ดวงไหนที่มีมนุษย์ต่างดาวอยู่ แน่เลยครับ😂😂 อยากให้เค้าทำได้จริงๆ

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 12 часов назад

      @@marsrobot978 แอนโดรเมด้าห่างโลก 2.45 ล้านปีแสงครับ มันเป็นกาแลกซี่นะครับ เฉพาะเส้นผ่าศูนย์กลางมันก็ 152,000 ปีแสงแล้ว ดาวฤกษ์ที่ใกล้โลกที่สุดคือ Alpha century ห่าง 4.3 ปีแสงครับ

    • @theerawatraprapyo5490
      @theerawatraprapyo5490 12 часов назад +3

      แอนโดรมิด้า ห่าง 2.5 ล้านปีแสงไม่ใช่หรอ? :3

    • @nana1579-b1i
      @nana1579-b1i 12 часов назад +1

      ทรงนี้น่าจะซูมได้ยันพื้นดาวเลยมั้งผมว่า 555

    • @witthawin0
      @witthawin0 12 часов назад +5

      Proxima Centauri is the nearest star to our Sun. It's part of the Alpha Centauri star system, which is about 4.24 light-years away from Earth.😂😂😂😂

    • @witthawin0
      @witthawin0 12 часов назад

      ​@@theerawatraprapyo5490ถูกครับ เขาน่าจะเข้าใจผิด😂

  • @ชงนาญ
    @ชงนาญ 6 часов назад

    จริงๆ​เราน่าจะไปประกอบกล้องที่ใหญ่ได้ในอวกาศนะ แทนที่จะส่งเป็นยานออกไปแล้วกาง ก็ส่งเป็นชิ้นใส่ยานไปแล้วไปประกอบที่สถานีอวกาศ ก็ได้ความใหญ่เพิ่มขึ้น

  • @cheguevara5204
    @cheguevara5204 13 часов назад +3

    ไกลระดับ 500 AU แล้วจะเอาพลังงานไหนมาใช้ เพราะแสงจากดวงอาทิตย์ส่องไปไม่ถึง ฉะนั้นจึงใช้พลังงานจากแสงจึงใช้ไม่ได้เหลือเพียงพลังงานจากนิวเคลียร์ แต่ด้วยระยะทางที่ไกลมากที่ยานอวกาศปัจจุบันยังไปไม่ถึง คงต้องรอเทคโนโลยีวันนั้นมาถึง

    • @วิษนุอินทรศร-ว3ม
      @วิษนุอินทรศร-ว3ม 12 часов назад +1

      วอยยะเจอร์ใช้นิวเคลียร์คับ

    • @mrk2529
      @mrk2529 9 часов назад

      แต่นิวเคลียจะลดพลังงานครึ่งนึงทุก 80 ปีนะครับ อาจจะถึงก็ได้​@@วิษนุอินทรศร-ว3ม

    • @user-taorilakmaknangoffician
      @user-taorilakmaknangoffician 5 часов назад

      จุดโฟกัสของที่พี่หลามบอกน่าจะไม่ถึงขนาดนั้นครับคำนวณคร่าวๆน่าจะอยู่แถวดาวศุกร์
      10ยกกำลังลบสิบ.เรียกว่าหน่วยพิโค
      คำนวณคร่าวๆระยะทางหนึ่งล้านAUจุดโฟกัสที่ได้จะเท่ากับประมาณ 10ยกกำลัง26..
      ดีงนั้นหากแปลงเป็นพิกเซลภาพระยะ1ล้านปีแสงจะชัดเจนมาก

  • @nahkubnah
    @nahkubnah 8 часов назад

    เคยได้ยินเรื่องนี้มาจากเกม high frontier เขาเรียกว่า sun lens อะ ใครมีแหล่งไหนให้อ่านเพิ่มแนะนำกันได้นะคับ😇

  • @thananchaimongkolsupya4196
    @thananchaimongkolsupya4196 13 часов назад +2

    สงสัยเอาไอเดียมาจากหนัง 3 body problem

  • @คําปั่นแสนณรงค์-ย4ช

    ผมว่าใด้ครับคุณหลาม.

  • @ภรัณยูแซ่ชี
    @ภรัณยูแซ่ชี 5 часов назад

    นึกถึงช่วงแรกที่นาซ่าใช้ยานวอยเอเจอร์ใช้แรงเหวี่ยงดวงดาวเลย คือเอาเรื่องของพลังความโน้มถ่วงหรือการบิดตัวของtimes pace เอามาเป็นเครื่องมือทางอวกาศ รู้สึกว่าถ้าเอามาดัดแปลงเป็นเครื่องมือเพื่อแสวงหาความรู้มันโคตรยิ่งใหญ่มาก

  • @revolutionth9600
    @revolutionth9600 4 часа назад

    วันไหนที่ทำได้ ขอดูระยะที่ 4.2 ปีแสงก่อน Alpha Century มันอาศัยได้ไหม?

  • @user-taorilakmaknangoffician
    @user-taorilakmaknangoffician 5 часов назад

    ต้องไปดูสูตรฟิสิกส์คือ
    มิลลิ,เดซิ,นาโน,พิโก้
    ดังนั้น10ยกกำลังลบ10น่าจะอยู่แถวหน่วยพิโค

  • @Perzefony
    @Perzefony 11 часов назад

    ใช้หลักการคล้ายในนิยายดาวซานถี่เลย แต่ในดาวซานถี่ ใช้การยิงสัญญาณไปที่ดวงอาทิตย์เพื่อให้เกิดการสะท้อนเพื่อส่งคลื่นเสียงกระจายไปในอวกาศ คือใช้สนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์เพื่อขยายคลื่นเสียงที่ไปได้เร็วและไกลกว่าส่งตรงๆจากโลก

  • @hawjvajofficial2088
    @hawjvajofficial2088 3 часа назад +1

    ประมวลผลภาพที่คอมระเบิดแน่ๆ…..5555

  • @วีรยุทธเลิศทรัพย์อมร-ฝ8ผ

    งบสร้างกล้องนี้คงใช้ยันชาติหน้าก็ยังไม่พอ เพราะไม่ใครทำแน่ๆ ลองคิดดูว่าส่งยานไปยังไม่ถึงจุดโฟกัสเทคโนโลยีใหม่ก็ตามมาความคิดอาจเปลี่ยนไปก็ได้ถึงไม่มีใครทำไง

  • @FatCat_101
    @FatCat_101 10 часов назад +4

    ดาวซานถี่ รอคุณอยู่ .....

    • @Joe4s
      @Joe4s 5 часов назад

      55555

    • @user-MMe
      @user-MMe 4 часа назад

      นอกจากเราจะส่องแล้ว ต้องส่งสัญญาณ”hello A mother f***”ให้ดวงอาทิตย์ขยายด้วย เผื่อทีอีกสามร้อยปีจะมีปาฎีหาร5555

    • @sancan4304
      @sancan4304 Час назад

      ดาวจีนแคะ

  • @stc-channel
    @stc-channel 8 часов назад

    จากแนวคิดนี้มันแสดงให้เห็นถึงมันสมองและจินตนาการอันไม่สิ้นสุดของมนุษย์

  • @darkmatter8600
    @darkmatter8600 7 часов назад

    ขอตั้งปัญหาให้ขบคิด แบบนี้หลุมดำมวลยิ่งยวดก็ทำได้ใช่ไหม แล้วจุดโฟกัสมันอยู่ส่วนไหนของเอกภพ แล้วถ้ามีการสร้างหลุมดำขนาดเล็กเพื่อใช้เป็นกล้องเลนส์ความโน้มถ่วงก็น่าจะเป็นไปได้ตามทฤษฎี สิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญาอาจจะกำลังใช้วิธีนี้มองดูเราอยู่ก็ได้ น่าคิด🤔🤔🤔

  • @littlel2616
    @littlel2616 7 часов назад

    ฟีล 3 body problems ปะที่ใช้ดวงอาทิตเป็นตัวกระจายสัญญาณให้ไกล เพื่อติดต่อกะเทพเอเลี่ยน

  • @ปปป-117
    @ปปป-117 7 часов назад

    ญี่ปุ่นทดสอบยานที่ใช้เรือใบ​ น่าจะแก้ปัญหาเรื่องพลังงาน​ คงรออีก50ปี
    อย่างเร็ว

  • @mwmemon4034
    @mwmemon4034 10 часов назад

    นิยายเรื่อง ดาวซานถี่ trisolaris ชัดๆๆ

  • @wrtnmn
    @wrtnmn 12 часов назад

    พี่หลามระวังตัวไว้นะครับ อาจจะตกเป็นเป้าของชาวซานถี่ ถ้าเริ่มเห็นอะไรแปลกๆ บอกพวกเราด้วยครับ

  • @patipanhemuthai4402
    @patipanhemuthai4402 13 часов назад +1

    งั้นในหนัง 3 body problem ก็ทำได้ จิงอะดิ 5555+ หนังชอบเติมเต็มความเป็นไปได้ ทางความคิด 555+

  • @ติ๊ก-บ7ฉ
    @ติ๊ก-บ7ฉ 9 часов назад

    ถ้าทำได้ ดาวอื่นก็น่าจะทำอยู่ คณิตศาสตร์มันเหมือนกันทั้งจักรวาลแหละ

  • @serpentcccc
    @serpentcccc 14 часов назад

    three body problem เวอร์ชั่น กล้องส่องทางไกล

  • @kigkorg
    @kigkorg 4 часа назад

    เท่าที่ผมไปค้นมานะครับ ระยะจุดโฟกัสตรงนั้นอยู่ที่ 550 AU ครับ ก็ไม่รู้ว่าใช่ตัวเลขประมาณการไหม แต่ที่แน่ๆคือมันไกลมากครับ ยานที่เราส่งไปมันแค่ร้อยกว่า AU เองครับ หากไปด้วยความเร็วเดียวกันกับยานที่เราส่งไป มันจะใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 150 ปีไปแล้วครับ
    ดังนั้นถ้าเราส่งไปได้ในตอนนี้ และมันไปยืนอยู่ตรงนั้นแล้ว ก็ไม่มั่นใจว่าเราจะมีปัญญารับคลื่นจากมันไหม มันคงจะแผ่วบางมากจนเรารับไม่ได้มั้ง หรือเราอาจจะต้องทำจานดาวเทียมขนาดใหญ่เพื่อรับมัน อาจจะต้องมีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็นกิโลเมตรก็ได้ครับ
    ที่สำคัญตรงนั้น น่าจะมีอุณหภูมิประมาณราวๆ 3 องศาเคลวินครับ หรือประมาณ - 270 องศาเซลเซียส ผมไม่คิดว่าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จะทำงานได้นะครับ แล้วก็ไม่น่าจะมีแสงอาทิตย์ให้เราใช้โซล่าเซลล์ใดๆด้วย ผมยังนึกไม่ออกว่าเราจะสร้างพลังงานไฟฟ้าตรงนั้นยังไง เดอะแบกพลังงานนิวเคลียร์ขึ้นไป ก็ไม่รู้มันจะหมดก่อนไปถึงไหม อย่างที่บอกมันใช้เวลาเดินทาง มากกว่า 150 ปี
    ดูเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจนะครับ แต่ต้องพัฒนาอีกเยอะเลยผมว่า ในช่วงแรกคงต้องใช้เวลาเยอะนะครับ เพราะเรายังไม่เคยส่งอะไรไปไกลขนาดนั้นเลยสักกะชิ้นเดียว

    • @brians3991
      @brians3991 2 часа назад

      คงตรงระดับที่เรามีเตานิวเครียร์ฟิวชั่นแล้วละ😅

  • @คมไผ่-ษ7ฬ
    @คมไผ่-ษ7ฬ 14 часов назад

    ติดตาม

  • @watnaja-h6d
    @watnaja-h6d 13 часов назад

    มีอีกเยอะ ที่ไปไม่ถึง สมองเรานะ

  • @BallRune
    @BallRune 12 часов назад

    โหดมากๆทำไมคิดวิธีนี้ไม่ออกนะเรื่องเลนส์ความโนมถ่วงรู้มานานแล้ว นี้ไงรู้แล้วรู้ไว้ทำอะไร

  • @Wednesday0570
    @Wednesday0570 13 часов назад +4

    เอาดาวพฤหัสก่อนได้ไหมครับ

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 13 часов назад

      ดาวพฤหัสแรงโน้มถ่วงน้อย

    • @tanoi4047
      @tanoi4047 12 часов назад +1

      ​@@Sandsun-h7sใช่ครับ มวลดวงอาทิตย์มากกว่าดาวพฤหัสบดี 1,000 เท่า จุดตัดคงอยู่ที่ 542*1000=542,000 AU 😅😅😅

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 12 часов назад

      @@tanoi4047 ข้อมูลเยี่ยม

    • @oneni-pn5yo
      @oneni-pn5yo 10 часов назад

      ดาวพฤหัสไม่มีแสง กล้องไม่สามารถรับภาพได้ กล่องรับภาพได้ก็ต่อมีแสง

    • @GTJ-o1w
      @GTJ-o1w 5 часов назад

      ดาวพฤหัสไม่มีแรงโน้มถ่วงเท่าดวงอาทิตย์

  • @treethepinsuk
    @treethepinsuk 9 часов назад

    ในตอนนี้ Voyager 1 ห่างจากโลก 164.7 AU เองครับ!!!!!

  • @Someoneinthisworld355
    @Someoneinthisworld355 10 часов назад

    My God!!

  • @bodycall01
    @bodycall01 3 часа назад

    ยึดตามทฤษฎีนีั ไม่จำเป็นต้องใช้ดวงอาทิตย์ก็ได้ เอาดาวฤกษ์ ขนาดใหญ่ ๆ ที่มาจุดโฟกัสใกล้ โลกก็ได้

  • @weerarawee3206
    @weerarawee3206 6 часов назад

    ไอเดียนี้ ผมซื้อนะ

  • @Thaiiban
    @Thaiiban Час назад

    เอาแค่ดวงจันทร์ก่อนก็พอ

  • @deva9335
    @deva9335 12 часов назад

    จุดรวมแสง สมัยเรียนร้อนนะนั่น ตอนเด็กชอบเอาไปเผากระดาษ

  • @petern.3153
    @petern.3153 11 часов назад

    512AU มันอยู่ตรงไหนของระบบสุริยะ เอาตรงนี้ก่อน

  • @แสงชัยเอื้อศิลป์

    542 AU ... ""ใช้ดาวพฤหัสก่อนดีกว่าไหม ?? "" ยังใกล้พอที่จะส่งยานอวกาศ

    • @AttackhokeChoosritanawat
      @AttackhokeChoosritanawat 4 часа назад

      ถ้าดาวพฤหัสมีมวลมากำอที่จะบิดกาลอวกาศก็ได้นะครับ เผลอๆอาจไกลกว่าดวงอาทิศเพราะบิกกาลอวกาศได้น้อยกว่า

  • @takonket
    @takonket 4 часа назад

    เนื้อหานี้อย่างกับหลุดออกมาจากนิยายthree body problem

  • @mrk2529
    @mrk2529 9 часов назад

    voyager ตอนนี้ห่างจากโลกประ มาน 115 au ครับ ใช่เวลา 40 ปี ห่าง 3.3 Au ต่อ ปี ถ้าคิดว่าจะไปถึง 500 au จะใช้เวลากี่ปี ฝากคำนวนทีครับ

    • @Kimmy870501
      @Kimmy870501 8 часов назад

      ถ้าเลขที่ให้มาถูกต้องก็ 151.515151 ปีครับ

    • @mrk2529
      @mrk2529 5 часов назад

      @@Kimmy870501 ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับ

  • @tbm5558
    @tbm5558 7 часов назад

    เราใช้ดาวพฤหัสบดี, ดาวอื่นๆ ที่จุดรวมแสงใกล้ๆโลกเราดีกว่ามั้ยครับ

    • @AttackhokeChoosritanawat
      @AttackhokeChoosritanawat 4 часа назад

      จุดรวมแสงมันน่าตะไกลกว่าดวงอาทิตย์นะเพราะมวลน้อยกว่ามาก บิดกาบอวกาศได้น้อยกว่าดวงอาทิตย์

  • @chaiyakornb.6566
    @chaiyakornb.6566 8 часов назад

    มองหา ดาวฤกษ์ดวงอื่น แล้วคำนวณระยะห่างที่เราต้องไป
    น่าจะง่ายกว่านะเนี่ย เราอาจไม่ต้องไปไกลขนาดนั้น😂😂😂

  • @The.Clinton
    @The.Clinton 4 часа назад

    👍

  • @sanyamathachan2355
    @sanyamathachan2355 9 часов назад

    apple น่าจะซื้อลิขสิทธิ์ เจมเว้บแล้วเอามาลงไอโฟน

  • @NOT6248
    @NOT6248 5 часов назад

    ทำไมไม่ใช้ดาวดวงอื่นไปก่อนหรอครับ
    เช่นดวงจันทร์

    • @XaysombounSenyord
      @XaysombounSenyord 3 часа назад

      มวลไม่มากพอครับ ต้องเป็นวัตถุที่มวลมหาศาลมากๆ ในระบบสุริยะของเราก็มีแค่ดวงอาทิตย์ครับที่ทำได้

  • @Sonideejay_Tum
    @Sonideejay_Tum 11 часов назад

    อัจฉริยะ

  • @morningdew2429
    @morningdew2429 11 часов назад

    เนปจูน 30 au

  • @funnymoment3882
    @funnymoment3882 2 часа назад

    เหมือนหนังสักเรื่อง

  • @PeerapatST
    @PeerapatST 10 часов назад

    ข้อมูลของพี่แหละ ที่บอกว่า ดวงอาทิตย์ ไม่มี อะไรที่ใหญ่กว่าพระอาทิตย์ ผมว่า ข้อมูลของ พี่หลาม ไม่ถูกต้องตัด ก็เพราะว่า มันมีดาวฤกษ์ ตีใหญ่กว่าเฟิร์สทิของเราอีก ดังนั้นผมไม่เห็นด้วยกับ พี่ปลาฉลาม บอกว่า ดวงอาทิตย์ใหญ่ที่สุด จริงๆแล้ว มันมีดาวฤกษ์ที่ใหญ่กว่า ดวงอาทิตย์🤣 I ด้วยความเคารพครับ พี่ หลาม
    ผมดูพี่หลาม เหมือนคนแก่เหล้าขาว? บางทีก็ ตลก😂😊😊😊😊😊😊😊

  • @9kongkawee
    @9kongkawee 5 часов назад

    ป้าดดดดดดดด ติโธ่ 😮😮😮

  • @Last20
    @Last20 13 часов назад

    Event Horizon Horoscope = กล้องถ่ายขุมนรก😅

  • @paeiei.3112
    @paeiei.3112 13 часов назад +1

    ดาวที่เป็นน้ำแข็งผมว่าน่าจะเป็นไปได้มากกว่า!
    ____________________

    • @Sandsun-h7s
      @Sandsun-h7s 13 часов назад +1

      มวลกระจึ๊งนึงจะเบนแสงได้แค่ไหน

  • @jJQZNNvVRbjbI1ghe1QpepoXGmSWtE
    @jJQZNNvVRbjbI1ghe1QpepoXGmSWtE 5 часов назад

    ดวงอาทิตย์ ถึง โลก 1 AU ถ้า 542 AU 😂 เมื่อไหร่ถึง และต้องใหญ่ ขนาดไหน

  • @TakaU.-kx8vl
    @TakaU.-kx8vl 14 часов назад

    😮😮😮

  • @WITFITMAN.
    @WITFITMAN. 3 часа назад

    รอดู กล้องมหากาล 😎🥤🍿💥💥💥

  • @athena1513
    @athena1513 12 часов назад

    ค่าพารามิเตอร์..บาน
    ไม่น่าทำได้
    เคยเห็นใน vdo เลน จุดรับภาพบนโลกไปถึงหลุมดำ..ถึงจะสังเกตุเห็น..เลนส์ความโน้มถ่วง
    รู้ป่ะ ย่านสัญญานความถี่อันหลากหลายไหนจะแสง ไหนจะแมกเนติก ไหนจะแสง ทุกสิ่งทุกอย่างเป็น wave แม้กระทั่งรังสี
    เราว่ามั่ว..อ่ะ

  • @doorzaa
    @doorzaa 14 часов назад

    ได้เหรออ

  • @tanoi4047
    @tanoi4047 13 часов назад

    1 ใน 10 ของส่วนโค้งวินาที ผมคิดว่ามาจากการแปลคำว่า second ผิดครับ คำนี้คิดว่าเป็นหน่วยของมุมครับ หน่วยแบบที่เรียกว่า องศา ลิปดา ฟิลิปดา (DMS : Degree Minute Second)

  • @amareepoma2192
    @amareepoma2192 12 часов назад

    ทำไมดวงอาทิตย์ สร้างพลังงานเอง ทำไมโลกไม่มีพลังงานเอง

  • @beeKk-k4i
    @beeKk-k4i 7 часов назад

    กาแลกซี่อแอนโดรมิดาอยู่ห่างจากโลกถึง2.5ล้านปีแสงครับ

  • @ปราบวาณิชเศรษฐการ

    ใช้แนวคิดเลนส์ความโน้มถ่วง จริง ๆ เหมือนว่ากาแลกซีก็ทำได้นะ ขึ้นกับการวางมุมของอุปกรณ์รับแสงแหละ \ คิดเป็นภาพ ดวงอาทิตย์จะทำหน้าที่คล้ายกระจกรวมแสง ส่วนดาวเทียมก็ทำหน้าที่เป็นจอรับภาพ-ขยายภาพอีกที เหมือนกล้องดูดาวแบบกระจกรวมแสงนั่นแหละ

  • @chairat724
    @chairat724 12 часов назад

    พักนี้คลิป จิตนาการณ์เยอะนะครับ

  • @nirvananirvana5385
    @nirvananirvana5385 7 часов назад

    ทำไม่ได้ ตายแล้วเกิดใหม่ก็ทำไม่ได้

  • @GalileoOxford
    @GalileoOxford 10 часов назад

    ผมทรงอะไรของเอง ไม่ได้เข้ากับวัยเลย

  • @firstclass7896
    @firstclass7896 14 часов назад

    สงสัยสมองไหล นักวิทยยาศาสตร์

  • @Iutt-yf9jl
    @Iutt-yf9jl 6 часов назад

    😂ในอนาคตถ้าเราใช้ยานอวกาศไปรับแสงได้จริงกล้องเจมส์เวปก็ไม่ต้องใช้อะดิเพราะเราสามารถถ่ายภาพในระยะที่แสงของดวงอาทิตย์สาดส่องไปได้เหมือนกันในเมื่อเรารับแสงได้ก็น่าจะเดินทางไปพร้อมแสงได้เหมือนกัน❤😂❤

  • @wamornzzZ
    @wamornzzZ 11 часов назад

    ไม่แน่ใจว่าชาตินี้ผมจะทันได้เห็นดาวที่อยู่ไกล100ล้านปีแสงก่อนหรือผมจะไปทางช้างเผือกก่อน

  • @isohappy7898
    @isohappy7898 6 часов назад

    เอาไปต่อในอวกาศคับโดยใช้ชิ้นส่วนที่มีอยู่เป้นส่วนประกอบด้วย

  • @fishing-thailand
    @fishing-thailand 7 часов назад

    เอาไปประกอบเหมือนสถานีอวกาศได้ไหมล่ะครับ

  • @AFKMaiNgarm
    @AFKMaiNgarm 13 часов назад

    ส่วนโค้งมี่เกิดจากปลายเข็มวินาทีเดินได้1วิ

  • @auto9292
    @auto9292 12 часов назад

    จุดนั้นมันจะร้อนมากเพราะเป็นจุดรวมแสง

  • @Kiat.k
    @Kiat.k 13 часов назад

    หลักการณ์นี้ใช้กับดวงอาทิตย์เทียมได้มั้ยจารย์

  • @tomailboxth303
    @tomailboxth303 11 часов назад

    ดวงอาทิตย์ใหญ่เป็นกี่เท่าของโลกแล้วจะเอามวลสารจากไหนไปสร้าง