Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
คนที่เชื่อในสิ่งที่ผิด และคนที่เชื่อในสิ่งที่ถูก มีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกัน คือคิดว่าสิ่งที่ตัวเองเชื่อนั้นถูก แต่พุทธคือความจริง ไม่ใช่ความเชื่อ ทนต่อการพิสูจน์ ลองศึกษาหาคำตอบด้วยตนเองโดยปราศจากอคติดูนะ หากเข้าถึงพุทธหรือรู้จักพุทธจริงๆ เราจะออกจากความเป็น "โมฆบุรุษ" ลองถามตัวเองดูนะ ว่าเราวิพากษ์วิจารณ์ในสิ่งที่เราไม่รู้ ไม่เข้าใจจริงๆอยู่รึเปล่า เสียดายโอกาสนะ"บัญฑิต"
มิจฉาทิฏฐิ เชื่อในสิ่งผิด เพราะเชื่อตัวเอง สัมผัสเพียงลูบๆคล่ำๆ
เห็นด้วยเลยกับประเด็นการวิพากษ์ตัวบทของหลักธรรม เช่น ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว แต่ทำไมคนทำชั่วถึงได้ดี เลยทำให้เราสัมผัสได้ว่า การศึกษาถึงแก่นของศาสนาของผู้วิพากษ์มันตื้นเขินมาก ซึ่งถ้าวิพากษ์เฉพาะแค่ การนำศาสนามาใช้เป็นเครื่องมือประกอบสร้างความเป็นรัฐ ที่สร้างมายาคติ และมีอำนาจควบคุมความคิดของประชาชนผ่านกระบวนการที่ใช้ศาสนาเป็นเครื่องมือ อันนี้เห็นด้วย แต่ผู้วิพากษ์ไม่ควรโยงไปถึงหลักธรรมที่ผู้วิพากษ์ยังไม่ได้ศึกษาให้ถ่องแท้เสียก่อนแบบนี้ครับ
เกิดความคิดเห็นได้คับ เเต่ต้องรู้สิ่งที่ถูกด้วย เเละ ช่วยกันซักไซร้ ธรรม หรือ ความเป็นจริง ไม่ใช่ จริงลวง ที่ใครๆเขาป้อนให้
มโนสัญเจตนาหารจะพึงเห็นได้อย่างไรเหมือนอย่างว่า มีหลุมถ่านเพลิงอยู่แห่งหนึ่ง ลึกมากกว่าบุรุษ เต็มไปด้วยถ่านเพลิง ไม่มีเปลว ไม่มีควัน ครั้งนั้นมีบุรุษคนหนึ่งอยากมีชีวิตอยู่ ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์เดินมา บุรุษสองคนมีกำลังจับเขาที่แขนข้างละคนคร่าไปสู่หลุมถ่านเพลิง ทันใดนั้นเอง เขามีเจตนาปรารถนาตั้งใจอยากจะให้ไกลจากหลุมถ่านเพลิง ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเขารู้ว่า ถ้าเขาจักตกหลุมถ่านเพลิงนี้ ก็จักต้องตายหรือถึงทุกข์แทบตาย ข้อนี้ฉันใดเรากล่าวว่าพึงเห็นมโนสัญเจตนาหาร ฉันนั้นเหมือนกันเมื่ออริยสาวกกำหนดมโนสัญเจตนาหารได้แล้ว ก็เป็นอันกำหนดรู้ตัณหาทั้งสามได้แล้วเมื่ออริยสาวกกำหนดรู้ตัณหาทั้งสามได้แล้ว เรากล่าวว่าไม่มีสิ่งใดที่อริยสาวกพึงทำให้ยิ่งขึ้นไปกว่านี้อีกแล้ว
สวัสดีสหาย คิดว่าพวกคุณยัง define ในส่วนของ trauma ได้ไม่ชัดเจนพอ ถ้าคุณเปิด session ด้วยการอธิบายสิ่งที่คุณจะ discuss ก่อนน่าจะทำให้ชัดเจนขึ้นศาสนาเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่ง มนุษย์สร้างเครื่องมือและเครื่องมือก็หล่อหลอมมนุษย์เช่นกัน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ติดตามของศานาหนึ่งกับตัวศาสนานั้น ไม่ว่าจะเป็นตัวคนเองหรือตัวศาสนาต่างเป็นได้ทั้งน้ำและแก้ว มันไม่ fair ถ้าจะโทษตัวศาสนาอย่างเดียว แต่กระนั้นก็ต้องยอมรับว่าบางศาสนาสนับสนุนการใช้ศรัทธาโดยละเลยปัญญา บางศาสนาให้ความชอบธรรมกับการเผยแผ่ด้วยเปลวเพลิงแสงยานุภาพและการขู่เข็ญ ในส่วนที่ศาสนากลายมาเป็นเครื่องมือกดขี่ข่มเหง ทางนี้เห็นว่าเป็นเพราะความหลงผิดของคนหมู่มากที่หยิบยื่นอำนาจและความชอบธรรมให้กับการกระทำใดๆที่เกี่ยวข้องกับศาสนามากเกินไป การเชิดชูขึ้นหิ้งบูชาปกป้องจนถึงขั้นว่าร้ายด้อยค่าหรือกีดกันแบ่งแยกผู้ไม่นับถือหรือผู้วิพากษ์วิจารณ์ ซ้ำบางครั้งมีการตอบโต้ผู้วิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงด้วย ศาสนามีกลไกในการควบคุมคนหมู่มากจึงถูกนำไปใช้การเมืองการปกครองแต่สิ่งนี้คือเครื่องมือ ไม่ว่าคุณจะตีหัวคนด้วยขวดน้ำหรือพิษมันก็เจ็บอยู่ดี และการให้ดื่มน้ำมากเกินไปก็เป็นพิษ ในขณะที่ยาพิษจะไม่ออกมาไล่กัดคุณถ้าวางมันไว้เฉยๆ(มั้ง?)คุณสามารถมองแยกได้นะไม่ยากหรอก ดูที่ว่าตัวศาสนาสอนอะไร ที่คุณบอกว่าศาสนาพุทธไม่ Empower คน ทางนี้ก็สงสัยนะว่าทำไมคุณถึงคาดหวังว่าสิ่งนี้จะต้องทำ(แม้มานั่งคิดแล้วมันก็ Empower อยู่นะ-สอนให้คนรู้จักใช้ปัญญาพิจารณาตามเหตุปัจจัยเนี่ย แต่ถ้าคุณกำลังพูดถึง "พุทธแบบไทยๆ" อันนี้ก็คงยอมรับว่าเห็นมีการใช้ศรัทธาเกินปัญญาไปหน่อยในหลายครั้ง) หากคุณคิดว่าการไม่ยึดติดปล่อยวางเหมือนกับการละเลย แนะนำให้ไปอ่านใหม่"ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว" คิดว่าน่าจะเป็นอะไรที่พูดกันเองจนติดปาก เพราะเราเข้าใจไปในแนวว่า Actions beget consequences มากกว่า จากนั้น label ต่างๆเช่น ถูกผิดดีงามทรามชั่ว จะโดนแปะเข้ามาด้วย ขันธ์ 5 หลายๆอย่างที่มันติด package(ลองดูตรรกะวิบัติที่ชื่อ Slippery slope) กันเพราะคนไทยจำนวนมาก(และดูเหมือนว่าพวกคุณบางคนก็ด้วย ดูจากความเข้าใจเกี่ยวกับศาสนาพุทธ ซึ่งทางนี้ก็ sympathise ได้นะ)ยังใช้วิธีการเชื่อเอาตาม Authority อยู่ เช่น เชื่อเพราะเป็นคนใหญ่คนโต เพราะคนพูดใส่เสื้อกาวน์ เป็นพ่อแม่ครูบาอาจารย์ เป็นพระนักบวช เพราะมันเขียนอยู่ในหนังสือ อยู่ในคัมภีร์ศาสนา เพราะคนหลายคนเชื่อ เพราะเป็น paper จากสำนักที่น่าเชื่อถือ(อันนี้ทำเองบ่อยเวลารีบๆอ่านมากๆแล้วไม่ได้อ่าน paper เอง)และ ฯลฯ ใน category ของการไม่ได้ใช้วิจารณญาณมอง Binary ได้แต่อย่ายึดติด หลายๆอย่างในโลกรวมถึงศาสนาพุทธเป็น spectrumคุณไม่จำเป็นต้องแยกจิตใจกับสมองนะ จะเรียกว่าเป็นสิ่งเดียวกันก็ได้(สุดท้ายมันก็แค่ label ที่คุณแปะ) ความคิดเชิงตรรกศาสตร์ที่ฝึกฝนมาดีก็จะไม่ทอดทิ้งอารมณ์ความเป็นมนุษย์ ถ้าคุณ "เชื่อ" ในวิทยาศาสตร์แบบเดียวกับที่คุณเชื่อในศาสนาแปลว่าคุณไม่เข้าใจวิทยาศาสตร์และไม่ได้กำลังใช้หลักวิทยาศาสตร์อยู่ ถ้าคุณเริ่มต้นจากการยกวิทยาศาสตร์ให้เป็นอำนาจสิทธิขาดแปลว่าคุณเรียน"วิทยาศาสตร์"ที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์มาตั้งแต่แรก"มีประโยชน์"=/=จริง จริง=/="ดีงาม" อย่าเผลอ equivocate กันล่ะ วิทยาศาสตร์คือหลักการตามหาความจริงในธรรมชาติไหนๆก็เทียบกับOpium des Volkes พวกคุณลองคิดดูว่าทำไมถึง "สมัยก่อน" ต้องใช้ "ยาฝิ่น" แล้ว "เดี๋ยวนี้" เขายังหันกลับไปใช้ "ยาฝิ่น" อันเดิมหรือเปล่าหรือว่าเขาค้นคว้าวิจัยใช้ปัญญาแล้วเปลี่ยนเป็น "มอร์ฟีน" แทน มอรฟีนแรงกว่า opium 10 เท่าถึงแม้จะใช้สารกลุ่ม opioid เหมือนกัน ดังนั้นทางนี้เห็นว่าเปลือกของความเป็นศาสนา จะสลัดมันทิ้งไปก็ไม่เสียหายนะ สกัดเอาสาระตัวยาของมันออกมาสิ Trauma ของพวกคุณอาจจะไม่ได้มาจากศาสนาก็ได้นะ แต่อาจมาจาก *Dogmatism* ที่มักสิ่งสู่อยู่ในศาสนาและแนวคิดต่างๆต่างหาก57:50 Atheism มันมี Tone นะคุณ ลักษณะร่วมคือแค่ไม่เชื่อว่ามีพระเจ้า ไม่ใช่ positive claim ว่าพระเจ้าไม่มีจริง อันนี้บางคนจะเรียกว่า Hard Atheism และเสริมอีกอย่างว่าการวิจารณ์เราจึงไม่ทำที่ตัวบุคคล(ad hominem) แต่ควรจะโจมตีที่แนวคิด คนฟังก็ต้องมีสติด้วยไม่ใช่อะไรก็เขมือบเข้าไปในอัตตาหมด อยากเขียนเกี่ยวกับ part บริการสุขภาพและชนชั้นต่อนะแต่เต็ม
พุทธศาสนาที่ถูกใช้เป็นเครื่องมือ เพราะพุทธเกิดขึ้นมาจากปัญญาสอบสวนความจริงของโลกและชีวิตของพระพุทธเจ้า เป็นศาสนาแห่งสติปัญญา ธรรมชาติอันนี้จึงไม่มีกลไกทางอำนาจมาคุ้มครองตัวเอง พระพุทธเจ้าเองก็ตรัสบอกเสมอว่าศาสนาพุทธจะเจริญรุ่งเรืองหรือเสื่อมอยู่ที่การปฏิบัติให้เข้าถึงความจริงของพุทธบริษัทสี่ และก่อนปรินิพพานก็ตรัสบอกว่า โย โว อานันทะ ธัมโม จะ วินโย จ มยา เทสิโต ปัญญัตโต โส โว มมัจจะเยน สัตถา (ดูกรอานนท์ ธรรมและวินัยที่เราแสดงไว้แล้วนั่นแหละจักเป็นศาสดาของพวกเธอเมื่อเราล่วงลับไป) แต่ศาสนาอื่นเนี่ยม้นส่งทอดอำนาจเป็นอาณาจักรของมันเลย มีอาณาเขต (อาณาจักรพระเจ้า)มีทหารคุ้มครอง ศาสดาเนี่ยถือดาบนำหน้าเลยมันมีเปลือกหอยคุ้มครองในตัวแถมตัวศาสนาเองมันก็เป็นอำนาจปกครองและกฎหมายในตัว อันนี้อันตรายต่อคนมากไม่จำเป็นต้องไปรับใช้ใครเพื่อให้อยุ่รอด มันธรรมชาติของพุทธนะที่เวลาผ่านไปมันจำต้องวิ่งเข้าหาอำนาจหรือถูกอำนาจหรือสถาบันดึงมารับใช้ตัวเองได้ง่าย และมีเรื่องจริงน่าเศร้าคือเจ้าชายพุทธไปแต่งกับผู้หญิงอิสลามแม่งพาคนเปลี่ยนไปนับถืออิสลามทั้งประเทศ (ไปดูประวัติศาสตร์) พุทธหายวับไปเลย น่าใจหายอยู่นะ อันนี้มองในแง่ประวัติศาสตร์นะ ในแง่อื่นๆก็น่าสนใจ และเราคิดว่าปัญหาเทราม่าที่มาจากพุทธเราฟังแล้่่วเก็ตและน่าสนใจ และคิดว่าสามารถแก้ข้อสังสัยของพวกน้องๆได้
31:11 ในทางเถรวาท พระอาจารย์ที่ผมเคารพรูปหนึ่งอธิบายว่า การฆ่าสัตว์ไม่ว่าจะชนิดไหนเป็นบาปหมด แต่จะบาปมาก-น้อย ไม่ได้ขึ้นกับ “ขนาด” แต่ขึ้นกับ “คุณที่สัตว์ชนิดนั้น ๆ มีต่อคน” ครับฆ่าสัตว์ที่มีคุณต่อคนมากก็บาปมาก ฆ่าสัตว์ที่มีคุณต่อคนน้อยก็บาปน้อย เช่น คนที่เขาใช้ควายไถนา คุณไปฆ่าควายเขา เขาเลยไถนาไม่ได้ สุดท้ายไม่มีข้าวกิน คุณก็บาปมากกว่าการตบยุงตายครับการที่จะนับว่าบาปมาก-น้อย มีวิธีการมองง่าย ๆ โดยไม่ต้องใช้หลักธรรมลึกซึ้งมาอธิบายเลย คือ ทำแล้วส่งผลให้ใช้ชีวิตลำบากมาก ก็คือบาปมาก ทำแล้วส่งพลให้ใช้ชีวิตลำบากน้อย ก็คือบาปน้อย เช่น1. คุณฆ่าคนตาย เหยื่อที่ถูกคุณฆ่าเค้าก็มีคนรอบตัวที่โกรธแค้นคุณ และตามจะฆ่าล้างแค้นคุณอยู่ตลอดเวลา คุณก็ต้องอยู่อย่างหวาดระแวงกลัวคนมาตามฆ่า ใช้ชีวิตลำบากมาก = บาปมาก2. คุณฆ่าหมาของเพื่อนบ้านตาย เจ้าของหมาเค้าก็แค้นมาก ตามกลั่นแกล้งคุณสารพัดอย่าง แต่อาจจะไม่ถึงกับอยากฆ่าคุณให้ตายตามหมาเขาไป คุณก็ใช้ชีวิตอย่างรำคาญใจที่ถูกเพื่อนบ้านเจ้าของหมาตามรังควาญกลั่นแกล้ง คุณใช้ชีวิตลำบากนิดหนึ่ง = บาปน้อยกว่าฆ่าคน3. คุณตบยุงตาย มีโอกาสน้อยมากที่จะมีคนหรือยุงตัวอื่นมาโกรธแค้นที่คุณไปฆ่าเพื่อนของมันตายแล้วตามล้างแค้นคุณ คุณใช้ชีวิตได้ตามปกติ แต่รู้สึกผิดนิด ๆ = บาปน้อยกว่าการฆ่าคนและฆ่าหมาที่มีเจ้าของตาย ประมาณนั้นครับในทางศาสนาพุทธใช่ครับ สัตว์ไม่เท่ากัน คนก็ไม่เท่ากันครับ ตราบใดที่คนไม่ได้ถูกผลิตมาจากโรงงานเดียวกันและถูกตั้งโปรแกรมให้คิด-ทำเหมือนกันทุกอย่างแต่คนไม่เท่ากันที่การกระทำครับ ไม่ใช่ไม่เท่ากันเพราะชาติกำเนิด เกิดมาต่ำทำตัวดีก็สูงขึ้นได้ เกิดมาสูงแต่ทำตัวชั่วก็ต่ำลงได้
โลกและจักรวาลมันไม่ได้มีระเบียบ สิ่งแปลกๆและน่าสนใจจึงเกิดขึ้น
บาปมากบาปน้อยขึ้นอยู่กับเจตนาในการฆ่าด้วย การพยายามตบยุงใช้เวลานานๆเจตนาที่เข้มข้นจึงทำให้เป็นอกุศลที่เข้มข้นเช่นกัน
ไม่เกี่ยวกับผลที่ทำให้ชีวิตลำบากมากน้อย ผู้ประหารนักโทษทำงานตามหน้าที่ที่สังคมยอมรับ แต่ต้องได้รับผลการกระทำนั้นเช่นกันเหมือนวีรบุรุษวีรสตรีไทย ผู้ประหารชีวิตข้าศึกศัตรู แม้ดังนั้นยังพึงได้รับผลของการประหารชีวิตมนุษย์
@@kanchonsubthaipanit8707 ถ้าคุณเป็นเพชฌฆาต คุณฆ่านักโทษที่ต้องโทษประหารตามคำพิพากษาสูงสุดตายตามหน้าที่ของคุณ คุณใช้ชีวิตอยู่ได้ตามปกติดีแต่ถ้าวันไหนคุณหมั่นไส้ฆ่าเพื่อนบ้านตาย คุณจะกลายเป็นข่าวดัง โดนสังคมประนาม และโดนโทษจากกฎหมายสังคมครับ คุณจะใช้ชีวิตลำบากขึ้นในเรือนจำแน่นอนการฆ่าคนเป็นบาปหมด แต่การฆ่าคนบริสุทธิ คนที่มีคุณต่อสังคมจะเป็นบาปมากขึ้นไปอีก
ขอเห็นต่างครับ เพราะบริบทของกุศล อกุศล เป็นสิ่งที่รู้ได้เฉพาะตัว ดูที่เจตนาครับ ดังนั้นจะเป็นกุศล-อกุศล มากเท่าไหร่ ดูที่แรงปราถนา/ความเข้มข้นของเจตนา ซึ่งมักจะถูกยกตัวอย่างให้ง่ายว่า ฆ่าสัตว์ใหญ่บาปกว่าสัตว์น้อย เนื่องจาก ในอดีตการล้มสัตว์ใหญ่ ส่วนมากไม่สามารถฆ่าให้ตายได้ด้วยการสังหารเพียงครั้งเดียวได้ จึงทำให้ผู้ฆ่ามีเจตนาอันเข้มข้นต่อการฆ่าอยู่หลายวาระ ต่างจากการตบยุงตายที่ตบทีเดียว ซึ่งบางครั้งแทบไม่ได้ตั้งใจด้วยซ้ำ จึงทำให้ความเข้มข้นของเจตนาในการฆ่าระหว่างยุงกับวัวมันจึงต่างกัน จำนวนครั้งของการมุ่งสังหารก็ไม่เท่ากัน ซึ่งอ้างอิงได้จากไตรปิฎกที่ครั้งหนึ่งเคยมีเหล่าอุบาสก อุบาสิกา มาถามพระพุทธเจ้าว่า พระอรหันต์เหยียบย่ำมดแมลงตามทางจนตายเป็น อกุศล ไหม พระพุทธเจ้าก็ตอบว่า อกุศลไม่เกิดกับพระอรหันต์หมู่นั้นเนื่องจาก เจตนาต่อการพรากชีวิตของผู้อื่นไม่มี ดังนั้นถ้ามองในมุมที่เจ้าของโพสต์ว่า บาปที่เกิดขึ้นอยู่กับคุณประโยชน์ของสัตว์ชนิดนั้น แบบนี้พระอรหันต์ที่เหยียบย่ำมดแมลงก็ต้องบาปแล้วสิ แต่ถ้ามองตามเจตนา ความมุ่งร้ายสังหารแทน จะพบว่า อกุศลจะไม่เกิดกับพระอรหันต์เป็นแน่
กรอบที่พูดส่วนใหญ่เป็นการแชร์ประสบการณ์ ความคิด ความรู้สึกโดยอิงกับบริบทของสังคมในท้องถิ่นของผู้พูด ซึ่งไม่ได้เกิดจากการศึกษาในหัวข้อที่ว่า "ความเป็นพุทธไทยทำร้ายเราอย่างไร" เนื้อหาหลักเป็นการคาดเดาจากชุดความรู้เดิมของผู้พูด ในทางรัฐศาสตร์โดยอิงกับความเป็นพุทธซึ่งตอนนี้เป็นกระแสซะมากกว่า บลาๆๆ😊 หัวข้อน่าจะเป็น "ความเป็นพุทธกับบริบททางสังคมการเมืองแบบไทยๆ" น่าจะเข้ากับเนื้อหานี้มากกว่าครับ
สรุป ความเป็นพุทธไทยทำร้ายเราอย่างไร? ไม่มีในเนื้อหาที่พูดเลย เนื้อหามีแต่ความเชื่อในศาสนาพุทธกับการเมืองไทยล้วนๆ (ฝ่าย/ฝั่ง ซ้าย) ขอเดาว่าเป็นนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ 😅
ฟังจบแล้วได้แต่นึกสงสัยและสังเวชในใจลึก ๆ ว่า ศาสนาคือยาพิษ หรือ พิษที่แท้จริง คือ ผู้กระทำ ศาสนา จิตใจ อุดมการณ์ หรือ อีโก้(อัตตา) ของเรากันแน่ (คนเอามีดทำครัวไปทำร้ายคน สรุป 1.มีดทำครัวมันชั่วร้าย ?2.คนเอามีดทำครัวไปใช้นั้นชั่วร้าย ?3.เพราะทั้งการกระทำครบองค์ประกอบภายนอกและภายในสัมพันธ์กับผลแห่งการกระทำ จึงเกิดเหตุการณ์เหล่านั้นขึ้นเป็นลำดับ ?4.เพราะฉันคิดว่าแบบนั้นมันชั่วร้าย มันจึงชั่วร้าย ?) การที่เราไปพบไปเจอกับเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ เราควรโทษผู้กระทำ โทษศาสนา หรือ มองเห็นตามความเป็นจริงตามหลักเหตุหลักผลโดยปราศจากความอคติ กันแน่ นี่มันไม่แตกต่างกับตรรกะป่วย ๆ ที่เวลาเกิดโกรธเกลียดใครในห้องเรียนก็ปั่นกระแสให้ทุก ๆ คน หันไปเกลียด "คน" คนนั้น โดยโยงใยและชักแม่น้ำทั้งห้า มาอธิบายเสริมสร้างน้ำหนักและสร้างความน่าเชื่อถือให้กับตัวเอง ถามจริง ๆ เถอะ ว่าได้ศึกษาพุทธศาสนามาแล้วจริง ๆ หรือ เพียงแค่รู้มาเพียงเฉพาะเรื่องแล้วนำมานั่งถกกันในเรื่องที่ตัวเองรู้พอจะรู้และพอจะเข้าใจ (ควรไปศึกษาเพิ่มก่อนนะ เพราะมันพูดออกมาผ่านมุมมองของตัวเองโดยใช้ศาสนาเป็นคอนเทนต์) ด้วยความรู้เรื่องคำสอนในเถรวาทยังผิดเพี้ยนอยู่ เช่น 1.เรื่องผลแห่งกรรม(วิบาก) ทำไมคนทำชั่วได้ดีนี่ก็ผิด ควรไปศึกษามาใหม่ก่อน2.การฆ่าสัตว์ใหญ่-เล็ก การฆ่าแบบนี้แบบนั้นบาปมากบาปน้อยนี่ก็ผิด ควรไปศึกษามาใหม่ก่อน3.ศาสนาพุทธ กับกลุ่มความเชื่อที่เรียกว่า "มูฯ" นี่ก็ผิด ควรไปศึกษามาใหม่ก่อน เป็นต้น ระบบศาสนา ระบบแนวคิด นั้นไม่ใช่น้ำที่เข้าไปอยู่ในภาชนะใดแล้วจะแปรเปลี่ยนไปตามภาชนะ ภาชนะต่างหากที่ทำให้มองไม่เห็นน้ำและมองเห็นน้ำผิดไปจากที่มันควรจะเป็น ตัวอย่าง 1.พุทธ เมื่อเจอกับพราหมณ์ (บางนิกาย) ก็เกิดความเชื่อใหม่ เช่น นารายณ์ 10 ปาง,พระพุทธเจ้าเป็นอวตารของพระศิวะ,นิพพาน คือ ปรมาตมัน เป็นต้น2.พุทธ เมื่อเจอกับ ตันตระ ก็เกิดความเชื่อใหม่ เช่น การเพิ่มความเชื่อเรื่องพหุเทวนิยม,อิทธิปาฏิหารณ์,การดับกิเลสด้วยตัญหา เป็นต้น3.พุทธ เมื่อเจอกับ วัฒนธรรมในจีน ก็เกิดความเชื่อใหม่ เช่น หลอมรวมลัทธิเต๋า ขงจื๊อ และวัฒนธรรมพื้นถิ่นเข้าด้วยกัน,การถือศีลกินเจ,วรรณคดีไซอิ๋ว(ไม่ใช่บันทึกการเดินทางเสวียนจั้ง) เป็นต้น4.พุทธ เมื่อ เจอกับวัฒนธรรมและความเชื่อในญี่ปุ่น ก็เกิดความเชื่อใหม่ เช่น หลอมรวมลัทธิชินโตและวัฒนธรรมพื้นถิ่นเข้าด้วยกัน,การบรรลุธรรมฉับพลัน,การถือบวชโดยยังคงแต่งงานมีครอบครัว มีลูกหลาน และใช้ชีวิตอย่างฆราวาส5.พุทธ เมื่อ เจอกับวัฒนธรรมไทย ก็เกิดความเชื่อใหม่ เช่น หลอมรวมวัฒนธรรมลัทธิบูชาผีและวัฒนธรรมพื้นถิ่นเข้าด้วยกัน,การบวชเพื่อทดแทนคุณมารดา,พระเครื่อง เป็นต้นฯลฯ (ผสมวนกันไปมา แล้วเกิดเป็นชุดความเชื่อใหม่) ทั้งนี้ก็ขอย้ำอีกครั้งว่า ทุก ๆ ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ ต่างก็ถูกผู้คนทั้งหลายเอามาใส่ในภาชนะของตนแล้วมองผ่านเข้าไปโดยที่จนเข้าไม่ถึงจุดประสงค์สูงสุดใน ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นั้นๆ สิ่งนี้ยิ่งสะท้อนให้เราได้เห็นมุมมองที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นระบบความคิดซ้ายจัดก็ดี ขวาจัดก็ดี สุดท้ายเราก็แค่มองผ่านสิ่งบาง ๆ ที่ทั้งเหนียวและหนาพอจะบดบังสติปัญญาและความเป็นกลางโดยไร้ซึ่งอคติได้ สิ่งนั้นก็คือ การขาดชุดข้อมูลที่ถูกต้องตามหลักในแต่ละหลัก และการถือตัวตนจนบิดเบื้อนไปจากความเป็นจริง ก่อนที่จะแก้ไขอะไรเริ่มที่ตนเองก่อนเลยจบที่เราเบาที่สุด
ผมก็เป็นคนที่ได้ปฎิบัติธรรมแล้วเกิดสิ่งที่ดีกับชีวิต แค่เข้าใจมรรค8 ไม่ต้องรู้อะไรเยอะชีวิตก็ดีแล้วครับมรรค8 เป็นแค่หนึ่งในอริยสัจสี่ศาสนาพุทธจริงๆไม่ได้สอนให้เชื่อนะครับ สอนให้มีปัญญารู้ด้วยตนเอง จากการศึกษาและพบกัลยาณมิตร พุธเป็นศาสนาแห่งเหตุผล ท่านใดทำเหตุปัจจัยถึงก็จะเข้าในความหมาย แต่ผู้กล่าวตู่ ก็มีเยอะตั้งแต่สมัยพุทธกาล เป็นยังไงก็มีตัวอย่างพุธเราสอนให้ รู้โทษรู้ภัยของสังสารวัฏ สอนรู้อริยสัจสี่ หรือแม้กระทั่งรู้เรื่องอะตอมการเกิดของระบบสุริยจักรวาล ก็เป็นเรื่องอัศจรรย์ที่ทำไมพุทธศาสนาเรารู้ก่อนวิทยาศาสตร์ ผมเห็นแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์นะครับยัง ไม่เห็นสิ่งที่เป็นโทษเลยครับพุทธไม่เกี่ยวกับประเพณีและความเชื่อ หรือสิ่งที่ต้องทำตามกันมาเลย เกี่ยวกับความเข้า ธรรมชาติ ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์ ต้องพิสูจน์ได้
ชอบความกล้าที่คิดหัวข้อที่ดึงดูดคนให้เข้ามาฟัง และกล้าแสดงความคิดเห็นส่วนตัวแต่ขออนุญาตนะคะ มีหลายข้อมากที่ไม่เห็นด้วยเลย 1. คุณพยายามบอกคนฟังมาก ว่าพวกคุณเป็นฝ่ายเสรีนิยม ซึ่งเราไม่ค้านเลยค่ะ แต่ความคิดส่วนใหญ่คุณออกจะทางอนุรักษ์นิยมมากกว่านะคะ เพราะความคิดเห็นส่วนใหญ่ถูกครอบมาจากการศึกษาที่สอนมาผิดแท้ๆเลยค่ะ ขออนุญาตนะคะ อยากให้พวกคุณหาข้อมูลมากกว่านี้ ฟังอ.เบียร์ หรือ แพรี่ก็ได้ค่ะ หากเปิดใจแล้วก็ค่อยฟังคนที่อธิบายลึกขึ้นเรื่อยๆ แต่ยังเป็นฆราวาสอยู่ก็เช่น หมอบีค่ะ เขาดูเป็นหมอผีนะแต่เขาอธิบายธรรมนะ แต่หากไม่อยากฟังก็อ่านได้ค่ะความคิดเห็นเราอาจจะทำให้คุณ negative ต่อศาสนาพุทธมากขึ้นแล้วปิดใจ😂แต่หากคุณเป็นฝ่ายซ้ายจริงๆมันจะง่ายมากเลยค่ะที่จะยอมรับเรื่องนี้ ⏭️ หัวข้อนี้น่าจะเป็นการศึกษาไทยส่งผลให้เด็กในระะบบกศ.มองความเป็นพุทธผิดไป หรือ⏭️ สังคมไทยมีความเข้าใจต่อศาสนาพุทธน้อยมากเกินไปจนส่งผลให้คนส่วนใหญ่ในสังคมไม่เข้าถึงศาสนาและออกจากความเข้าใจไปเรื่อยๆ ส่งผลต่อเยาวชนที่รับฟัง มกกว่าค่ะเพราะตั้งแต่ฟังมาก็ไม่เกี่ยวกับพุทธทำให้บอบช้ำจริงๆ
เพลง ประกอบชื่อไรอะคะ ชอบมาก
ทำไมบรรดาสหายถึงรู้ศาสนา สมาธิลึกซึ้งจัง นับถือๆ
รร แทนที่จะสอนความรู้ แค่ดันเอาความเชื่อ มานำความรู้ ประเทศไทยถึง อยู่ได้แค่นี้ไม่ไปไหนซะที รายการทีวี ต่างๆเอาคนมาเถียงเรื่องความเชื่อ 5555
อันนี้ มุมมอง marx เลยครับ ศาสนาเป็นยาแก้ปวด
เอาเป็นว่าจัดการ ดิเลส ตัณหาได้ รู้ทันจิต ชีวิตมีสุข
Nice work
คุณธรรมจริยธรรมที่ปฏิเสธความดีงามในมนุษย์ เช่นศาสนา ที่บอกว่าคนล้วนเป็นสัตว์นรก ที่ไม่มีความดีอยู่ในตัว ดังนั้นจึงต้องสั่งสอนให้ทำดี โดยศาสนานั้น เป็นความเชื่อที่ผิดพวกคุณหลายๆครั้งเวลาช่วยเหลือคน แสดงความมีน้ำใจ หรืออยากจะทำงานให้ออกมาดี ก็ไมไ่ด้คิดทำให้ดีเพราะศาสนาสอนว่าชาติหน้าจะได้ขึ้นสวรรค์หรอกจริงไหม แท้จริงแล้วพวกเราทุกคนมีความดีอยู่ แต่ศาสนาคือความเชื่อที่ปฏิเสธแง่ความดีนี้ ในตัวพวกเราและกดเราให้ต่ำราวกับเดรัจฉาน เพื่อให้คุณค่าทุกอย่างในชีวิต ไปขึ้นอยู่กับศาสนาเสียให้สิ้น
ถ้าจะให้รัดกุมอยากให้นำอิสลาม กับคริสมาแบ่งปันตีแผ่ด้วยจะดีมาก
รู้สึกผู้พูดเหมารวมมากเกินไป เหมือนจินตนาการเอาลักษณะของคนที่ตัวเองไม่ชอบลักษณะต่าง ๆ มาสร้างให้เป็นตัวละครหนึ่ง สมมุติชื่อว่า “นาย ก”แล้วพ้อยของเรื่องที่คุยกันทั้งหมดนี้เพื่อจะบอกว่าคุณไม่เห็นด้วยกับตัวละครสมมุติ “นาย ก” คนนี้ยังไง แค่นั้นเช่น การที่คุณบอกว่า “คนเคร่งศาสนาพุทธจะต้องพ่วงด้วยการคลั่งเจ้า พ่วงมาด้วยการเป็นคนชอบเหยียดคนอื่น พ่วงมาด้วยการเป็นส่วนหนึ่งให้รัฐใช้ศาสนาเพื่อตอบสนองอุดมการณ์ของรัฐทุกคน”ซึ่งถามว่าในชีวิตจริงคนที่มีลักษณะครบทุกอย่างที่คุณว่ามาอยู่ในตัวคนเดียวมันจะมีซักกี่คนครับ?ในชีวิตจริงคนมีความคิดหลากหลายมากนะครับ กลุ่มมุสลิมปกป้องเจ้าก็มี แกนนำม็อบประท้วงระบบเจ้าที่ไปบวชศึกษาพระธรรมจริงจังก็มีการทำแบบนี้มันทำให้คนฟังจับต้นชนปลายไม่ได้ เลยไม่ได้รู้สึกคล้อยตามกับเรื่องที่ได้ฟังมาทั้ง 1 ชั่วโมงนี้เลยครับ
พวกพี่เป็น athiest หรอ
คนที่เชื่อในสิ่งที่ผิด และคนที่เชื่อในสิ่งที่ถูก มีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกัน คือคิดว่าสิ่งที่ตัวเองเชื่อนั้นถูก แต่พุทธคือความจริง ไม่ใช่ความเชื่อ ทนต่อการพิสูจน์ ลองศึกษาหาคำตอบด้วยตนเองโดยปราศจากอคติดูนะ หากเข้าถึงพุทธหรือรู้จักพุทธจริงๆ เราจะออกจากความเป็น "โมฆบุรุษ"
ลองถามตัวเองดูนะ ว่าเราวิพากษ์วิจารณ์ในสิ่งที่เราไม่รู้ ไม่เข้าใจจริงๆอยู่รึเปล่า เสียดายโอกาสนะ"บัญฑิต"
มิจฉาทิฏฐิ เชื่อในสิ่งผิด เพราะเชื่อตัวเอง สัมผัสเพียงลูบๆคล่ำๆ
เห็นด้วยเลยกับประเด็นการวิพากษ์ตัวบทของหลักธรรม เช่น ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว แต่ทำไมคนทำชั่วถึงได้ดี เลยทำให้เราสัมผัสได้ว่า การศึกษาถึงแก่นของศาสนาของผู้วิพากษ์มันตื้นเขินมาก ซึ่งถ้าวิพากษ์เฉพาะแค่ การนำศาสนามาใช้เป็นเครื่องมือประกอบสร้างความเป็นรัฐ ที่สร้างมายาคติ และมีอำนาจควบคุมความคิดของประชาชนผ่านกระบวนการที่ใช้ศาสนาเป็นเครื่องมือ อันนี้เห็นด้วย แต่ผู้วิพากษ์ไม่ควรโยงไปถึงหลักธรรมที่ผู้วิพากษ์ยังไม่ได้ศึกษาให้ถ่องแท้เสียก่อนแบบนี้ครับ
เกิดความคิดเห็นได้คับ เเต่ต้องรู้สิ่งที่ถูกด้วย เเละ ช่วยกันซักไซร้ ธรรม หรือ ความเป็นจริง ไม่ใช่ จริงลวง ที่ใครๆเขาป้อนให้
มโนสัญเจตนาหารจะพึงเห็นได้อย่างไร
เหมือนอย่างว่า มีหลุมถ่านเพลิงอยู่แห่งหนึ่ง ลึกมากกว่าบุรุษ เต็มไปด้วยถ่านเพลิง ไม่มีเปลว ไม่มีควัน ครั้งนั้นมีบุรุษคนหนึ่งอยากมีชีวิตอยู่ ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์เดินมา บุรุษสองคนมีกำลังจับเขาที่แขนข้างละคนคร่าไปสู่หลุมถ่านเพลิง ทันใดนั้นเอง เขามีเจตนาปรารถนาตั้งใจอยากจะให้ไกลจากหลุมถ่านเพลิง ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเขารู้ว่า ถ้าเขาจักตกหลุมถ่านเพลิงนี้ ก็จักต้องตายหรือถึงทุกข์แทบตาย ข้อนี้ฉันใด
เรากล่าวว่าพึงเห็นมโนสัญเจตนาหาร ฉันนั้นเหมือนกัน
เมื่ออริยสาวกกำหนดมโนสัญเจตนาหารได้แล้ว ก็เป็นอันกำหนดรู้ตัณหาทั้งสามได้แล้ว
เมื่ออริยสาวกกำหนดรู้ตัณหาทั้งสามได้แล้ว เรากล่าวว่าไม่มีสิ่งใดที่อริยสาวกพึงทำให้ยิ่งขึ้นไปกว่านี้อีกแล้ว
สวัสดีสหาย คิดว่าพวกคุณยัง define ในส่วนของ trauma ได้ไม่ชัดเจนพอ ถ้าคุณเปิด session ด้วยการอธิบายสิ่งที่คุณจะ discuss ก่อนน่าจะทำให้ชัดเจนขึ้น
ศาสนาเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่ง มนุษย์สร้างเครื่องมือและเครื่องมือก็หล่อหลอมมนุษย์เช่นกัน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ติดตามของศานาหนึ่งกับตัวศาสนานั้น ไม่ว่าจะเป็นตัวคนเองหรือตัวศาสนาต่างเป็นได้ทั้งน้ำและแก้ว มันไม่ fair ถ้าจะโทษตัวศาสนาอย่างเดียว แต่กระนั้นก็ต้องยอมรับว่าบางศาสนาสนับสนุนการใช้ศรัทธาโดยละเลยปัญญา บางศาสนาให้ความชอบธรรมกับการเผยแผ่ด้วยเปลวเพลิงแสงยานุภาพและการขู่เข็ญ
ในส่วนที่ศาสนากลายมาเป็นเครื่องมือกดขี่ข่มเหง ทางนี้เห็นว่าเป็นเพราะความหลงผิดของคนหมู่มากที่หยิบยื่นอำนาจและความชอบธรรมให้กับการกระทำใดๆที่เกี่ยวข้องกับศาสนามากเกินไป การเชิดชูขึ้นหิ้งบูชาปกป้องจนถึงขั้นว่าร้ายด้อยค่าหรือกีดกันแบ่งแยกผู้ไม่นับถือหรือผู้วิพากษ์วิจารณ์ ซ้ำบางครั้งมีการตอบโต้ผู้วิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงด้วย ศาสนามีกลไกในการควบคุมคนหมู่มากจึงถูกนำไปใช้การเมืองการปกครองแต่สิ่งนี้คือเครื่องมือ ไม่ว่าคุณจะตีหัวคนด้วยขวดน้ำหรือพิษมันก็เจ็บอยู่ดี และการให้ดื่มน้ำมากเกินไปก็เป็นพิษ ในขณะที่ยาพิษจะไม่ออกมาไล่กัดคุณถ้าวางมันไว้เฉยๆ(มั้ง?)
คุณสามารถมองแยกได้นะไม่ยากหรอก ดูที่ว่าตัวศาสนาสอนอะไร ที่คุณบอกว่าศาสนาพุทธไม่ Empower คน ทางนี้ก็สงสัยนะว่าทำไมคุณถึงคาดหวังว่าสิ่งนี้จะต้องทำ(แม้มานั่งคิดแล้วมันก็ Empower อยู่นะ-สอนให้คนรู้จักใช้ปัญญาพิจารณาตามเหตุปัจจัยเนี่ย แต่ถ้าคุณกำลังพูดถึง "พุทธแบบไทยๆ" อันนี้ก็คงยอมรับว่าเห็นมีการใช้ศรัทธาเกินปัญญาไปหน่อยในหลายครั้ง) หากคุณคิดว่าการไม่ยึดติดปล่อยวางเหมือนกับการละเลย แนะนำให้ไปอ่านใหม่
"ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว" คิดว่าน่าจะเป็นอะไรที่พูดกันเองจนติดปาก เพราะเราเข้าใจไปในแนวว่า Actions beget consequences มากกว่า จากนั้น label ต่างๆเช่น ถูกผิดดีงามทรามชั่ว จะโดนแปะเข้ามาด้วย ขันธ์ 5
หลายๆอย่างที่มันติด package(ลองดูตรรกะวิบัติที่ชื่อ Slippery slope) กันเพราะคนไทยจำนวนมาก(และดูเหมือนว่าพวกคุณบางคนก็ด้วย ดูจากความเข้าใจเกี่ยวกับศาสนาพุทธ ซึ่งทางนี้ก็ sympathise ได้นะ)ยังใช้วิธีการเชื่อเอาตาม Authority อยู่ เช่น เชื่อเพราะเป็นคนใหญ่คนโต เพราะคนพูดใส่เสื้อกาวน์ เป็นพ่อแม่ครูบาอาจารย์ เป็นพระนักบวช เพราะมันเขียนอยู่ในหนังสือ อยู่ในคัมภีร์ศาสนา เพราะคนหลายคนเชื่อ เพราะเป็น paper จากสำนักที่น่าเชื่อถือ(อันนี้ทำเองบ่อยเวลารีบๆอ่านมากๆแล้วไม่ได้อ่าน paper เอง)และ ฯลฯ ใน category ของการไม่ได้ใช้วิจารณญาณ
มอง Binary ได้แต่อย่ายึดติด หลายๆอย่างในโลกรวมถึงศาสนาพุทธเป็น spectrum
คุณไม่จำเป็นต้องแยกจิตใจกับสมองนะ จะเรียกว่าเป็นสิ่งเดียวกันก็ได้(สุดท้ายมันก็แค่ label ที่คุณแปะ) ความคิดเชิงตรรกศาสตร์ที่ฝึกฝนมาดีก็จะไม่ทอดทิ้งอารมณ์ความเป็นมนุษย์
ถ้าคุณ "เชื่อ" ในวิทยาศาสตร์แบบเดียวกับที่คุณเชื่อในศาสนาแปลว่าคุณไม่เข้าใจวิทยาศาสตร์และไม่ได้กำลังใช้หลักวิทยาศาสตร์อยู่ ถ้าคุณเริ่มต้นจากการยกวิทยาศาสตร์ให้เป็นอำนาจสิทธิขาดแปลว่าคุณเรียน"วิทยาศาสตร์"ที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์มาตั้งแต่แรก
"มีประโยชน์"=/=จริง จริง=/="ดีงาม" อย่าเผลอ equivocate กันล่ะ วิทยาศาสตร์คือหลักการตามหาความจริงในธรรมชาติ
ไหนๆก็เทียบกับOpium des Volkes พวกคุณลองคิดดูว่าทำไมถึง "สมัยก่อน" ต้องใช้ "ยาฝิ่น" แล้ว "เดี๋ยวนี้" เขายังหันกลับไปใช้ "ยาฝิ่น" อันเดิมหรือเปล่าหรือว่าเขาค้นคว้าวิจัยใช้ปัญญาแล้วเปลี่ยนเป็น "มอร์ฟีน" แทน มอรฟีนแรงกว่า opium 10 เท่าถึงแม้จะใช้สารกลุ่ม opioid เหมือนกัน ดังนั้นทางนี้เห็นว่าเปลือกของความเป็นศาสนา จะสลัดมันทิ้งไปก็ไม่เสียหายนะ สกัดเอาสาระตัวยาของมันออกมาสิ
Trauma ของพวกคุณอาจจะไม่ได้มาจากศาสนาก็ได้นะ แต่อาจมาจาก *Dogmatism* ที่มักสิ่งสู่อยู่ในศาสนาและแนวคิดต่างๆต่างหาก
57:50 Atheism มันมี Tone นะคุณ ลักษณะร่วมคือแค่ไม่เชื่อว่ามีพระเจ้า ไม่ใช่ positive claim ว่าพระเจ้าไม่มีจริง อันนี้บางคนจะเรียกว่า Hard Atheism และเสริมอีกอย่างว่าการวิจารณ์เราจึงไม่ทำที่ตัวบุคคล(ad hominem) แต่ควรจะโจมตีที่แนวคิด คนฟังก็ต้องมีสติด้วยไม่ใช่อะไรก็เขมือบเข้าไปในอัตตาหมด อยากเขียนเกี่ยวกับ part บริการสุขภาพและชนชั้นต่อนะแต่เต็ม
พุทธศาสนาที่ถูกใช้เป็นเครื่องมือ เพราะพุทธเกิดขึ้นมาจากปัญญาสอบสวนความจริงของโลกและชีวิตของพระพุทธเจ้า เป็นศาสนาแห่งสติปัญญา ธรรมชาติอันนี้จึงไม่มีกลไกทางอำนาจมาคุ้มครองตัวเอง พระพุทธเจ้าเองก็ตรัสบอกเสมอว่าศาสนาพุทธจะเจริญรุ่งเรืองหรือเสื่อมอยู่ที่การปฏิบัติให้เข้าถึงความจริงของพุทธบริษัทสี่ และก่อนปรินิพพานก็ตรัสบอกว่า โย โว อานันทะ ธัมโม จะ วินโย จ มยา เทสิโต ปัญญัตโต โส โว มมัจจะเยน สัตถา (ดูกรอานนท์ ธรรมและวินัยที่เราแสดงไว้แล้วนั่นแหละจักเป็นศาสดาของพวกเธอเมื่อเราล่วงลับไป) แต่ศาสนาอื่นเนี่ยม้นส่งทอดอำนาจเป็นอาณาจักรของมันเลย มีอาณาเขต (อาณาจักรพระเจ้า)มีทหารคุ้มครอง ศาสดาเนี่ยถือดาบนำหน้าเลยมันมีเปลือกหอยคุ้มครองในตัวแถมตัวศาสนาเองมันก็เป็นอำนาจปกครองและกฎหมายในตัว อันนี้อันตรายต่อคนมากไม่จำเป็นต้องไปรับใช้ใครเพื่อให้อยุ่รอด มันธรรมชาติของพุทธนะที่เวลาผ่านไปมันจำต้องวิ่งเข้าหาอำนาจหรือถูกอำนาจหรือสถาบันดึงมารับใช้ตัวเองได้ง่าย และมีเรื่องจริงน่าเศร้าคือเจ้าชายพุทธไปแต่งกับผู้หญิงอิสลามแม่งพาคนเปลี่ยนไปนับถืออิสลามทั้งประเทศ (ไปดูประวัติศาสตร์) พุทธหายวับไปเลย น่าใจหายอยู่นะ อันนี้มองในแง่ประวัติศาสตร์นะ ในแง่อื่นๆก็น่าสนใจ และเราคิดว่าปัญหาเทราม่าที่มาจากพุทธเราฟังแล้่่วเก็ตและน่าสนใจ และคิดว่าสามารถแก้ข้อสังสัยของพวกน้องๆได้
31:11 ในทางเถรวาท พระอาจารย์ที่ผมเคารพรูปหนึ่งอธิบายว่า การฆ่าสัตว์ไม่ว่าจะชนิดไหนเป็นบาปหมด แต่จะบาปมาก-น้อย ไม่ได้ขึ้นกับ “ขนาด” แต่ขึ้นกับ “คุณที่สัตว์ชนิดนั้น ๆ มีต่อคน” ครับ
ฆ่าสัตว์ที่มีคุณต่อคนมากก็บาปมาก ฆ่าสัตว์ที่มีคุณต่อคนน้อยก็บาปน้อย เช่น คนที่เขาใช้ควายไถนา คุณไปฆ่าควายเขา เขาเลยไถนาไม่ได้ สุดท้ายไม่มีข้าวกิน คุณก็บาปมากกว่าการตบยุงตายครับ
การที่จะนับว่าบาปมาก-น้อย มีวิธีการมองง่าย ๆ โดยไม่ต้องใช้หลักธรรมลึกซึ้งมาอธิบายเลย คือ ทำแล้วส่งผลให้ใช้ชีวิตลำบากมาก ก็คือบาปมาก ทำแล้วส่งพลให้ใช้ชีวิตลำบากน้อย ก็คือบาปน้อย เช่น
1. คุณฆ่าคนตาย เหยื่อที่ถูกคุณฆ่าเค้าก็มีคนรอบตัวที่โกรธแค้นคุณ และตามจะฆ่าล้างแค้นคุณอยู่ตลอดเวลา คุณก็ต้องอยู่อย่างหวาดระแวงกลัวคนมาตามฆ่า ใช้ชีวิตลำบากมาก = บาปมาก
2. คุณฆ่าหมาของเพื่อนบ้านตาย เจ้าของหมาเค้าก็แค้นมาก ตามกลั่นแกล้งคุณสารพัดอย่าง แต่อาจจะไม่ถึงกับอยากฆ่าคุณให้ตายตามหมาเขาไป คุณก็ใช้ชีวิตอย่างรำคาญใจที่ถูกเพื่อนบ้านเจ้าของหมาตามรังควาญกลั่นแกล้ง คุณใช้ชีวิตลำบากนิดหนึ่ง = บาปน้อยกว่าฆ่าคน
3. คุณตบยุงตาย มีโอกาสน้อยมากที่จะมีคนหรือยุงตัวอื่นมาโกรธแค้นที่คุณไปฆ่าเพื่อนของมันตายแล้วตามล้างแค้นคุณ คุณใช้ชีวิตได้ตามปกติ แต่รู้สึกผิดนิด ๆ = บาปน้อยกว่าการฆ่าคนและฆ่าหมาที่มีเจ้าของตาย ประมาณนั้นครับ
ในทางศาสนาพุทธใช่ครับ สัตว์ไม่เท่ากัน คนก็ไม่เท่ากันครับ ตราบใดที่คนไม่ได้ถูกผลิตมาจากโรงงานเดียวกันและถูกตั้งโปรแกรมให้คิด-ทำเหมือนกันทุกอย่าง
แต่คนไม่เท่ากันที่การกระทำครับ ไม่ใช่ไม่เท่ากันเพราะชาติกำเนิด เกิดมาต่ำทำตัวดีก็สูงขึ้นได้ เกิดมาสูงแต่ทำตัวชั่วก็ต่ำลงได้
โลกและจักรวาลมันไม่ได้มีระเบียบ สิ่งแปลกๆและน่าสนใจจึงเกิดขึ้น
บาปมากบาปน้อยขึ้นอยู่กับเจตนาในการฆ่าด้วย การพยายามตบยุงใช้เวลานานๆเจตนาที่เข้มข้นจึงทำให้เป็นอกุศลที่เข้มข้นเช่นกัน
ไม่เกี่ยวกับผลที่ทำให้ชีวิตลำบากมากน้อย ผู้ประหารนักโทษทำงานตามหน้าที่ที่สังคมยอมรับ แต่ต้องได้รับผลการกระทำนั้นเช่นกัน
เหมือนวีรบุรุษวีรสตรีไทย ผู้ประหารชีวิตข้าศึกศัตรู แม้ดังนั้นยังพึงได้รับผลของการประหารชีวิตมนุษย์
@@kanchonsubthaipanit8707 ถ้าคุณเป็นเพชฌฆาต คุณฆ่านักโทษที่ต้องโทษประหารตามคำพิพากษาสูงสุดตายตามหน้าที่ของคุณ คุณใช้ชีวิตอยู่ได้ตามปกติดี
แต่ถ้าวันไหนคุณหมั่นไส้ฆ่าเพื่อนบ้านตาย คุณจะกลายเป็นข่าวดัง โดนสังคมประนาม และโดนโทษจากกฎหมายสังคมครับ คุณจะใช้ชีวิตลำบากขึ้นในเรือนจำ
แน่นอนการฆ่าคนเป็นบาปหมด แต่การฆ่าคนบริสุทธิ คนที่มีคุณต่อสังคมจะเป็นบาปมากขึ้นไปอีก
ขอเห็นต่างครับ เพราะบริบทของกุศล อกุศล เป็นสิ่งที่รู้ได้เฉพาะตัว ดูที่เจตนาครับ ดังนั้นจะเป็นกุศล-อกุศล มากเท่าไหร่ ดูที่แรงปราถนา/ความเข้มข้นของเจตนา ซึ่งมักจะถูกยกตัวอย่างให้ง่ายว่า ฆ่าสัตว์ใหญ่บาปกว่าสัตว์น้อย เนื่องจาก ในอดีตการล้มสัตว์ใหญ่ ส่วนมากไม่สามารถฆ่าให้ตายได้ด้วยการสังหารเพียงครั้งเดียวได้ จึงทำให้ผู้ฆ่ามีเจตนาอันเข้มข้นต่อการฆ่าอยู่หลายวาระ ต่างจากการตบยุงตายที่ตบทีเดียว ซึ่งบางครั้งแทบไม่ได้ตั้งใจด้วยซ้ำ จึงทำให้ความเข้มข้นของเจตนาในการฆ่าระหว่างยุงกับวัวมันจึงต่างกัน จำนวนครั้งของการมุ่งสังหารก็ไม่เท่ากัน ซึ่งอ้างอิงได้จากไตรปิฎกที่ครั้งหนึ่งเคยมีเหล่าอุบาสก อุบาสิกา มาถามพระพุทธเจ้าว่า พระอรหันต์เหยียบย่ำมดแมลงตามทางจนตายเป็น อกุศล ไหม พระพุทธเจ้าก็ตอบว่า อกุศลไม่เกิดกับพระอรหันต์หมู่นั้นเนื่องจาก เจตนาต่อการพรากชีวิตของผู้อื่นไม่มี ดังนั้นถ้ามองในมุมที่เจ้าของโพสต์ว่า บาปที่เกิดขึ้นอยู่กับคุณประโยชน์ของสัตว์ชนิดนั้น แบบนี้พระอรหันต์ที่เหยียบย่ำมดแมลงก็ต้องบาปแล้วสิ แต่ถ้ามองตามเจตนา ความมุ่งร้ายสังหารแทน จะพบว่า อกุศลจะไม่เกิดกับพระอรหันต์เป็นแน่
กรอบที่พูดส่วนใหญ่เป็นการแชร์ประสบการณ์ ความคิด ความรู้สึกโดยอิงกับบริบทของสังคมในท้องถิ่นของผู้พูด ซึ่งไม่ได้เกิดจากการศึกษาในหัวข้อที่ว่า "ความเป็นพุทธไทยทำร้ายเราอย่างไร" เนื้อหาหลักเป็นการคาดเดาจากชุดความรู้เดิมของผู้พูด ในทางรัฐศาสตร์โดยอิงกับความเป็นพุทธซึ่งตอนนี้เป็นกระแสซะมากกว่า บลาๆๆ😊 หัวข้อน่าจะเป็น "ความเป็นพุทธกับบริบททางสังคมการเมืองแบบไทยๆ" น่าจะเข้ากับเนื้อหานี้มากกว่าครับ
สรุป ความเป็นพุทธไทยทำร้ายเราอย่างไร? ไม่มีในเนื้อหาที่พูดเลย เนื้อหามีแต่ความเชื่อในศาสนาพุทธกับการเมืองไทยล้วนๆ (ฝ่าย/ฝั่ง ซ้าย) ขอเดาว่าเป็นนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ 😅
ฟังจบแล้วได้แต่นึกสงสัยและสังเวชในใจลึก ๆ ว่า ศาสนาคือยาพิษ หรือ พิษที่แท้จริง คือ ผู้กระทำ ศาสนา จิตใจ อุดมการณ์ หรือ อีโก้(อัตตา) ของเรากันแน่
(คนเอามีดทำครัวไปทำร้ายคน สรุป
1.มีดทำครัวมันชั่วร้าย ?
2.คนเอามีดทำครัวไปใช้นั้นชั่วร้าย ?
3.เพราะทั้งการกระทำครบองค์ประกอบภายนอกและภายในสัมพันธ์กับผลแห่งการกระทำ จึงเกิดเหตุการณ์เหล่านั้นขึ้นเป็นลำดับ ?
4.เพราะฉันคิดว่าแบบนั้นมันชั่วร้าย มันจึงชั่วร้าย ?)
การที่เราไปพบไปเจอกับเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ เราควรโทษผู้กระทำ โทษศาสนา หรือ มองเห็นตามความเป็นจริงตามหลักเหตุหลักผลโดยปราศจากความอคติ กันแน่ นี่มันไม่แตกต่างกับตรรกะป่วย ๆ ที่เวลาเกิดโกรธเกลียดใครในห้องเรียนก็ปั่นกระแสให้ทุก ๆ คน หันไปเกลียด "คน" คนนั้น โดยโยงใยและชักแม่น้ำทั้งห้า มาอธิบายเสริมสร้างน้ำหนักและสร้างความน่าเชื่อถือให้กับตัวเอง ถามจริง ๆ เถอะ ว่าได้ศึกษาพุทธศาสนามาแล้วจริง ๆ หรือ เพียงแค่รู้มาเพียงเฉพาะเรื่องแล้วนำมานั่งถกกันในเรื่องที่ตัวเองรู้พอจะรู้และพอจะเข้าใจ (ควรไปศึกษาเพิ่มก่อนนะ เพราะมันพูดออกมาผ่านมุมมองของตัวเองโดยใช้ศาสนาเป็นคอนเทนต์) ด้วยความรู้เรื่องคำสอนในเถรวาทยังผิดเพี้ยนอยู่ เช่น
1.เรื่องผลแห่งกรรม(วิบาก) ทำไมคนทำชั่วได้ดีนี่ก็ผิด ควรไปศึกษามาใหม่ก่อน
2.การฆ่าสัตว์ใหญ่-เล็ก การฆ่าแบบนี้แบบนั้นบาปมากบาปน้อยนี่ก็ผิด ควรไปศึกษามาใหม่ก่อน
3.ศาสนาพุทธ กับกลุ่มความเชื่อที่เรียกว่า "มูฯ" นี่ก็ผิด ควรไปศึกษามาใหม่ก่อน
เป็นต้น
ระบบศาสนา ระบบแนวคิด นั้นไม่ใช่น้ำที่เข้าไปอยู่ในภาชนะใดแล้วจะแปรเปลี่ยนไปตามภาชนะ ภาชนะต่างหากที่ทำให้มองไม่เห็นน้ำและมองเห็นน้ำผิดไปจากที่มันควรจะเป็น ตัวอย่าง
1.พุทธ เมื่อเจอกับพราหมณ์ (บางนิกาย) ก็เกิดความเชื่อใหม่ เช่น นารายณ์ 10 ปาง,พระพุทธเจ้าเป็นอวตารของพระศิวะ,นิพพาน คือ ปรมาตมัน เป็นต้น
2.พุทธ เมื่อเจอกับ ตันตระ ก็เกิดความเชื่อใหม่ เช่น การเพิ่มความเชื่อเรื่องพหุเทวนิยม,อิทธิปาฏิหารณ์,การดับกิเลสด้วยตัญหา เป็นต้น
3.พุทธ เมื่อเจอกับ วัฒนธรรมในจีน ก็เกิดความเชื่อใหม่ เช่น หลอมรวมลัทธิเต๋า ขงจื๊อ และวัฒนธรรมพื้นถิ่นเข้าด้วยกัน,การถือศีลกินเจ,วรรณคดีไซอิ๋ว(ไม่ใช่บันทึกการเดินทางเสวียนจั้ง) เป็นต้น
4.พุทธ เมื่อ เจอกับวัฒนธรรมและความเชื่อในญี่ปุ่น ก็เกิดความเชื่อใหม่ เช่น หลอมรวมลัทธิชินโตและวัฒนธรรมพื้นถิ่นเข้าด้วยกัน,การบรรลุธรรมฉับพลัน,การถือบวชโดยยังคงแต่งงานมีครอบครัว มีลูกหลาน และใช้ชีวิตอย่างฆราวาส
5.พุทธ เมื่อ เจอกับวัฒนธรรมไทย ก็เกิดความเชื่อใหม่ เช่น หลอมรวมวัฒนธรรมลัทธิบูชาผีและวัฒนธรรมพื้นถิ่นเข้าด้วยกัน,การบวชเพื่อทดแทนคุณมารดา,พระเครื่อง เป็นต้น
ฯลฯ (ผสมวนกันไปมา แล้วเกิดเป็นชุดความเชื่อใหม่)
ทั้งนี้ก็ขอย้ำอีกครั้งว่า ทุก ๆ ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ ต่างก็ถูกผู้คนทั้งหลายเอามาใส่ในภาชนะของตนแล้วมองผ่านเข้าไปโดยที่จนเข้าไม่ถึงจุดประสงค์สูงสุดใน ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นั้นๆ สิ่งนี้ยิ่งสะท้อนให้เราได้เห็นมุมมองที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นระบบความคิดซ้ายจัดก็ดี ขวาจัดก็ดี สุดท้ายเราก็แค่มองผ่านสิ่งบาง ๆ ที่ทั้งเหนียวและหนาพอจะบดบังสติปัญญาและความเป็นกลางโดยไร้ซึ่งอคติได้ สิ่งนั้นก็คือ การขาดชุดข้อมูลที่ถูกต้องตามหลักในแต่ละหลัก และการถือตัวตนจนบิดเบื้อนไปจากความเป็นจริง
ก่อนที่จะแก้ไขอะไรเริ่มที่ตนเองก่อนเลย
จบที่เราเบาที่สุด
ผมก็เป็นคนที่ได้ปฎิบัติธรรมแล้วเกิดสิ่งที่ดีกับชีวิต แค่เข้าใจมรรค8 ไม่ต้องรู้อะไรเยอะชีวิตก็ดีแล้วครับมรรค8 เป็นแค่หนึ่งในอริยสัจสี่
ศาสนาพุทธจริงๆไม่ได้สอนให้เชื่อนะครับ สอนให้มีปัญญารู้ด้วยตนเอง
จากการศึกษาและพบกัลยาณมิตร
พุธเป็นศาสนาแห่งเหตุผล ท่านใดทำเหตุปัจจัยถึงก็จะเข้าในความหมาย แต่ผู้กล่าวตู่ ก็มีเยอะตั้งแต่สมัยพุทธกาล เป็นยังไงก็มีตัวอย่าง
พุธเราสอนให้ รู้โทษรู้ภัยของสังสารวัฏ สอนรู้อริยสัจสี่ หรือแม้กระทั่งรู้เรื่องอะตอมการเกิดของระบบสุริยจักรวาล ก็เป็นเรื่องอัศจรรย์ที่ทำไมพุทธศาสนาเรารู้ก่อนวิทยาศาสตร์
ผมเห็นแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์นะครับยัง ไม่เห็นสิ่งที่เป็นโทษเลยครับ
พุทธไม่เกี่ยวกับประเพณีและความเชื่อ หรือสิ่งที่ต้องทำตามกันมาเลย เกี่ยวกับความเข้า ธรรมชาติ ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์ ต้องพิสูจน์ได้
ชอบความกล้าที่คิดหัวข้อที่ดึงดูดคนให้เข้ามาฟัง และกล้าแสดงความคิดเห็นส่วนตัว
แต่ขออนุญาตนะคะ มีหลายข้อมากที่ไม่เห็นด้วยเลย
1. คุณพยายามบอกคนฟังมาก ว่าพวกคุณเป็นฝ่ายเสรีนิยม ซึ่งเราไม่ค้านเลยค่ะ แต่ความคิดส่วนใหญ่คุณออกจะทางอนุรักษ์นิยมมากกว่านะคะ เพราะความคิดเห็นส่วนใหญ่ถูกครอบมาจากการศึกษาที่สอนมาผิดแท้ๆเลยค่ะ ขออนุญาตนะคะ อยากให้พวกคุณหาข้อมูลมากกว่านี้ ฟังอ.เบียร์ หรือ แพรี่ก็ได้ค่ะ หากเปิดใจแล้วก็ค่อยฟังคนที่อธิบายลึกขึ้นเรื่อยๆ แต่ยังเป็นฆราวาสอยู่ก็เช่น หมอบีค่ะ เขาดูเป็นหมอผีนะแต่เขาอธิบายธรรมนะ แต่หากไม่อยากฟังก็อ่านได้ค่ะ
ความคิดเห็นเราอาจจะทำให้คุณ negative ต่อศาสนาพุทธมากขึ้นแล้วปิดใจ😂แต่หากคุณเป็นฝ่ายซ้ายจริงๆมันจะง่ายมากเลยค่ะที่จะยอมรับเรื่องนี้
⏭️ หัวข้อนี้น่าจะเป็นการศึกษาไทยส่งผลให้เด็กในระะบบกศ.มองความเป็นพุทธผิดไป หรือ
⏭️ สังคมไทยมีความเข้าใจต่อศาสนาพุทธน้อยมากเกินไปจนส่งผลให้คนส่วนใหญ่ในสังคมไม่เข้าถึงศาสนาและออกจากความเข้าใจไปเรื่อยๆ ส่งผลต่อเยาวชนที่รับฟัง มกกว่าค่ะ
เพราะตั้งแต่ฟังมาก็ไม่เกี่ยวกับพุทธทำให้บอบช้ำจริงๆ
เพลง ประกอบชื่อไรอะคะ ชอบมาก
ทำไมบรรดาสหายถึงรู้ศาสนา สมาธิลึกซึ้งจัง นับถือๆ
รร แทนที่จะสอนความรู้ แค่ดันเอาความเชื่อ มานำความรู้ ประเทศไทยถึง อยู่ได้แค่นี้ไม่ไปไหนซะที รายการทีวี ต่างๆเอาคนมาเถียงเรื่องความเชื่อ 5555
อันนี้ มุมมอง marx เลยครับ ศาสนาเป็นยาแก้ปวด
เอาเป็นว่าจัดการ ดิเลส ตัณหาได้ รู้ทันจิต ชีวิตมีสุข
Nice work
คุณธรรมจริยธรรมที่ปฏิเสธความดีงามในมนุษย์ เช่นศาสนา ที่บอกว่าคนล้วนเป็นสัตว์นรก ที่ไม่มีความดีอยู่ในตัว ดังนั้นจึงต้องสั่งสอนให้ทำดี โดยศาสนานั้น เป็นความเชื่อที่ผิด
พวกคุณหลายๆครั้งเวลาช่วยเหลือคน แสดงความมีน้ำใจ หรืออยากจะทำงานให้ออกมาดี ก็ไมไ่ด้คิดทำให้ดีเพราะศาสนาสอนว่าชาติหน้าจะได้ขึ้นสวรรค์หรอกจริงไหม แท้จริงแล้วพวกเราทุกคนมีความดีอยู่ แต่ศาสนาคือความเชื่อที่ปฏิเสธแง่ความดีนี้ ในตัวพวกเราและกดเราให้ต่ำราวกับเดรัจฉาน เพื่อให้คุณค่าทุกอย่างในชีวิต ไปขึ้นอยู่กับศาสนาเสียให้สิ้น
ถ้าจะให้รัดกุมอยากให้นำอิสลาม กับคริสมาแบ่งปันตีแผ่ด้วยจะดีมาก
รู้สึกผู้พูดเหมารวมมากเกินไป เหมือนจินตนาการเอาลักษณะของคนที่ตัวเองไม่ชอบลักษณะต่าง ๆ มาสร้างให้เป็นตัวละครหนึ่ง สมมุติชื่อว่า “นาย ก”แล้วพ้อยของเรื่องที่คุยกันทั้งหมดนี้เพื่อจะบอกว่าคุณไม่เห็นด้วยกับตัวละครสมมุติ “นาย ก” คนนี้ยังไง แค่นั้น
เช่น การที่คุณบอกว่า “คนเคร่งศาสนาพุทธจะต้องพ่วงด้วยการคลั่งเจ้า พ่วงมาด้วยการเป็นคนชอบเหยียดคนอื่น พ่วงมาด้วยการเป็นส่วนหนึ่งให้รัฐใช้ศาสนาเพื่อตอบสนองอุดมการณ์ของรัฐทุกคน”
ซึ่งถามว่าในชีวิตจริงคนที่มีลักษณะครบทุกอย่างที่คุณว่ามาอยู่ในตัวคนเดียวมันจะมีซักกี่คนครับ?
ในชีวิตจริงคนมีความคิดหลากหลายมากนะครับ กลุ่มมุสลิมปกป้องเจ้าก็มี แกนนำม็อบประท้วงระบบเจ้าที่ไปบวชศึกษาพระธรรมจริงจังก็มี
การทำแบบนี้มันทำให้คนฟังจับต้นชนปลายไม่ได้ เลยไม่ได้รู้สึกคล้อยตามกับเรื่องที่ได้ฟังมาทั้ง 1 ชั่วโมงนี้เลยครับ
พวกพี่เป็น athiest หรอ