E คือ พลังงาน(Energy),m คือ มวล(Mass),c คือ ความเร็วของแสงในสุญญากาศ ในบทความ Does the inertia of a body depend upon its energy content?(ความเฉื่อยแห่งวัตถุขึ้นกับปริมาณพลังงานของวัตถุนั้นหรือไม่?)ไอน์สไตน์ใช้ V เป็นตัวแทนความเร็วของแสงในสุญญากาศ และ L เป็นพลังงานที่สูญเสียไปจากวัตถุนั้นในรูปแบบของการแผ่รังสี ดังนั้นในบทความดังกล่าวจึงไม่มีE=mc(2) แต่มีประโยคในภาษาเยอรมันที่แปลว่า"ถ้าวัตถุปลดปล่อยพลังงานLในรูปการแผ่รังสี mของมันจะหายไป L/V(2)และมีข้อความประกอบว่านี่เป็นแค่การประมาณค่าโดยตัดเทอมอันดับ4และอันดับที่สูงกว่าออกไปจากอนุกรมในปีC.1907 สมการนี้ถูกเขียนในรูปM(0)=E(0)/c(2) โดย มัคส์ พลังค์ และต่อมาก็ได้มีการตีความหมายในเชิงQuantum โดยโยฮันเนิส ชตารค์ ซึ่งเขียนสมการในรูป e(0)=m(0)c(2) ในปีC.1924 หลุยส์ เดอ เบรย เขียนถึงสมการนี้ด้วยข้อความ énergie=masse c(2) ใน Research on the Theory of the Quanta แทนที่จะเขียนเป็นสมการE=mc(2) หลังสงครามโลกครั้งที่2ไอน์สไตน์กลับมาเขียนงานด้านนี้อีกครั้งและเขียนE=mc(2)ในชื่อบทความเพื่ออธิบายให้คนทั่วไปเข้า นี้คือข้อมูลจากหนังสือบทความของไอน์สไตน์(A.Einstein April issue,pp.16-17,1964)นะจ๊ะ
คลิปออกมาสุดยอดมากวิว 👍 ไอน์สไตน์น่าจะดีใจถ้าได้รู้ว่ามีคนเข้าถึงงานของเค้ามากขึ้น และจะยิ่งดีใจถ้ามีน้องๆ มาดูแล้วอยากศึกษาฟิสิกส์เพิ่ม 🚀 keep up the good work! เป็นกำลังใจให้วิวและทีมครับ ✌😊
สรุปได้เห็นภาพชัดเจน มีประโยชน์มาก ขอขอบคุณและเป็นกำลังใจค่ะ
เสี่ย
E คือ พลังงาน(Energy),m คือ มวล(Mass),c คือ ความเร็วของแสงในสุญญากาศ ในบทความ Does the inertia of a body depend upon its energy content?(ความเฉื่อยแห่งวัตถุขึ้นกับปริมาณพลังงานของวัตถุนั้นหรือไม่?)ไอน์สไตน์ใช้ V เป็นตัวแทนความเร็วของแสงในสุญญากาศ และ L เป็นพลังงานที่สูญเสียไปจากวัตถุนั้นในรูปแบบของการแผ่รังสี ดังนั้นในบทความดังกล่าวจึงไม่มีE=mc(2) แต่มีประโยคในภาษาเยอรมันที่แปลว่า"ถ้าวัตถุปลดปล่อยพลังงานLในรูปการแผ่รังสี mของมันจะหายไป L/V(2)และมีข้อความประกอบว่านี่เป็นแค่การประมาณค่าโดยตัดเทอมอันดับ4และอันดับที่สูงกว่าออกไปจากอนุกรมในปีC.1907 สมการนี้ถูกเขียนในรูปM(0)=E(0)/c(2) โดย มัคส์ พลังค์ และต่อมาก็ได้มีการตีความหมายในเชิงQuantum โดยโยฮันเนิส ชตารค์ ซึ่งเขียนสมการในรูป e(0)=m(0)c(2) ในปีC.1924 หลุยส์ เดอ เบรย เขียนถึงสมการนี้ด้วยข้อความ énergie=masse c(2) ใน Research on the Theory of the Quanta แทนที่จะเขียนเป็นสมการE=mc(2) หลังสงครามโลกครั้งที่2ไอน์สไตน์กลับมาเขียนงานด้านนี้อีกครั้งและเขียนE=mc(2)ในชื่อบทความเพื่ออธิบายให้คนทั่วไปเข้า นี้คือข้อมูลจากหนังสือบทความของไอน์สไตน์(A.Einstein April issue,pp.16-17,1964)นะจ๊ะ
ถูกต้องที่สุดครับ แรกเริ่มเดิมทีไอน์สไตน์ต้องการบอกว่ามวลและพลังงานเกี่ยวข้องกันนะ พลังงานก็มีมวลเหมือนกัน
ผมดูสารคดีวิทยาศาสตร์. E=สะสาร m คือพลังงาน. Cคือสรุปท้ายๆคลิป สารคดีไอสไตร์ cคือ คูณตัวมันเอง
รู้สึกเหมือนอ่านภาษาเอเลี่ยนเลยค่ะ🥲
แล้วไม่สงสัยกันบ้างหรา คนๆหนึ่งคิดสมการขึ้นมา คนๆนั้นก็ต้องพิสุจน์สมการนั้นได้ว่าจริง แล้วสมัยไอไตเขามีเครื่องมือทันสมัยพอที่จะพิสูจน์สมการของตัวเองหรา
หลายคนเข้าใจผิดว่า ไอสไตน์ เขียน E=mc^2 ขึ้นมาเลย แล้วบอกว่า มวลกับพลังงานคือสิ่งเดียวกันตั้งแต่แรก แต่จริงแล้วไม่ใช่นะครับ E=mc^2 เป็นสิ่งที่ตามมาจากการที่ไอสไตน์พยายามเขียนสมการพลังงานจลน์ในเวอร์ชั่นของสัมพัทธภาพพิเศษที่อนุภาคมีความเร็วใกล้แสงมากๆ เขียนได้เป็น E=mc^2/\sqrt(1-v^2/c^2) แน่นอนว่าที่ความเร็วต่ำๆ พลังงานจลน์จะลดรูปเป็นเวอร์ชั่นคือเราคุ้นเคยตอนเรียน ม.ปลาย คือ E=1/2 mv^2 แต่สมการของไอสไตน์เมื่อเวลาลดรูปโดยการตัดเทอมอันดับ4และอันดับสูงกว่าออกไป จะได้ว่า E=1/2mv^2+mc^2 จะพบว่ามันมีติ่ง mc^2 โผล่มา ไอสไตน์บอกว่าเทอมนี้คือ พลังงานมวลนิ่งของอนุภาค พูดง่ายๆคือ เป็นพลังงานจากการที่อนุภาคมีมวล E=mc^2 ไอน์สไตน์จึงสรุปว่า มวลและพลังงานคือสิ่งเดียวกัน ดังนั้น พลังงานจลน์สัมพัทธภาพของไอสไตน์จะต้องลบออกด้วยพลังงานมวลนิ่ง เป็น E=mc^2/\sqrt(1-v^2/c^2) - mc^2 เพื่อที่จะทำให้ตอนพิจารณาความเร็วต่ำๆ สมการจะสอดคล้องกับ E=1/2mv^2 นั่นเอง แต่เรามั่นใจว่า E=mc^2 ถูก เหตุผลเพราะ E=mc^2 เป็นผลสืบเนื่องมาจาก สัมพัทธภาพพิเศษ แน่นอนว่าถ้าตัวทฤษฎีถูก E=mc^2 ก็จะต้องถูกด้วย
สาวอักษรอธิบายฟิสิกส์ได้เก่งมากเลยครับ น่าจะทำการบ้านมาหนักมาก สุดยอดเลย พวกนักสื่อสารวิทยาศาสตร์มีอาย โคตรเก่ง
เรียนสายวิทยาศาสตร์ม.ปลาย เกรด 4
การชื่นชมเป็นสิ่งที่ดี แต่ถ้าจะดีกว่านี้ถ้าไม่ไปแซะบุคคลอื่น
@@Dew_Gamerจริง เกือบดีแล้วถ้าไม่มีประโยคสุดท้าย😅
ชื่นชมบุคคลอื่นเป็นเรื่องที่ดี แต่การแซะ การอ้างอิงถึงคนอื่นเพื่อเปรียบเทียบในทางลบ แบบนี้ไม่ดี
น้องโรงเรียนผมเอง โคตรภูมิใจเลยครับ
เป็นคลิปที่ทรงคุณค่ามากๆเลยครับ ให้ความรู้ในวงการวิทยาศาสตร์ที่เป็นประโยชน์และลึกซึ้งมากๆครับ ขอบคุณสำหรับ content ดีๆและมีประโยชน์แบบนี้นะครับ เป็นกำลังใจให้ทำ Content ดีๆแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆนะครับคุณวิว
เปิดคลิปมาฟังได้10นาที ดูเวลาคลิปแล้วคิดว่าดูไม่จบหรอก สรุปดูจนจบ เพลินจัด สุดยอดครับ
ละสายตาจากหนวดไม่ได้เลยค่ะ คุณวิว.......รักในความพยายามชุดทุกคลิป และ เนื้อหาทุกคลิปโดยเฉพาะคลิปนี้ สรุปดีมากกกกก❤❤❤❤❤
อธิบายเก่งจริงค่ะ อยากฟังเรื่องวิทยาศาสตร์ ยากๆ อีกเลยย
หลุมดำก็ได้ค่ะ🎉🎉🎉🎉🎉
+1 ค่ะ เป็นสิ่งที่อยากรู้แต่งง 55555
@@sasipimonlertlakkhunakorn4985แนะนำพอดแคสต์ "ใดๆ ในโลกล้วนฟิสิกส์" เลยครับ ฟังง่าย อธิบายโดยคุณป๋องแป๋ง สุดยอดแฟนพันธุ์แท้นักวิทยาศาสตร์ระดับโลก ค่อยๆฟัง ค่อยๆไปครับ😅
ชั้นผู้ซึ่งเข้าใจมาตลอดว่าไอสไตน์เป็นนักวิทยาศาสตร์ทดลองนู้นนี่ แต่พึ่งมารู้ว่าเค้าเป็นนักฟิสิกซ์และแค่นั่งคิดในหัวเท่านั้น ว้าวววววมากกจ้า และคุณวิวเก่งมากที่อธิบายถ่ายทอดให้ชั้นพอจะเก๊ทเรื่องราวได้ ขอบคุณค่ะ❤
เหมือนกันเลย😂 คิดมาตลอดว่านักวิทยาศาสตร์ต้องทดลองเท่านั้นเพื่อพิสูทธิ์
@@kurokoro007
เขาคิดทฤษฎี แล้วคนอื่นมาพิสูจน์ทฤษฏีว่าเป็นจริง
นักวิทยาศาสตร์อะถูกแล้วครับ แต่ที่เค้าคิดในหัวซะส่วนใหญ่เพราะในตอนนั่นมันไม่มีเทคโนโลยีที่ล้ำพอจะทดลอง อันไหนทดลองได้เค้าก็ทดลองด้วยตัวเองครับ 😂
ค้นพบ หลุมดำ อ่ะ โครตเทพเจ้าเลยอ่ะ
- รู้ว่า หลุมดำ มีอยู่จริง เพราะ สมการ ก่อน ค้นพบ หลุมดำ อีก
เป็นอีก 1 คลิปที่ดีมากๆของช่องนี้ ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆแบบนี้ สุดยอดมากๆ ติดตามตลอดไปค่ะ
ชื่นชมเช่นเดิมค่ะ เข้าใจยากมากนะ แต่คุณวิวก้ทำให้เข้าใจได้ง่ายเหมือนเดิม รักกก
เชดเข้ อักษรศาสตร์อธิบายวิทยาศาสตร์ เก่งมากครับคุณวิว standing ovation ให้เลย 👏 เด็กภาษาศาสตร์อย่างผม ต้องbackwardกลับไปฟังหลายจุดเหมือนกัน ยังงงตัวเองอยู่ว่าเรียนจบวิทย์-คณิตสมัยมัธยมมาได้ยังไง
อุ๊ย ทำไมคุณเหมือนเราขนาดนี้
เก่งจิงครับ เพราะแม้กระทั่งคนจบแพทย์หลายคนก้อเหมือนไม่ค่อยเข้าใจได้ดีเท่าไหร่เหมือนกัน แต่นี่อธิบายเข้าใจได้ง่าย
ชอบคำนึงมากที่ว่า ยิ่งเราเข้าใจอะไรเกี่ยวกับจักรวาลนี้มากขึ้น ทำให้เรายิ่งรู้ว่าเราไม่เข้าใจอะไรเลย
ห่างจากฟิสิกส์มานานมาก ในฐานะคนเรียนสายชีวะ แต่ก็สนุกดีครับ
เปิดโหวตอะไรว้าวกว่า
1. เนื้อหา นี่มันทฤษฎีระดับโลก
2. ชุด....
ชุด~~~😗✨💯💯💯
ชุด👔👞
ชุดครับ
ชุดดดดด ❤❤❤
ชุดดดดด 55555
ตัวตึงนักวิทยาศาสตร์ 😅 แค่จินตนาการเปลี่ยนโลกได้
จมย😅 34:57 จยมตลตม จ😅 สสจ สจ ยมยส
@@chimxnqz3403งง
มันไม่สิ้นสุด ไง จินตนาการ 😅
จินตนาการตึ่งจัดวะอัลเบิร์ตไอน์สไตน์
ใช่ๆครับเช่นการหักเหของแรงโน้มถ่วงที่จะกลายเป็นพลังงานบริสุทธิ์100เปอเซนน่ะครับ😊😊
คลิปออกมาสุดยอดมากวิว 👍 ไอน์สไตน์น่าจะดีใจถ้าได้รู้ว่ามีคนเข้าถึงงานของเค้ามากขึ้น และจะยิ่งดีใจถ้ามีน้องๆ มาดูแล้วอยากศึกษาฟิสิกส์เพิ่ม 🚀
keep up the good work! เป็นกำลังใจให้วิวและทีมครับ ✌😊
พี่เกรซมาไงครับ 5555
@@detective1723เปิดยูทูปครับ
@@detective1723.
@@detective1723แปลว่ายังดูไม่ถึงท้ายคลิป555
🥰🥰🥰🥰
ขอบคุณที่ทำคลิปมีประโยชน์แบบนี้ออกมาเรื่อยๆค่ะ เมื่อก่อนชอบอ่านหนังสือจิ๋วของซีเอ็ดที่มีหลายหมวดให้เลือก คลิปคุณรู้สึกตอบโจทย์ชีวิตมาก ฟังเพลินก่อนนอนทุกคืนทำต่อไปเรื่อยๆนะคะ ❤
ฟังหลายช่องอธิบายทฤษฎีของไอน์สไตน์ ก็ต้องยอมรับว่าเข้าใจยากแม้จะอธิบายให่เข้าใจง่ายแล้วก็ตาม 555 แต่ทุกๆ ครั้งก็จะเข้าใจมากขึ้นนะคะ คลิปยี้ของคุณวิวก็ทำให้เราเข้าใจและเห็นภาพของทฤษฎีพวกนี้ขึ้นมาอีกนิดนึง ขอบคุณสำหรับความทุ่มเททำคลิปดีๆ นะคะ
ป.ล. ชอบรูปประกอบมากๆ ไอน์สไตน์น่ารักกก
ใครเข้าใจไอสไตล์ในระดับแนวความคิด จะรู้ว่าวิทยาศาสตร์นั้นเกือบๆ จะเป็นอภิปรัชญา แต่เป็นที่น่าตกใจที่คนรุ่นใหม่สมัยนี้ไม่ถูกฝึกให้คิดแบบอภิปรัชญารวมเข้ากับวิทยาศาสตร์ แต่ฝึกให้คิดแบบทุนนิยมและวิทยาศาสตร์อย่างน่าเศร้า
มันคือความเป็นจริงคับ
จริงค่ะ ฟังคลิปนี้แล้วรู้สึกว่าที่ตัวเองเรียนมามันแทบไม่เข้าหัวเลยแต่ดูคลิปนี้จบอยากเรียนด้านนี้เลยค่ะ มันดูน่าสนุกอะ แล้วไอสไตล์คือแบบตัวอย่างของจินตนาการสำคัญกว่ารู้จริง ๆ เขาแค่สงสัยและคิดว่ามันจะเป็นแบบนี้รึเปล่า ทำไมถึงเป็นแบบนั้น ความคิดสร้างสรรค์บวกกับความรู้ กลายเป็นสิ่งใหม่ แต่ปัจจุบันคือเรียนตามความรู้เก่าแต่ไม่สามารถเข้าถึงแกนแท้จริง ๆ เรียนเพื่อให้รู้และท่องจำเพื่อไปสอบแค่นั้น น่าเศร้า จริง ๆ วิทยาศาสตร์สนุกมากนะ
ไม่เห็นเศร้าเลย ที่โลกพัฒนาถึงจุดนี้ก็เพราะทุนนิยมและ apply physic มันก็ต้องไปควบคู่กัน
รู้เลยว่าพี่วิวชอบฟิสิกส์มากแค่ไหน ชอบเข้ากระดูกดำเลย🥰🥰
อธิบายเข้าใจง่ยามากครับ เพิ่งเข้ามาชมติดตามเลยครับ
สมัยนี้เชื่อว่า มีคนมีสมองแบบไอน์นสไตน์อยู่ แต่คงยุ่งจนไม่มีเวลามาคิดสิ่งใหม่ๆ
ชีวิตปัจจุบันมันยุ่ง และแทบไม่มีเวลา ไม่เหมือนสมัยก่อนจริงๆนะ 😢 จนคิดว่าทำไมเราต้องยุ่งอะไรขนาดนั้นอ่ะ ทุกวันนี้
ยุ่งเหมือนกัน แต่ยุ่งคนละเรื่องกัน ถ้าไอน์สไตน์ เกิดเป็นลูกชาวนาเมืองไทยสมัยโบราณ ไอน์สไตน์ จะคิดได้แค่วิธีการหากินแบบง่ายขึ้นไม่มีทางได้คิดวิชาการ
เห็นด้วยครับ รู้สึกว่าโลกเราวันจะวุ่นวายและยุ่งขนาดนี้ไปเพื่ออะไร
ลองปลดพันธนาการจากตัวเองกับอะไรสักอย่างดูคับ
55555 เห็นภาพ ลองตกงานครับ คุณอาจ เป็น นักวิทย์ ระดับโลกก็ได้ครับ
ไม่น่าเกี่ยว ไอสไตน์ก็น่าจะยุ่งเหมือนกันแหละวันๆ แต่โชคดีที่ตอนนั้นได้งานเป็นเสมียน ทำให้มีเวลาเยอะ เพราะงานแค่เช็คนู้นเช็คนี้
ตอนแรกว่าจะแซวเรื่องหนวด แต่ดูจนจบบอกเลยความรู้แน่นมากครับ แถมยังเข้าใจอีกว่า การที่คนเรามีเวลาคิดอะไรต่างๆ ถึงแม้ว่าจะเป็นแค่จิตนาการในหัว ก็ทำให้คนอีกกลุ่มนึงเอาไปพิสูจน์จนเรื่องที่จินตนาการกลายเป็นเรื่องจริงได้ นี่แหล่ะคือสุดยอดครับ
จินตนาการ
ในช่วงสัมพัทธภาพทั่วไป ผมว่าหลายคนจะมองว่า ทฤษฎีนิวตันผิด แต่จริงๆแล้วไม่ผิดนะครับแค่ไม่ทั่วถึง ในบริเวณความโน้มถ่วงสูงๆใกล้ดวงอาทิตย์ ทฤษฎีไอสไตน์แม่นยำกว่านิวตัน แต่ถ้าพิจารณาที่ความโน้มถ่วงน้อยๆและระยะห่างระหว่างมวลสองก้อนไม่ไกลกันมาก เช่นใกล้ๆผิวโลก ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปกับทฤษฎีนิวตัน มันคือทฤษฎีเดียวกันครับ อยากให้มองว่าไอสไตน์ไม่ได้ลบล้างทฤษฎีนิวตัน แต่ไอสไตน์ขยายทฤษฎีนิวตันให้ใช้ได้ทั่วไปมากขึ้น
คือทั้งกฎนิวตันและกฎความโน้มถ่วงนิวตันผิดนะครับ ถึงจะเป็นการประมาณที่ดีในกรณีความเร็วต่ำๆ มวลไม่มากก้อตาม ผิดทั้งในทาง concept ว่าแรงโน้มถ่วงเป็น action at a distance ฉับพลันทันใดไม่ใช้เวลา ที่ถูกพิสูจน์ว่าผิดจากการค้นพบคลื่นความโน้มถ่วง หากแรงโน้มถ่วงไม่ใช้เวบาในการส่งแรงจริงๆแล้วจะไม่มีวันมีคลื่นความโน้มถ่วง กฎนิวตันคือแบบนั้น ผิดแบบเต็มประตู ส่วนสมมติฐานเวลาอันเป็นสากลก็ผิดอีก เพราะเวลาขึ้นกับสภาพการเคลื่อนที่และสนามความโน้มถ่วง
@@redfanartist4393 ถ้ากฎของนิวตันผิด ทำไมตอนทำ Weak field limit สมการของไอสไตน์ ถึงลดรูปเป็นสมการความโน้มถ่วงของนิวตันครับ ทำไมไอสไตน์ถึงยังอ้างอิงนิวตันอยู่ ถ้าไม่ใช่เพราะ สัมพัทธภาพทั่วไป เป็นทฤษฎีที่ขยายทฤษฎีนิวตันให้ใช้ได้ทั่วไปมากขึ้น แน่นอนว่าว่า สมการของนิวตันมัน action on a distance ในระดับ global และความเร็วของอนุภาคมีค่าใกล้ความเร็วแสง ทำให้ concept ของนิวตันผิดที่ระดับนั้น เพราะความเร็วแสงมันมีค่าจำกัดที่ c=3*10^8 m/s แต่ที่ระดับ local ที่ limit ความเร็วของอนุภาคน้อยกว่าความเร็วแสงมากๆ แน่นอนว่า เทอม \gamma=1/\sqrt(1-v^2/c^2) ในสัมพัทธภาพต้องประมาณ 1 เทอม v^2/c^2 จะมีค่าน้อยมากๆๆๆๆๆๆ หมายความว่า limit นี้ เราสามารถมองความเร็วแสงเทียบกับความเร็วของอนุภาคว่ามันมีค่าต่างกันมหาศาลจน action on a distance มันมีค่าความคลาดเคลื่อนน้อยมาก ที่ limit นี้แหละครับ ที่กฎของนิวตันยังถูกต้องอยู่ พูดง่ายๆว่า นิวตันเป็นกรณีเฉพาะของสัมพัทธภาพครับ ถ้านิวตันผิด สัมพัทธภาพก็ควรต้องผิดด้วยจริงไหมครับ
เอาง่ายๆ@@NewbiePhysicist ถ้าไม่ผิดดาวพุธก้อไม่ควงตัว แสงจะโค้งแค่ครึ่งเดียวของที่สัมพัทธภาพทั่วไปทำนายและเอกภพจะไม่ขยายตัว
การควงของดาวพุธ นิวตันทำนายมาก่อนสัมพัทธภาพอีกนะครับ เพียงแค่ คาบการโคจร สัมพัทธภาพ ใกล้เคียงกับค่าทดลองแค่นั้นเอง
ส่วนเรื่องแสงโค้งครึ่งหนึ่งอันนี้ไม่เคยคำนวนครับ ไม่ทราบจริงๆ
ส่วนเรื่องเอกภพขยายตัว สมการ Friedmann ที่อธิบายการขยายตัว สามารถคำนวนได้จาก ทฤษฎีของนัวตันนะครับ ลองไปดูพวก newtonian cosmology นะครับ มีเขียนคำอธิบายอยู่
ชื่นชมนะคะ เป็นกำลังใจในการทำคลิปน้าาาา❤❤
ผมเรียนเอกฟิสิกส์มา เวลาเดินไม่เท่ากัน และ แสงเดินทางเป็นเส้นโค้งไม่ใช่เส้นตรง และแรงที่ดึงดึงดูดระหว่างดาวต่างๆและดวงอาทิตย์ มันไม่ใช่แรงดึงดูดตามกฏนิวตัน นี่คือความรู้ที่เปลี่ยนกฏนิวตันเลยครับ
มีนิวตัว ด้วยหรอครับ มันเป็นยังไงครับ นิวตัว
เขาอธิบายปรากฎการณ์ที่เราเรียกว่าแรงโน้มถ่วงในรูปแบบของการโค้งของกาลและวกาศ เนื่องจากมวลทำให้กาลและอวกาศรอบๆ ตัวมันบิดโค้ง ซึ่งตามกฎของนิวตันอธิบายปรากฎการเคลื่อนที่ของดวงดาวด้วยทฤษฎีที่ว่ามวลดึงดูดกันด้วยแรงโน้มถ่วง
@@wyri4NT14อุ้ยยย
@@wyri4NT14จริง พวกนี้ไม่ต่างกับไวรัสอินเทอร์เน็ต ดูคลิปแนวไหนก็เจอแต่พวกแบบนี้หาสาระไม่ได้😂
@@wyri4NT14 จริงครับทั้งที่เนื้อหาที่เขาสื่อมีประโยชน์มากกว่าคำผิด
สุดยอดอัจฉริยะ ผมไม่เข้าใจจริงๆ ไม่ทดลอง แต่คิดได้ถูกต้อง นี่คือไอสไตล์ ยอดคนครับ
ว้าวววววเลย ทำได้ดีเลย เล่าได้เข้าใจดีมาก เป็นกำลังใจต่อไปนะคะ
พี่วิวเก่งมากๆเบยค่ะ มีความสามารถรอบด้านจริงๆ ไอดอลสุดๆเลยค่ะ😭🤍
เป็นคลิปที่ดีมากๆเลย เห็นถึงความตั้งและความพยายามสูงมากๆ ขอบคุณที่ทำคลิปดีๆแบบนี้ออกมานะคะ มีประโยชน์มากๆ
เป็นคลิปที่คุณภาพมากครับ ย่อยง่ายมากๆ
ถ้าเมื่อก่อนหนูได้มีสื่อที่ดีเข้าถึงง่ายหรือได้ฟังพี่เล่าให้ฟังสนุกแบบนี้หนูคงสนใจและตตั้งใจวิทยาศาสตร์มากกว่านี้ค่ะ 😂😂 เสียดายมาก รู้สึกวิทยาศาสตร์น่าสนใจมากขึ้น คิดถึงสมัยมัธยมจังเลย❤❤❤
หนูกำลังหาประวัติไปทำแผ่นพับอ่านแล้วไม่เข้าใจเลย ขอบคุณพี่วิวมากค่ะที่มาเล่าให้ฟัง
ทำคลิปได้ดีมากจริงๆ ค่ะ ตามฟังแทบทุกคลิป ทำเรื่องที่ไม่เคยสนใจให้น่าสนใจมากขึ้นเยอะเลย ❤❤❤❤❤❤❤❤
เคยเรียนมาเกี่ยวกับเรื่องพวกนี้ แต่ไม่เคยเข้าใจเลย จนมาเจอคลิปนี้ ทั้งเนื้อเรื่อง เสียงในการเล่า บวกกับคิดภาพตาม เข้าใจง่ายกว่าตอนเรียนอีก ทำคลิปออกมาได้ดีมากครับ❤❤
ชอบช่องนี้ รู้มาก รุ้ทุกเรื่อง เรื่องคนอื่นรู้หมด ติดตามคับ
จินตนาการสำคัญกว่าความรู้" เป็นวลีอันอมตะที่อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
มันไม่ได้หมายความตรงตัวแบบนั้น ต้องยกบริบทในสัมภาษณ์นั้นมาด้วยไม่งั้นคนจะเข้าใจผิดว่าความรู้ไม่สำคัญ
เป็นคลิปที่ดีมากเลย มีสาระความรู้มากมาย
ความคิด+ตัวเลข+วิทยาศาสตร์=เปลี่ยนโลก
เวลาผมเมาแล้วนั่งดูช่องพี่วิว ยิ่งเป็นคลิปนี้คือ ปลดล็อคการทำงานของสมองแบบ 300% เลย คือนั่งฟัง คิดตาม(ต่อให้จะคิดไม่เป็น) และจดจ่อมากๆ
หวัดดีครับอยากให้พี่เล่าเรื่อง galileo galilei ครับ เกี่ยวกับกลองดูดาวครับ
คำอธิบาย เหตุผลทำให้เข้าใจได้ง่ายครับ ทั้งๆที่มันยาก
สมัยเราเรียน อยากได้อาจารย์แบบนุ้งวิวจัง😊😊ชอบๆๆ อธิบายเข้าใจง่ายมากกก เราชอบคณิตศาสตร์ฟิสิกส์มากกกก ชอบคำนวณ❤
คลิปนี้ให้ MVP เลยจ้า
เสริมความคิดผมนะครับ จังหวะที่เกิดความบุ๋มหรือบิดโค้งในกาลอวกาศ (spacetime) ทำให้กาลอวกาศเกิดการกระเพื่อม และปล่อยคลื่นความโน้มถ่วงออกไปรอบทิศทาง ซึ่งมีผลกับวัตถุใดๆ ในกาลอวกาศทำให้เกิดการโคจรรอบวัตถุที่มีมวลใหญ่กว่าครับ จากเด็กบัญชี จุฬาฯ คนนึงครับ #จินตนาการสำคัญกว่าความไม่รู้
การบิดโค้งของกาลอวกาศอันทำให้เกิดสนามแรงโน้มถ่วง ส่วนคลื่นความโน้มถ่วง คนละอันกันครับ สาเหตุการเกิดก็ไม่เหมือนกัน
งั้นคุณคงเข้าใจผิด กระเพื่อมกับความโค้งเพราะแนวโน้มถ่วง คนละอย่างกัน
@@Icterman การกระเพื่อมของวัตถุที่มีมวลขนาดใ่หญ่มากๆ จะทำให้เกิดคลื่นความโน้มถ่วง คลื่นความโน้มถ่วงมีความเร็วเท่ากับความเร็วแสงซึ่งเป็นความเร็วสัมบูรณ์
@@PK-qk3sh ถูกต้องครับ ซึ่งไม่ใช่สนามแรงโน้มถ่วง (ไม่ใช่แรงโน้มถ่วง)
@@Icterman ถ้าเช่นนั้นคลื่นความโน้มถ่วงเกิดจากอะไรครับ ใช่วัตถุที่มีมวลมหาศาลโคจรรอบกันและกัน (หรือรวมตัวกัน) แล้วปล่อยพลังงานเป็นคลื่นความโน้มถ่วงมั้ยครับ
เราชอบช่องนี้มากเลยนะ จะเปิดตอนนอนทุกคืน มันมีอย่างนึง เราไม่รุ้คนอื่นทำมั้ย 555 เราจะลดความเร็วลง เป็น 0.75 😅 ขอบคุณมากที่ทำช่องออกมา แบ่งปันความรู้กัน 🫰🏻
เชื่อว่ามีหลายคนที่จำ คำว่า สัมพันธภาพ แทนที่จะเป็น สัมพัทธภาพ ซึ่งเป็นเพราะ ไม่เข้าใจความหมายของคำแปลกๆในภาษาไทย ผมเองก็งงอยู่หลายปี พอไปดูภาษาอังกฤษถึงรู้ว่า เข้าใจผิดมาตลอด
ทำคลิปได้ดีครับฟังดูเข้าใจง่าย
ขอเสริมนิดนึง ช่วงนั้นคนมีแนวคิดว่า คลื่นก็คือคลื่น อนุภาคก็คืออนุภาค แล้วคลื่นและอนุภาคก็มีคุณสมบัติต่างกันชัดเจน แล้วแสงเนี่ยมีคุณสมบัติตรงกับคลื่นทุกอย่างทำให้คนสมัยนั้นเข้าใจว่าแสงคือคลื่นไม่ใช่อนุภาค หนึ่งในสมบัติของคลื่นที่สำคุัญคือ คลื่นจะสามารถแพร่ไปยังที่ต่าง ๆ ได้ต้องมีตัวกลาง เช่น คลื่นน้ำมันต้องมีน้ำ คลื่นเสียงมันต้องมีอากาศ เป็นต้น เช่นเดียวกับแสงจากดวงอาทิตย์ที่ส่องแสงมายังโลก คนก็คิดว่าแสงคือคลื่นแน่นอน แสดงว่าในอวกาศต้องมีตัวกลางไม่งั้นแสงแพร่มาที่โลกไม่ได้แน่ คนสมัยนั้นเรียกตัวกลางนี้ว่า อีเทอร์ (Ether) ซึ่งโด่งดังในยุคมาก คนพยายามหาไอ้ตัวกลางนี้กันมาตลอด หนึ่งในนักวิจัยที่สำคัญซึ่งเป็นคนจุดประกายความคิดให้ไอน์สไตน์ก็คือ การทดลองของไมเคิลสัน-มอร์เลย์ (Michelson-Morley experiment) โดยเป็นการทดลองวัดความเร็วแสง 2 แบบ 1. ตอนความเร็วสัมผัสตัวเราวิ่งเข้าหาดวงอาทิตย์ กับ 2. ตอนความเร็วสัมผัสของตัวเราตอนวิ่งหนีออกจากดวงอาทิตย์ ซึ่งตามแนวคิดเดิม ถ้าเชื่อว่าอีเทอร์มีจริง แสดงว่าแสงด้วยมีความเร็วตอนเข้าหาและความเร็วตอนหนีออกจากดวงอาทิตย์ต้องไม่เท่ากัน ปรากฎว่าใช้เวลากว่า 20 ปีก็ไม่พบว่าความเร็วแสงจะเปลี่ยนไป ทั่วโลกงงกับผลลัพธ์นี้มาก มีไอน์สไตน์ที่ริเริ่มคิดว่าแสงไม่มันไม่เปลี่ยนความเร็วนะ (ความเร็วแสงไม่สัมพัทธ์) แต่ความเร็วแสงมันมีค่าคงที่ตลอดเวลา (ความเร็วแสงสัมบูรณ์) พูดง่าย ๆ คือมันไม่มีอีเทอร์ เพราะแสงคือทำตัวเป็นอนุภาคอนุภาค (อนุภาคมีคุณสมบัติไม่ต้องการตัวกลางในการเคลื่อนที่ไป) ทำให้ไอน์สไตน์เชื่อว่าแสงที่สะท้อนบนกระจกขึ้นลง (ในคลิปวีดีโอ) ระหว่างคลื่นที่มีความเร็วเท่ากัน แน่นอนว่าเราเห็นความยาวแสงของทั้ง 2 เหตุการณ์ไม่เท่ากันแน่ (อันนึงขึ้นลง จะสั้นกว่าอันที่ขึ้นลงเฉียง ๆ เป็นรูปพันปลา) จาก ความเร็ว= ระยะทาง / เวลา เนื่องจากความเร็วแสงมีความเร็วไม่เปลี่ยนแปลงทั้ง 2 เหตุการณ์ แต่ความยาวที่แสงเคลื่นที่ยาวไม่เท่ากัน แสดงว่าเวลาของทั้ง 2 เหตุการณ์ไม่เท่ากัน (ระยะทางมาก เวลาก็ต้องมาก ระยะทางน้อย เวลาก็ต้องน้อย เพื่อให้ ระยะทาง หารด้วยเวลาแล้วได้เท่าเดิม)
เพิ่มเติมอีกนิด เรื่องแนวคิดที่ไอนไตน์มองแสงเป็นอนุภาคแล้วเอามาอธิบายเรื่องโฟโตอิเล็กตริกจึงปังกับคนยุคนั้นมาก
เพิ่มเติมอีกนิด 2 ส่วนตัวไอน์สไตน์ไม่เชื่อในควอนตัมสักเท่าไรเพราะควอนตัมใช้ความน่าจะเป็นในการอธิบาย (เช่น เรื่องแมวของชเรอดิงเงอ ที่แมวตาย 50% รอด 50% หรือที่ไอน์สไตน์บอกว่าพระเจ้าไม่ทอยลูกเต๋าหรอก) และมีหลักความไม่แน่นอนไฮนเซนเบิร์ก ยังไงก็แล้วแต่ ปัจจุบันมีหลายปรากฎการณ์ที่ใช้ควอนตัมอธิบายได้แม่นยำ และโลกก็ใช้เทคโนโลยีควอนตัมขึ้นเรื่อย ๆ
เพิ่มเติม 3 หากเจอทฤษฎีสนามควอนตัมแนะนำให้ หนีไป!!!!!
เขียนไปเขียนมาไม่นิดนึงแฮะ
อ่านแล้วเข้าใจและเห็นภาพมากขึ้นมากเลยค่ะ ขอบคุณนะคะ
หนีไปไหนดีล่ะ
จากช่อง Podcast ม้้ยครับเนี่ย เหมือนเป๊ะ
เพิ่มเติมด้วยนะครับ คนที่คิดว่าแสงเป็นอนุภาคคนแรกคือ นิวตัน ครับและนอกจาก Michelson-Morley แล้วอีกหนึ่งแรงบันดาลใจของไอสไตน์ที่คิดว่าแสงเป็นอนุภาคแน่ๆ คือ Max plank ที่ค้นพบว่า วัตถุที่เอาไปเผาไฟให้ร้อนมากๆ มันจะปล่อยพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาเป็นค่าที่ไม่ต่อเนื่อง ค่าที่ไม่ต่อเนื่องของพลังงานนี้ ไอสไตน์ก็จินตนาการว่ามันก็คือ ก้อนพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั่นเอง และแสงก็เป็นหนึ่งในคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเช่นกัน เรื่องของก้อนพลังงานตรงนี้ก็เป็นจุดเริ่มต้นของ กลศาสตร์ควอนตัม ครับ
หนีไปจริงๆด้วยแฮะ
กะจะถามว่าสนามควอนตัมนี่สนามของอะไรสักหน่อย 😏
รักช่องนี้มากๆ❤
#วิวเอ๋ยบอกข้าเถิด เราอยากรู้เกี่ยวกับค่าเงินอะค่ะ เพราะสมันก่อนเราเริ่มด้วยการเอาของมาแลกกับของ แล้วอยู่ดีๆมาใช้เงินกันได้ยังไง ใครเป็นคนคิด แล้วค่าเงินแต่ละประเทศทำไมต่างกัน??????
อีกช่องนึงน่าจะมีนะคะ ส่วนตัวฟังอะไรแบบนี้เยอะแต่จำอะไรไม่ค่อยได้เหมือนกัน แอบโทษตัวเองว่าโง่ หรือแค่เอาอะไรเข้าสมองเยอะเกินไป5555
ไว้หาคำตอบได้จะมาเม้นให้นะคับ
มาร์โคโปโล กลับไปยุโรปช่วงที่ถูกจับติดคุกเขียนเล่าเรื่องของเมืองจีนหลายเรื่อง เรื่องที่น่าสนใจเรื่องนึงคือกษัตริย์จีนสามารถใช้กระดาษเขียนข้อความและให้มีผลใช้เป็นเงินตราแลกเปลี่ยนสิ่งของได้ สมัยนั้นยุโรปต้องใช้เงิน ทองคำ โลหะมีค่าใช้เป็นเงินตรา ยังไม่มีการใช้ธนบัตร
คลิปนี้มีคุณค่ามากครับ
24:14 ขอเสริมนิดนึงนะครับ ตรงที่ว่า “มวลจะเปลี่ยนเป็นพลังงาน” น่ะครับ แท้จริงแล้วมวลไม่ได้หายไปไหนหรอกครับ
ต้องขอถามก่อนว่ามวลคืออะไร แล้วเราวัดมวลได้ยังไง?
(มวลจริง ๆ แล้วขึ้นอยู่กับการวัด มวลไม่ใช่ตัวเนื้อสาร อิเล็กตรอน ไม่มีขนาดแต่ทำไมเราถึงรู้มวลอิเล็กตรอนได้
ฉะนั้นการที่เราจะรู้ว่าสิ่งใดมีมวลนั้นมันขึ้นอยู่กับการวัดการตอบสนองบางอย่าง)
จากสมการ [E=mc^2]
จะได้ m = E/(c^2) จึงเป็นสมการที่เจ๋งมาก ทำให้รู้ว่าสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่นิ่งจะเก็บพลังงานในรูปแบบของมวล
ดังนั้นหากเราวัดพลังงานของสิ่งที่อยู่นิ่งได้เราก็จะสามารถรู้ได้ว่ามันมีมวลเท่าใด
H มี 1 อิเล็กตรอน, 1 โปรตรอน, 1 นิวตรอน
แทน e,p,n เป็นอนุภาคตามลำดับแล้วกันจะได้พิมพ์ง่าย ๆ 😅
จากสมการ 2H -> He
แล้ว He ก็จะมีอนุภาค 2e, 2n, 2p หนิ มันก็ควรจะมีมวลที่มาจากอนุภาคเป็น 2 เท่าของ H
แต่ทำไมมวลที่ได้จากการวัดถึงได้ลดลงน้อยกว่า 2 เท่าของ H?
นั้นเพราะการที่อนุภาคจะมารวมตัวกันได้จำเป็นที่จะต้องสร้างพันธะเพื่อยึดเหนี่ยวกันไว้ และมีรูปแบบของพลังงานเป็นลบ เพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์ที่จะถูกดึงดูดเข้าหากัน
ทำให้การวัดมวลของ He จะมีพลังงานของ
2e, 2p, 2n (2H) แล้วยังมีพลังานพันธะซึ่งมีรูปแบบพลังงานติดลบ ทำให้วัดออกมาแล้วได้พลังงานลดลงนั้นเอง
จึงทำให้สรุปว่ามวล He < 2H
ไม่ใช่ว่ามวลส่วนหนึ่งกลายเป็นพลังงาน แต่เพียงมีพลังงานพันธะที่ติดลบครับ
ต้องเรียนขนาดไหน
ใช่ครับเป็นคำตอบที่ถูกต้อง
I really like this clip I'm fan from Cambodia ❤❤❤❤❤
อยากให้พี่วิวคอลแลบกับอาจารย์ ป๋องแป๋ง อาจวรงย์ จันทมาศ มากๆเลยครับ อยากเห็น😅😅
++++คอมเม้นนี้ครับ สัก ep. พี่วิวถามอาจารย์ ป๋องแป๋ง ตอบ 💕🥰
สนุกแน่
อธิบายก็เก่งแต่งคอสเพลชุดนี้คือได้เลย น่ารักเลย
16:20 ชอบหน้านี้ของคุณวิว 555+
ลูกผมก็เป็นแบบนี้ครับ หมกหมุ่นจนเก่งมากๆ เข้าขั้นอัจฉริยะในเรื่องที่เขามีความสนใจเท่านั้น แต่จะไม่เปิดรับการเรียนรู้เรื่องอื่นๆเลย ไม่สื่อสารจนกว่าจะเจียนตัว อยู่ในโลกของตัวเองอย่างเดียว ตอนนี้ก็ 7 ขวบแล้วครับ
รอฟังพี่วิวเล่าเรื่องแดจังกึม และพี่วิวแต่งเป็นแดจังกึมฮะ
ชอบฟังมากเลยครับ ฟังทุกวันเลย
9:10 โฟตอนคือ พลังงานอนุภาคของแสง(ดวงอาทิตย์ของเราตอนนี้)เพื่อให้สิ่งมีชีวิตบนดวงดาวนั้นๆได้กระทำการปฏิกิริยาทางเคมีคือ”การสังเคราะห์แสง”จุดเริ่มต้นการกำเนิดของชีวิต🥰🥰🥰
ขอบคุณครับ เพิ่งเข้าใจหลายๆอัน จากคลิปนี้เลย
อยากให้น้องเล่าเรื่อง หลุมดำบ้าง ค่ะใครไปมาหรือแค่ส่องกล้องแล้วพูดเดาเอาเอง
ปัจจุบันข้อมูลเกี่ยวกับ "หลุมดำ" ยังเป็นแค่จินตนาการของนักวิทยาศาสตร์อยู่น่ะ..!!
@@Thilaphong_Sisouphane ถึงขั้น ถ่ายภาพได้แล้ว ไม่น่าเป็นแค่จินตนาการนะครับ ถ้าจะพูดให้ถูกต้องเป็น รายละเอียดของหลุมดำ ยังเป็นแค่ทฤษฎี ต่างหาก ไม่ใช่จินตนาการ
ตามช่องพุทโธเลี่ยน จะบอกว่าพระพุทธเจ้าเคยไปมาแล้วครับ
สิ่งต่างๆที่เรารู้ในเอกภพนี้ไม่ได้เกิดจากการไปมาครับ ด้วยวิทยาการปัจจุบันยังส่งคนไปได้ไม่ถึงดาวอังคารเลยครับ ส่วนใหญ่แล้วใช้การคำนวณตามทฤษฎีว่ามันควรจะมีควรจะเป็นและอยู่ตรงไหน แต่เทคโนโลยีที่ใช้ในการตรวจจับ ไปจนถึงการถ่ายภาพก็พัฒนาไปเรื่อยๆจนเราค้นพบอะไรหลายๆอย่างมากมายแม้มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าจากบนโลก อย่างหลุมดำนี่ก็พิสูจน์กันมานานมากแล้วครับว่ามีอยู่จริง ล่าสุดพึ่งมีการถ่ายภาพ(เกือบ)จริง ของหลุมดำได้แล้วในปี 2019
@@Thilaphong_Sisouphane หลุมดำมีจริง แต่ที่เราไม่รู้คือข้างในหลุมดำมีอะไร แนะนำช่อง ช่างสงสัย ครับ ข้อมูลแน่น ฟังสนุกครับ
พี่ทำให้หนูมีแรงบันดาลใจ ในการเรียน ❤❤
Eคือ energy M คือ milk
ส่วน C คือcoffee และยกกําลัง2คือสองแก้ว
ดังนั้นคือ
Energy = Milk+Coffee2😂😂😂
ผิด mc = มิลช๊อค
ยกกำลัง2 = 2ลุง ลุงป้อม ลุงตุ่
= Latte ☕🗿
สงสัยไอน์สไตน์ ทำงานพาสไทม์เป็น บาริสตา
ก๊อปมาจากที่อื่น
@@dragonlion1272 ทำไม... มันติดลิขสิทธิ์หรอ?🤔
ตอนเรียน Quantum physics ยากจริง จำได้ว่านั่งงงกันอยู่ครึ่งห้อง ต้องให้คนเก่งๆช่วยอธิบายอีกหลายรอบกว่าจะเข้าใจ อ. อธิบายโคตรงง 😂😂
เรียนสายไรครับ
@@gaviel5750 วิศวกรรมครับ
เรียนควอมตั้มก็อย่าใช้สามัญสำนึก คิดซะว่ามันคือกฎมั่วและต้องวิ่งตามกฏมั่วให้ได้
ชอบทุกๆ คลิปเลยค่ะ ยิ่งอารยธรรม ต่างๆ ยิ่งชอบค่ะ บางคลิปเปิดฟังเพลินๆ วนๆ เลยค่ะ ❤
เพราะ ไอน์สไตน์ คิดไม่เหมือนชาวบ้านคิดสิางที่ผู้คนยุคนั้นไม่คิด
ผมไม่คิดว่าเขาจะรักผม
สุดยอด นักอักษรฯ อธิบายฟิสิกส์ได้แจ่มแจ้งมาก
ขอบคุณที่ทำคลิปอธิบายขึ้นมา เข้าใจง่ายเหนภาพมากขึ้นเลยค่ะ❤❤❤ เอนดูต้องพูดน่าจะเปนชั่วโมง แถมต้องติดหนวดด้วยย คันยุบยิบแทนน😂😂😂😂
อธิบายเรื่องยากๆให้ฟังเข้าใจได้ นายนี่สุดๆเลย
#วิวเอ๋ยบอกข้าเถิด อยู่ให้เล่าตำนานแม่นาคพนะโขนงค่ะ
👍👍👍😉23:40..ช่างว่างเปล่า..เหลือเกิน..กำลังชมและฟังสนุกมาก..ทำไม? ต้องทำให้ฮาา..กริบด้วย😁
เป็นคลิปแรกของช่อง ที่เราฟังไม่จบ… เด็กสายศิลป์อย่างเรานั้น จอดตั้งแต่10นาทีแรก 🥹
แค่อิตัวเลขที่มีวงเล็บมียกกำลังก็จอดละนะ ยิ่งมีตัว i ตัว e ตัยยึกๆยือๆนี่จบเลย😂😂
เป็นกำลังใจให้นะครับ5555
น้องวิวนี่สไตล์การเล่า น่าสนใจมาก เก่งจริง ๆ
จากเรื่อง interstella ที่ลงไปดาวที่เป็นน้ำ เวลาไม่เท่ากันเพราะแบบนี้เอง บทความที่ 3 ของไอน์สไตน์
ความเร็วขอบหลุมดำตามทฤษฎีคงจะเร็วมากเลย ผมเข้าใจถูกมั้ย😂
ไม่ใช่นะครับ กลัวเข้าใจผิด เวลาที่ไม่เท่ากันบนดาวน้ำในเรื่อง interstella ไม่ได้มาบทความที่3 ของไอสไตน์นะครับ แต่มาจากทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป อย่างนี้ครับ การยืดออกของเวลามี 2 วิธีที่ทำได้ คือ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงๆ และไปอยู่ในที่ความโน้มถ่วงสูงๆ โดย เวลาที่ไม่เท่ากันบนดาวน้ำหรือบนหลุมดำ มาจาก อย่างหลังครับ คือความโน้มถ่วงมันสูงกว่าบนโลก ทำให้เวลาบนดาวนั้นช้ากว่าบนโลกครับ
ขออนุญาตแชร์เรื่องนี้นะครับ ผมคิดขึ้นมาเองแหละ แต่คิดว่า มันน่าจะเกี่ยวกัน เริ่องนี้เริ่มต้นจากทฤษฎีอะตอม และเรื่องพหุจักรวาล ด้วยความที่ อะตอม มีหน้าตา คล้ายๆระบบสุริยะฉบับย่อ และอะตอมหลายๆอะตอมรวมๆกันเป็นสิ่งต่างๆ ผมเลยคิดว่า หรือว่า ระบบสุริยะของเราเองก็เป็นอะตอมที่มีอะตอมอื่นๆ หรือเรียกว่า พหุจักรวาลรวมๆกัน เป็นอะไรซักอย่างอีกทีที่ใหญ่โตมากเกินกว่า ขอบเขตการรับรู้ของเราไปอีก จนกลายเป็นว่า จริงๆเราเห็นสิ่งที่ว่าอยู๋ตลอดเวลา แต่เรารับรู้ถึงมันไม่ได้ กลับกันอะตอมก็เป็นระบบสริยะที่เล็กเกินกว่าที่เราจะรับรู้ได้เช่นกัน ทั้งๆที่เราเห็นมันอยู่ตรงนั้น พอเข้าใจแบบนี้ เท่ากับผมเห็นนรกสวรรค์เลย
จำได้มั้ยครับ เวลาในนรกยาวนานกว่าเวลาบนโลก และเวลาบนโลกก็ยาวนานกว่าเวลาบนสวรรค์ ก่อนนี้ผมเข้าใจว่ามันเป็นการเปรียบเปรย ถึงความสุขอันยาวนาน ก็รู้สึกไม่นาน แต่ความทุกข์แป๊บเดียวกลับรู้สึกยาวนาน แต่จริงๆไม่ใช่ มันเป็นเพราะ ขนาดต่างหาก ผมขอเปรียบแบบนี้ครับ ระยะทาง 1เมตร เอาแค่มด กับเรานะครับ มดต้องใช้เวลานานแน่ๆ กว่าจะไปถึงปลายทาง 1เมตร ในขณะที่เราแค่เอื้อมมือ หรือเวลาเรามองเครื่องบินเราจะเห็นเครื่องบินบินช้าๆ แต่จริงๆ บินเร็วมากๆ แล้วถ้าการตกนรกจริงๆ มันคือการหดละครับ แล้วการขึ้นสวรรค์คือการขยาย นั้นเป็นเหตุผลที่ว่า ทำไมในนรกเวลาถึงไปยาวนานกว่าบนโลก และ ในสวรรค์นั้นเพียงแต่วันเดียว
และเราจะไม่มีวันรับรู้ได้ถึงความแตกต่างที่ว่า เพราะ เราไม่สามารถอยู่ใน 3 ที่นี้ได้ในเวลาเดียวกัน และมันอยู่ที่เดียวกันนี่แหละ
สสารมันไม่ได้หายไปใหน แต่มันสามารถถูกเคลื่อนย้ายแปรสภาพไปได้
ทำซีรี่ย์ชีวประวัติศิลปินนักร้องได้ไหมค่ะคุณวิวเอ๋ยบอกข้าเถิด😊
ทำเลยๆ
แนะนำ
ดันค่ะ 🎉
แอบชอบคอสเพลย์แต่ละคลิป ❤
เรื่องphoto electric คือไอสไตล์ว่าแสงมีสถานะทั้งอนุภาคและคลื่น ในเวลาเดียวกัน ไม่มีมวลแต่มีผลกับอนุภาคอื่นได้ ที่ว่าทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกไป
ส่วนเรื่องกาลอวกาศ คือแรงโน้มถ่วง แสง เวลาคือสิ่งเดียวกัน ยิ่งเราไปได้เร็วใกล้แสง เวลาเราจะยิ่งช้าลง หรืออยู่กับวัตถุที่่มวลมหาศาลก็ทำให้เวลาช้าลง และแสงโค้งงอได้ คนปกติจะคิดออกไหมเรื่องแบบนี้
เอาคำว่าแสงออกดีกว่า เปลี่ยนเป็นค่าความเร็วแสง เพราะตัวแสง ไม่ได้บ่งบอกถึงความเร็วช้าของเวลา
@@walkafterworkwaw7641 ไม่รู้นะ เอาออกได้มั้ย ใครๆเขาก็ใช้กันแบบนี้ มันคงแล้วแต่การตีความของคำ เหมือแรงดึงดูดกับแรงโน้มถ่วง หรือบอกว่าสิ่งเหล่านี้คืออันเดียวกัน หรือแค่มันสัมพัทธ์กัน แต่ละสิ่งส่งผลกับอีกสิ่งหนึ่งเสมอ สรุปคือเราทึ่งกับคนที่นั่งคิดยังไง จนเอาสิ่งพวกนี้มารวมกันได้ มันเกินสมองของเราจะคิดตามได้ในการได้ยินครั้งแรก
@@Issara87 จริงๆ สองคำนี้ต่างกันเยอะมากเลยครับ ค่าความเร็วแสง คือ ค่าที่คงที่ที่ไม่ว่ากรอบอ้างอิงไหน มันจะเท่ากัน ค่าความเร็วของแสง คือ ความเร็วของตัวแสงเอง ซึ่งความเร็วตัวแสงนั้นเปลี่ยนตามตัวกลางที่มันเคลื่อนที่ผ่าน อย่างแสงลงน้ำ แสงมันก็จะช้าลงนิดนึง แต่เวลาก็ไม่ได้ช้าตาม เพราะฉนั้น แสงไม่ได้มีผลต่อเวลา
สนุกมาก ขอบคุณ
จะมีวลีหนึ่งที่คนชอบใช้กันคือ "จินตนาการสำคัญกว่าความรู้" แต่ที่สำคัญกว่าที่ว่านั่นคือการเริ่มต้นทำบางสิ่ง ไม่ได้หมายถึงในแง่ของการใช้งาน
จากคลิปนี้จะเห็นได้ว่าผลงานทั้ง 4 เริ่มต้นจากว่าถ้าปรากฏการณ์นั้นเป็นจริงมันเป็นจริงจากอะไร
และเราก็ลองจินตนาการว่าเกิดจากสิ่งหนึ่งแล้วเราก็จะใช้ความรู้และตรรกะต่างๆ นำพาเราจากจุดนั้นให้มาสู่ผลลัพธ์เกิดเป็นทฤษฎีและถูกพิสูจน์จนกลายเป็นความรู้ในเวลาต่อมา
ดังนั้นเราอาจจะพูดใหม่ได้ว่า "จินตนาการสามารถพาคุณไปได้ทุกที่ แต่ความรู้จะพาคุณไปถึงจินตนาการนั้นได้ในโลกของความเป็นจริง หรือก็คือความรู้จะช่วยให้จินตนาการของคุณสมบูรณ์มากขึ้น" นั่นเองครับ
ชอบฟังพี่เล่า สนุกค่ะ
รู้เรื่องกว่าครูฟิสิกส์สมัยเรียนแบบหาที่เปรียบมิได้ 55555
ชอบน้องวิวมากเลยค่ะ อธิบายเก่งมากๆ❤
นักวิทกับนักปราช นักไหนฉลาดสุด🤔🤔😅😅🤣(อยากรู้🤣🤣🤣)
แล้วแต่ละบุคคล
นักวิทย์ชุบแป้งทอด
แสดงว่าคุณ แยกแยะวิทย์ฯกับปรัชญาไม่ออกนะสิ วิทย์ฯคือสิ่งที่พิสูจน์ได้แน่นอน ผ่านกระบวนกันแบบนี้ จะต้องได้ผลแบบนี้ ส่วนปรัชญาคือรูปแบบแนวคิดวิธีการ แต่ผลไม่ต้องเหมือนกันก็ได้ เช่นการเมืองการปกครอง การบริหารงาน หรือศาสนา แล้วคนแบบไหนฉลาด ก็คงเป็นคนที่พาไปดวงจันทร์ได้มั้ง
ชอบมากกกก หลังเห็นพี่ดูแล้วลองเปิดใจดูสนุกมากกกเวลาทำอะไรก็เปิดดูตลอดเลยย🥰🥰
เจ้าของช่องเก่งมาก กล้าเล่าเรื่องประวัติ หรือ เรื่องที่คนยังถกเถียงกัน และในยุคนี้ที่คนเก่งคีย์บอร์ดล้นโลก เป็นกำลังใจให้เจ้าของช่องค่ะ ❤ ส่วนตัวเราชอบฟัง ตอนทำงาน ได้ความรู้ใหม่ๆ บางครั้งก็คิดดีใจว่าไม่ใช่คนรู้เยอะ มีความสุขมากกับการรับรู้เรื่องราวใหม่ๆ เปิดกว้าง ชอบเรียนรู้ บางทีไปอ่านคอมเม้นท์ เพื่อนๆบางคนที่ ด่าไว้ก่อน ก็นึกสงสารเค้า ชีวิตเค้าเคยมีความสุขบางไหมนะ 😂❤
ชื่นชมค่ะ เก่งมากๆเลยค่ะ👏
คุณวิวเจ๋งมากอ่ะ เข้าใจง่ายสุดยอด
ก็ยังเป็นช่องที่ฟังเข้าใจง่ายตามเคย ชอบมากครับ
ในบรรดานักวิทยาศาสตร์ทั้งหมด ผมชอบ ไอน์สไตน์ กับ ออพเพนไฮเมอร์ สุดๆละ.💪🧠
ดีมากเลย ทำคลิปแบบย่อแบบ ไฮไลท์ซึ่ง เหมื่นเราเคย ดู หรือฟัง จากหลาย ๆช่อง ทาง
ชอบวิธีการ present จังครับ ละไม่ได้เลยต้องฟังตลอด
ขอบคุณเกรท์ที่อธิบาย
สุดยอดมากกก ถึงเราจะไม่เข้าใจแต่เราก็รู้สึกถึงความยิ่งใหญ่ของมัน น้องวิวเก่งมากที่อธิบายออกมาได้
อธิบายได้ดีมากครับ เข้าใจเลย
คลิปนี้ดีมาก พี่วิวเล่าเข้าใจเลย เคยฟังคนอื่นมาก่อนแล้วงง พี่วิวทำให้เรื่องนี้เป็นสามสิบกว่านาทีที่ฟังแล้วม่วน
คลิปมีประโยชน์มากครับ พี่เกรทครูผมเองอิอิ