Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
เมื่อได้ฟังคุณหอยอ่านจารึกแล้ว ผมนึกถึงอะไรรู้มั้ยครับคนไทโบราณ (สุโขทัย) ที่ไปเรียนเมืองนอก (ลังกาและละโว้ - แหล่งความรู้สมัยโบราณ) ที่พูดไทคำ สันสกฤตคำ มอญ-ขอมแบบละโว้อีกคำ ในยุคที่คนที่พูดภาษาไทอยู่อาศัยร่วมกับคนที่พูดภาษาอื่นๆ จนวิวัฒนาการเป็นภาษาไทยที่ผนวกเอาคำศัพท์จากหลากหลายภาษาจนสามารถใช้เป็นภาษากลางได้ (คนไทยมีแนวคิดเรื่อง Inclusion & Diversity ในสายเลือดมาตั้งแต่โบราณแล้วครับ ไม่ใช่แค่ภาษา แต่กลุ่มประชากรและวัฒนธรรมด้วย มีหลักฐานให้เห็นทั่วประเทศเลย ส่วนคนกลุ่มอื่นๆ มักจะต่อต้าน)ผมเข้าใจว่าคนที่พูดภาษาไท/ไตกระจายอยู่ทั่วไปตั้งแต่ตอนใต้ของจีนและตอนเหนือของเวียดนามลงมาถึงลาว ไทย เรื่อยมาจนถึงภาคใต้ของไทย อยู่ปะปนกับคนที่พูดภาษาอื่นๆ ตั้งแต่โบราณ ไม่ได้อพยพลงมาเป็นกลุ่มใหญ่ตามความเชื่อเก่า เพราะถ้าอพยพแบบนั้นจะมีการต่อต้านจากเจ้าถิ่น มีการรบราฆ่าฟันกัน แต่เราไม่เคยมีเลย แต่ก็อาจมีการเคลื่อนย้ายไปมาบ้าง จึงมีอิทธิพลของภาษาอื่นๆ รวมอยู่ด้วยจนกลายเป็นภาษาไทยแบบใหม่ที่แตกต่างจากไทลื้อ ลาว หรือไททางตอนใต้ของจีน (รับอิทธิพลจีน) หรือไทเดียนเบียนฟู (รับอิทธิพลญวน)แต่ทั้งนั้นทั้งนี้ คนไทยก็ไม่ได้หมายถึงเฉพาะคนที่พูดภาษาไทย แต่เป็นคนทั้งหมดที่มีสำนึกร่วมว่าเป็นคนบ้านเดียวกัน พวกเดียวกัน เกิดและโตมาด้วยกัน เตะตูดกันมา หากินและมีลูกหลานบนผืนแผ่นดินเดียวกันนี้ มากกว่าที่จะแบ่งแยกด้วยเชื้อชาติ ภาษาหรือวัฒนธรรม
สวัสดีครับทุกท่าน
สวัสดีค่ะอาจารย์
ชื่นชอบเนื้อหา และชื่นชมนะครับ รอชมทุกep.
รอep.99 จน ต้องนั่งฟัง วนวูบ สุโขทัย ทั้งหมด เเละศิลาจารึกหลักที่1 2รอบเเล้ว555
จากการศึกษามาบ้างสรุปได้ว่า มีกลุ่มคนที่พูดภาษาไทยอยู่ทั่วไปในผืนแผ่นดินใหญ่ในสุวรรภูมินานแล้ว ไม่ได้อพยพมาจากไหนแน่นอน แต่เราหลงทางไปว่า กลุ่มที่รับวัฒนธรรมพราหม์(ขอม) กับ กลุ่มรับวัฒนธรรมพุทธ (ทวารวดี)และกลุ่มที่รับวัฒนธรรมบูชาบรรพบุรุษ (จ้วง ไทยดำ ที่อยู่ในประเทศจีน)เป็นคนละพวก คนละเชื้อชาติ กัน อันเป็นเหตุให้มีการถกเถียงกันเสมอว่าใครเป็นเจ้าของ สิ่งก่อสร้างทางวัฒนธรรมทั้งหลายในแผ่นดินไทย ทั่งๆทึ่เราอยู่ตรงนี้มานาน แล้ว และกลุ่มผู้พูดภาษาไทยก็เป็นคนกลุ่มใหญ่ที่สุดของดินแดนสุวรรภูมินี้ และที่สำคัญเราไม่เคยอพยพไปไหนเลยนี่แหละ
ไปศึกษาพวกโครงกระดูกที่ขุดพบที่ภาคกลาง อายุ2000ปีขึ้นเป็นมอญเขมร ไม่มี DNAไทกะไดเลย คนไทยมีหลายเผ่าแล้วเผ่าไหนละอยู่มาก่อน คนพูดไทกะไดมาที่หลังลงมาผสมกับมอญเขมร เพราะผู้ปกครองเดิมเป็นมอญเขมร ถ้าเอาตามDNA ถ้าเอาจารึกไม่เกิน พ.ศ.1700ถ้าคนที่พูดไทกะไดอยู่มานานก็เป็นขี้ข้าพวกมอญเขมรมาก่อน
รู้สึกได้เลยว่าภาษาไทเดิมฟังคล้ายภาษาลาวหรือคำเมืองมาก เช่น การใช้คำว่า "เถิง" ซึ่งแปลว่า "ถึง" ออกเสียงแบบลาวเลยครับ คำว่า "เมือ" ภาษาอีสานแปลว่ากลับ เช่น เมือบ้าน หรือคำว่า "บ่" ซึ่งแปลว่าไม่ ปัจจุบันเราเปลี่ยนมาใช้คำว่า "ไม่" ซึ่งน่าจะเพี้ยนมาจากภาษาเขมรคำว่า "เมิน" คำว่า "แค้น" ในภาษาลาวก็แปลว่าติดขัด เช่น ข้าวแค้นคอ (ข้าวติดคอ)มีคำยืมภาษาเขมรเยอะมาก เช่น ผดาจ เพลิง เสวย ผชุม โขลญ ลำพง พาย (พง) สหาย สะอาด เสงี่ยม บังคม โอย (อวย) เดิน (ถเมิร) ฯลฯ แต่เราก็ยังคงพูดว่าขอมไม่ใช่เขมร หลังๆ มาเริ่มมีคนไทยเคลมว่าขอมเป็นสยามอีก ไปกันใหญ่ ทั้งๆ ที่ในศิลาจารึกนี้ก็บอกชัดว่าเราใช้คำว่าขอมในการเรียกผู้อื่น ไม่ได้เรียกคนไท ส่วนขอมจะเป็นได้ทั้งเขมรหรือมอญนั้นก็อาจเป็นไปได้ อย่างไรก็ตาม ทั้งภาษามอญและขอมเหมือนกันมาก แทบจะไม่ต่างจากไทยกับลาวเลยคำว่า "อัน" ผมเห็นคนเขมรเขาใช้กันบ่อยๆ นะครับ ความหมายเดียวกับที่ไทยใช้เลย ก็เลยไม่แน่ใจว่าคำนี้ใครยืมใครภาษาบาลี-สันสกฤตก็ใช้เยอะมาก
คลิปยาวหน่อยแต่ก็ฟังจนจบ เยี่ยมมากครับ
ขอบคุณมากครับอาจารย์ที่ให้ความรู้มาโดยตลอด ติดตามตลอดครับ
ขอบพระคุณครับน้าหอย งานแรร์สำหรับผมเลย ผมเก็บไว้เสพวัดหยุดตอนเช้าๆ เสียงนกร้องจิ๊บๆ ลมเอื่อยๆ แดดอ่อนๆ กาแฟดำ ฟินมากครับ
99099
ขอบคุณมากค่าอาจารย์
ฟังก็ยังยาก ผู้ผลิตคลิปนี้คงทำงานหนัก ข้อมูลเยอะมาก ต้องแปลอย่างหนัก ขอบคุณมากค่าอาจารย์
ผมนึกถึง บทกลอนจารึก มากกว่า เพื่อให้ข้อความจารึกได้ใจความ คล้ายๆ บาลีภาษาหรือสุภาษิต /ผญา/กาพย์แก้ว/ร้อยกลอนเดิม เชลียง เป็นชายแดน เชียงแสน-เมืองพระนคร (ประมาณ พ.ศ. 1700) น่าจะพังเพราะสงคราม ยุคหลังเลยสร้างศรีสัชนาลัย ข้างๆกันและมีสุโขทัย เป็นเมืองคู่กัน แรกๆคงเรียกแยกกัน หลังๆ เชลียงก็หมดความสำคัญกลายเป็นซากเมืองเก่าทั้งคู่เป็นเมืองใหญ่ ชายแดน เทียบๆประเทศราช ของเมืองพระนคร เทียบเท่าศรีเทพพ่อขุนศรีฯ ก็เป็นแม่ทัพ ยกไปยึดเมืองสุโขทัยคืนจาก มอญ ซึ่งก่อนนั้นมอญยกทัพตีเชียงแสนหลังเจ้าเมืองคนเก่าสิ้นบุญ(ท้าวพรหมมหาราช) คนสยามจึงอพยพหนีสงครามลงตามแม่น้ำลงมาเรื่อยๆ ยศพ่อขุนจึงยังอยู่ขณะครองเมืองและสืบมาตลอด ใน ขณะนี้ก็น่าจะมาเข้าร่วมกับ ชัย 7 แล้ว และได้กองทัพร่วมไปยึดสุโขทัยคืนหรือป้องกันเมืองจากมอญ พอชนะก็ให้รางวัลซื้อตัวมอญที่แพ้(กับไปก็อาจตาย)และการอวยยศข้าราชการลูกพ่อศรีฯ ปราบปรามกบฏที่เมืองเดิ่น(ละโว้ เมืองคู่กับศรีรามเทพนคร) ได้ก็ได้รางวัล ได้ไปครองเมืองลุ่ม(ศรีเทพ) น้ำท่วม เลยสร้างเมืองราดขึ้นแทน ได้ชื่อพ่อขุนผาเมือง พอพ่อศรีฯ สิ้น ลูกเขย จึงมีสิทธิครองราช(สุโขทัยก็พอๆกับเมืองราด) ซึ่งสมัยนี้ อินทรวรมันที่ 2 ปกครองอาณาจักรอยู่ แม่ทัพสายไศวะ+ปรเมศวร(ชัย 8) ก็ ชักจูงข้าราชการ ให้ยอมรับการส่งขอมสบาดฯไปยึดเมืองสุโขทัย(วางแผนฆ่า ผู้สืบบัลลังค์ทั้งหมด) จนไปครองเมือง แต่ฆ่าลูกหลานพ่อขุนศรีฯไม่ได้ เลยไม่ตามไปฆ่า จนไปสะสมกำลัง 10 ปีที่บางยางและเมืองราด จึงมายึดเมืองคืน(1781) ครองเมืองได้ก็จัดการบ้านเมืองร่วมกัน 2 อาณาจักร(ซึ่งจะให้พ่อขุนผาเมืองเป็นใหญ่ด้วยซ้ำ และวางแผนไปอยู่ข้างๆกันมาก่อนจึงสลวงสองแควไว้แล้ว) แล้วคลอดลูกกัน พ่อขุนรามคำแหง และพ่อคำแหงพระราม เกิดพร้อมๆกัน หลังแยกย้ายตอนเกิด นี่แหละ อาณาจักรเมืองราด ก็เจอ กองทัพขอมบุกมาก่อน ชัย 8 น่าจะมาเอง แต่สิงขรเทวีฆ่าตัวตาย ที่หวังย้ายไปหลบที่เมืองใหม่ สลวงสองแคว ก็จบลง พ่อขุนผาเมืองออกบวช เหลือแค่ลูกที่ไปอยู่เมืองใหม่ จนเกิดลูกชายอีก 3 คน (อินทรวรมันที่ 3 ,พ่อของรามาธิบดีที่ 1 และมหาเถรศรีศรัทธา) ส่วนอินทรวรมันที่ 2 ก็ตรอมใจตาย จากเหตุการณ์นี้ สั่งหยุดสงคราม ให้ครองเมืองสุโขทัยไป ชัย 8 ได้ครองราช ต่อ จนสุโขทัยมาประกาศเอกราช ช่วงที่ พ่อขุนรามคำแหงเรียนจบจากละโว้ ส่วนคำแหงพระรามท่านเบื่อสงคราม ครับ สงครามไม่ได้สร้างความสงบสุข ท่านจึงเอาสมบัติมาเข้ากับ สุโขทัย กระนั้นก็ยังมีคนมาบุกมาท้ารบหลายครั้ง จนลูกหลานแจ้งเกิด ทั้ง 3 สาย สืบมาเป็น สายราชวงศ์สุโขทัย อู่ทอง และนครศรีธรรมราช
ผมอ่านจนจบเลย ...เก็บใส่กระเป๋าความรู้ไว้ครับ ท่านไปได้ข้อมูลนี้มาจากที่ไหนครับ จากพระภิกษุที่นั่งสมธิแล้วดห็นอดีตชาติได้หรือป่าวครับ ใครไม่เชื่อช่างเขา แต่ผมเชื่อเรื่องการนั่งสมาธิเข้าฌาณ แล้วเห็นอดีตครับ ช่วงพารากราฟสุดท้าย ผมเชื่อเต็มร้อยว่า ปี พศ.1833พ่อขุนรามคำแหง ทำสงครามกับชัยวรมันที่8 และรบชนะ และยึดได้เมืองละโว้ เพราะปีก่อนหน้านั้น คือ ปี พศ.1830 พ่อขุนรามยกทัพไปช่วยพ่อขุนเม็งรายพระสหาย บุกโจมตีและยึด หริภุญชัย (และหลังจากนั้นพ่อขุนเม็งรายก็ได้สร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้น ) มีโอกาศเป็นไปได้ว่า พ่อขุนเม็งรายได้ส่งกองทัพ มาช่วยพ่อขุนราม รบชนะกองทัพของชัยวรมันที่8ด้วย และเมื่อยึดละโว้ได้ นั่นก็คือ ได้ครอบครองลุ่มน้ำเจ้าพระยาทั้งหมด รวมถึงยึดได้เมืองท่าอโยธยา และพ่อขุนรามคำแหง ท่านก็เดินทางส่งจิ้มก้อง ที่เมืองจีนสมัยราชวงศ์หยวน และได้ทำการค้าและนำช่างจีนมาสอนทำเครื่องถ้วยเคลือบแบบจีน และได้สร้างความเจริญเติบโตมั่งคั่ง ให้แก่กลุ่มคนไทยที่ลงมาตั้งเมืองที่สุพรรณบุรีและเมืองอู่ทอง
EP นี้ กับ EP หน้า เนื้อหาอย่างแน่นเลยครับ
ฟังอาจารย์ก็บ่อยอยู่นะครับ แต่พึ่งมารู้ว่าอาจารย์คนศรีสัชนาลัย ผมอยู่แถวเทศบาลหาดเสี้ยวหลังตลาดเลยครับ
ชอบมาก
ขอบคุณในสาระ.และ.ข้อมูล.
บ้านผมลำพูน ก็ใช้คำว่าเมือ สำเนียงไทลื้อ ไทยอง ไทใหญ่ ออกเสียงเป็น เมอ ผชุม ตัวนี้สะกดเหมือนหลักของอักษรล้านนา หรือตั๋วเมือง คือ คำที่ มี ร. กล้ำ มักจะออกเสียงเป็นอักษรตัวถัดไป เช่น ประ จะออกเสียงเป็น ผะ จะเห็นว่าคนทางเหนือ ออกเสียง ป เป็น ผ (อักษรล้านนาแถว [ บผปพม ] ) ส่วนคำว่า แคน ส่วนตัวผม คิดว่าน่าจะเป็น แค่น ซึ่งหมาย แข็ง เช่น เวลาหุงข้าวแล้วใส่น้ำน้อย จะหุงออกมาแบบแข็งๆ ก็บอกว่าข้าวแค่นไปหน่อย ส่วนอาการสำลัก จะเรียกว่า แก้น หรือแก้นข้าว ไม่ออกเสียงว่า แค้น
ที่บ้านอ.ศรีเทพจะเรียกหุงข้าวแข็งก็จะเรียกแค่นแต่ถ้ามีอาการเจ็บแบบเคล็ดขัดยอกก็จะเรียกมันแค้น และถ้ากินของแข็งๆกลืนไม่สะดวกจะเรียกว่ามันแค้นคอ(แค่นคอ)
ขอบคุณมากครับ ได้ความรู้มากเลยครับ
มาติดตามต่อแล้วนะครับ
ขอบคุณครับ สำหรับจารึกวัดศรีชุม
อาจารย์เหมือนรู้ว่าจะขับรถไกลวันไหน ฟังเพลินๆ ได้ความรู้ แถมแปบๆใกล้ถึงจุดหมาย#E2style
อยากเห็นภาพวัดประกอบด้วยอาจารย์
คำไทย มักเอาคำแปลหรือความหมายมารวมเป็นคำเดียว เช่น นาที 45:00 บ่ให้ฉิบบ่ให้หาย ปัจจุบันว่า ฉิบหาย (คำหยาบ) ฉิบ แปลว่า หาย, หาย แปลว่า ฉิบ เป็นต้น เพิ่มเติม "ลู่ทาง" ลู่ เป็นคำจีน แปลว่า ทาง, ทาง แปลว่า ลู่(คิดเห็นส่วนตัว ผิดพลาดอันใดชี้แนะได้)
สะท้อนความเป็รพหุสังคมครับ พูดให้คนทุกภาษาเข้าใจความหมาย เช่น ซื่อตรง (ซื่อคำไทย ตรงคำเขมร)
สำนวนจีนกลางก็ใช้คำว่า_ลู่ถาง_ครับหมายถึงทางที่ลื่นไหลไม่ติดขัดและไปได้สดวกครับ
ผมสนใจเรื่องนี้มากครับ
สาธุ
ตื่นเต้นครับ
จังหวัดชัยนาทมีวัดมเหยงค์ด้วยค่ะ
จุใจมากครับพี่หอย
สรหลวงสองแควอยู่ไหนครับ
ชอบมากค่ะ
สุดยอดครับ👍
🙏🏽
คนเหนือจะเข้าใจข้อความง่าย เพราะเป็นสำนวนและคำเมือง(ภาษาเหนือ)
เมืองลุมคือเมืองลุ่ม ล่าง หรือเปล่าครับ
สลวงสองแคว_น่าจะอ่านแบบชาวน่านชาวน่านอ่านเหมือนสลวงสวรรคและบวงสรวงสลวง_คือที่กว้างสวางไสวบนฟ้าครับ
เมืองศรีรามเทพนคร คือ เมืองอโยธยาเดิม ก่อนจะย้ายข้ามฝั่งแม่น้ำ ใช่ไหมครับ
สวัสดีครับผมดีใจที่ได้รู้จักกับท่านเนื่องจากผมก็เป็นคนที่เกิดศรีสขขนาลัยเหมือนกันครับ
โดนใจคับ5555นานเอาเรื่องแต่ความรุ้ทั้งนั้นขอบคุณนะคับพี่หอย
ตระกูลทางคุณแม่ผมคือนามสกุล. มีอำนาจ. แถวบ้านวังยายมากตำบลท่าขัยครับ
ส่วนผมเกิดที่บ้านหมอนสูง. ตำบลท่าชัยครับ
ตอนผมเด็กคุณแม่จะเล่าเรื่องนี้ให้ผมฟังบ่อยครั้งครับ
อ.ครับ เราเป็นคนไทย จากการที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมาตั้งแต่เด็ก ทางการศึกษามักจะบอกกับเราว่า กษัตริย์ซึ่งเป็นต้นตระกูลของชนชาติของเรา เรานับเริ่มต้นมาตั้งแต่พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ เราถือดังนี้ได้ไหมครับ หรือเราควรจะถือกษัตริย์องค์ใด สมัยใด ราชวงศ์ใด ขอบคุณมากครับ
เนื้อหาแน่นมากเลยครับขอบคุณมากๆ
ขอม...แปลว่าผู้คนที่อยู่...ข้างล่าง..หรือ..ทิศใต้...เคยฟังมาจากประวัติลาวครับ...
ใช่ครับ ผมก็เคยได้ยินชาวบ้านลับแลพูดถึง สบาด คือสาบาน
มีEP.เกี่ยวกับค่ายบางระจัน ไหมครับกดค้นหาคำก็หาไม่เจอ หรือยังไม่ได้ทำคลิปก็ไม่รู้
อันราม แปลว่า ไม่ใหญ่ไม่เล็ก กลางๆ / โอยทาน คือทำบุญทำทาน/ พ่อขุนรามคำแหงเสด็จไปไหว้พระ ที่วัดศรีชุม ท่านประทับช้างไป ช้างชื่อ รุจาคีรี 🙏💐😅😚
Fc ครับผม
ควรเปลี่ยนคำว่า “เขมร”เป็น “ขอม”เพราะ ขอม ไม่ใช่เขมร ภาษาขอม ไม่ใช่ภาษาเขมรสยามโบราณใช้อักษรขอม ที่มาจากภาษาปัลวะของอินเดียใต้ ต่อมาพัฒนาเป็นอักษรไทยจากบันทึกจีน พุกาม “ขอม” เป็นคำเรียกคนที่อยู่ทางใต้ ผสมผสานหลายชาติพันธ์ในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ขอมเป็นบรรพบุรุษของไทยเขมรเป็นทาสแรงงานในอาณาจักรขอม ที่มีนครวัดเป็นศก. เขมรก่อกบฏฆ่าล้างกษัตริย์ขอม ราชวงศ์วรมัน แล้วครอบครองดินแดน ทิ้งนครวัดให้รกร้างอยู่ในป่า
ขอม - เขมร ใช่พวกเดียวกันหรือไม่ ? โดย รศ.ดร.ศานติ ภักดีคำruclips.net/video/3vIKaeMJzI4/видео.html
เขมรอีสานใต้ ยังใช้ พี่2 น้อง1 ในการเซ่นผีบรรพบุรุษ โดยพี่เสียไก่2ตัว น้องเสียไก้1ตัว😊
บางคำในจารึก ทุกวันนี้ทางภาคเหนือยังใช้อยู่เลย แสดงว่า คำเมืองล้านนา กับคำไท ยังไงคะ?
ภาษามันเป็นตระกูลเดียวกันครับ
ความคิดเห็นส่วนตัวครับ คำว่า หลาน ผมขอให้ความหมายว่า เป็นเครือญาติเป็นลูกพี่ลูกน้องกันคำว่า หลาน มักจะได้ยินคนเฒ่าคนแก่ทางภาคอีสานใช้เรียกลูกพี่ลูกน้องกัน ใช้เรียกมาจนถึงทุกวันนี้ครับ ( ลูกพี่ลูกน้องที่อายุน้อยกว่าคนสมัยก่อนมักจะเรียกหลาน จะไม่เรียกน้อง ) ส่วนหลานแท้ๆก็เรียกหลานเหมือนกันครับ
ด้วยความเคารพ ในรายการยิ่ง ว่า เอง นะ ส่วนที่ลบเลือนไป ลองเอากล้องเลนจุลทัศน์ ส่งหาส่วนที่ลบเลือนหาย ตรงที่จารึกตัวอักษรรากฐานอาจตรวจพบ รากฐานตัวอักษรในส่วยที่น่าจะเป็น อาจพบรากฐานการบิ่นหรือลบเลือนได้ นะครับ (เพราะเคยตรวจสิ่งอื่นพบได้โดยนะเอียด ว่าเองนะ ) เพื่อเป็นประโยชน์ในหาค้นคว้าทางความรู้ด้านประวัติศาสตร์ต่อไป ด้วยความเคารพยิ่ง เจริญพร ขออภัยยิ่ง
เตร่ ยังมีใช้ในปัจจุบัน ในคำว่า เตร็ดเตร่ มักใช้กับคำว่าเที่ยว รวมเป็น เที่ยวเตร็ดเตร่
ขอบคุณครับ🙏🏼ที่ช่วยเพิ่มเติมความรู้และแนะนำแหล่งเรียนรู้มากๆๆ ช่วยให้ผมเข้าใจเรื่องราวในหลักศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงและไตรภูมิพระร่วงมากยิ่งขึ้นอีก🙏🏼👍👍
คำว่าได้เวรคืนเมือง สุโขทัย ศรีสัชนาลัย จากมอญเขมร ก็แปลว่าก่อนจะได้กลับมา ก็ต้องเคยเป็นของเจ้าศรีนาวนำถมมาก่อน
ในจารึกใช้คำว่า “เวนเมือง” ครับไม่ใช่เวนคืนคำว่า “เวน” = ยกให้
❤ Like.
ใครที่เพิ่งเข้ามาดูช่องนี้ บอกเลย ไปคลิปอื่นก่อนค่าาาา EP นี้ต้องมีสมาธินิดนึง ข้อมูลเยอะ ย่อยยาก ขอบคุณพี่หอยที่ทุ่มเทอย่างหนักในการย้อยข้อมูลเพื่อนำเสนอ กราบงามๆ สามที
🙏🏽🙏🏽🙏🏽
CA ❤️🐉❤️ USA
ยุคนี้ใช้คำเหนือคำอีสานเยอะมาก
งบ
จารึกหลักนี่เข้าใจยาก เป็นสำนวนที่ต่างจากหลัก1
เมือบ้านเมือเมือง ปิ๊กบ้าน ปิ๊กเมือง
บ้างก็ว่า บางขลัง ตามศิลาจารึก ว่า บางขลง
1.บางที "เมืองราดเมืองลุม" และ "เมืองราดเมืองสคา" ก็อาจจะเป็น"คำพ้องความ" เหมือน "ทุกแห่งทุกพาย" หรือ "ทุกหนทุกแห่ง" ก็ได้นะ2.เคยดูสารคดีประพาสต้น ร.5 แล้วมีตอนหนึ่งพูดถึงชนกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมีผมสีแดงเพลิง พอได้ยินคำว่า "อีแดงพะเลิง" ทำให้นึกถึงชนกลุ่มนี้ขึ้นมาทันทีเลย
พรนธิบาล ในความรู้สึกผมแวบแรกคือ ปรนนิบัต
สระหลวงคือพิจิตรปัจุบัน
ไม่ใช่ครับ
คำว่าแค่น และ แค้น ใช้ความหมายเดียวกันกับบ้านผมเลยครับ พัทลุง
เงือดก็ด้วย 555
เป็นคำลาวคำไทอีสานซึ่งหลายคำก็ยังใช้อยู่..บางคำคนรุ่นใหม่ไม่พูดแล้วเช่น..พายหนี/มาลุน(มาทีหลัง)/นางลุน=นางหล่า=ลูกคนเล็กหรือคนสุดท้อง/ทำอิ๊ด_ตำอิ๊ด=ทีแรก-ครั้งแรก..เป็นต้น
เมืองบางยาง มีการเชื่อว่าคือบริเวณเมืองนครไทย พิษณุโลก
ข
ฟังๆทำไมรู้สึกคล้ายจารึกพ่อขุนราม
ขอติงหน่อยครับที่ว่าเมืองตะวันตกถึงเมืองลำพูนนั้นไม่มีครับคำว่าลำพูนมีใข้สมัยร.5ครับที่ส่วนกลางยึดตามว่าลำปางครับผมสมัยก่อนคือหริภุญชัยนครครับ
กลับไปดูใหม่นะครับ ในจารึกเขียนว่า ละพูน ชัดเจนมากdb.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/25594
บันทึกศิลาจารึกยุคสุโขทัย ฟังดูแปลกๆขี่ช้าง ชนช้างกัน คนโน้นชนะ คนนี้ชนะแต่ไม่เคยบอกเลยว่า ยกกำลังพลมาเท่าไหร่ส่วนใหญ่ทำสงครามจะบอกจำนวนกองทัพทุกครั้งมีแต่จารึกสุโขทัย ไม่บอกเลยว่ากองทัพมีกี่คน ฟังแล้วคล้ายคน ยกพวกตีกัน ตอนพระเจ้าตากสินครองเมืองตาก มีทหารพร้อมรบทั้งเมืองแค่500คน สุโขทัยยุคขุนรามคำแหง คิดว่ามีคนซักเท่าไหร่ ระยะเวลาห่างกัน 488 ปี
มหิยังครัฏยังมีเรียกพระเจดีย์จอมทองที่พะเยาด้วยครับใช้คำนี้ในตำนานพระเจ้าเลียบโลก
อยากรู้เรื่องลักษณะการเขียนกับคำที่ใช้กันในแต่ละยุคคับ
คำที่คุณหอยพูดนั้นมันเป็นคำพูดของคนอีสานคะเพืยกแปว่าหันมาดู
เมืองฉอดจะเป็นเมืองแม่สอดได้หรือไม่
เวลาพิมพ์ข้อความในจารึกขอให้พื้นเป็นสีดำจะอ่านง่ายกว่าพื้นสีเหลืองค่ะ
เมื่อได้ฟังคุณหอยอ่านจารึกแล้ว ผมนึกถึงอะไรรู้มั้ยครับ
คนไทโบราณ (สุโขทัย) ที่ไปเรียนเมืองนอก (ลังกาและละโว้ - แหล่งความรู้สมัยโบราณ) ที่พูดไทคำ สันสกฤตคำ มอญ-ขอมแบบละโว้อีกคำ ในยุคที่คนที่พูดภาษาไทอยู่อาศัยร่วมกับคนที่พูดภาษาอื่นๆ จนวิวัฒนาการเป็นภาษาไทยที่ผนวกเอาคำศัพท์จากหลากหลายภาษาจนสามารถใช้เป็นภาษากลางได้ (คนไทยมีแนวคิดเรื่อง Inclusion & Diversity ในสายเลือดมาตั้งแต่โบราณแล้วครับ ไม่ใช่แค่ภาษา แต่กลุ่มประชากรและวัฒนธรรมด้วย มีหลักฐานให้เห็นทั่วประเทศเลย ส่วนคนกลุ่มอื่นๆ มักจะต่อต้าน)
ผมเข้าใจว่าคนที่พูดภาษาไท/ไตกระจายอยู่ทั่วไปตั้งแต่ตอนใต้ของจีนและตอนเหนือของเวียดนามลงมาถึงลาว ไทย เรื่อยมาจนถึงภาคใต้ของไทย อยู่ปะปนกับคนที่พูดภาษาอื่นๆ ตั้งแต่โบราณ ไม่ได้อพยพลงมาเป็นกลุ่มใหญ่ตามความเชื่อเก่า เพราะถ้าอพยพแบบนั้นจะมีการต่อต้านจากเจ้าถิ่น มีการรบราฆ่าฟันกัน แต่เราไม่เคยมีเลย แต่ก็อาจมีการเคลื่อนย้ายไปมาบ้าง จึงมีอิทธิพลของภาษาอื่นๆ รวมอยู่ด้วยจนกลายเป็นภาษาไทยแบบใหม่ที่แตกต่างจากไทลื้อ ลาว หรือไททางตอนใต้ของจีน (รับอิทธิพลจีน) หรือไทเดียนเบียนฟู (รับอิทธิพลญวน)
แต่ทั้งนั้นทั้งนี้ คนไทยก็ไม่ได้หมายถึงเฉพาะคนที่พูดภาษาไทย แต่เป็นคนทั้งหมดที่มีสำนึกร่วมว่าเป็นคนบ้านเดียวกัน พวกเดียวกัน เกิดและโตมาด้วยกัน เตะตูดกันมา หากินและมีลูกหลานบนผืนแผ่นดินเดียวกันนี้ มากกว่าที่จะแบ่งแยกด้วยเชื้อชาติ ภาษาหรือวัฒนธรรม
สวัสดีครับทุกท่าน
สวัสดีค่ะอาจารย์
ชื่นชอบเนื้อหา และชื่นชมนะครับ รอชมทุกep.
รอep.99 จน ต้องนั่งฟัง วนวูบ สุโขทัย ทั้งหมด เเละศิลาจารึกหลักที่1 2รอบเเล้ว555
จากการศึกษามาบ้าง
สรุปได้ว่า มีกลุ่มคนที่พูดภาษาไทยอยู่ทั่วไปในผืนแผ่นดินใหญ่ในสุวรรภูมินานแล้ว ไม่ได้อพยพมาจากไหนแน่นอน แต่เราหลงทางไปว่า กลุ่มที่รับวัฒนธรรมพราหม์(ขอม) กับ กลุ่มรับวัฒนธรรมพุทธ (ทวารวดี)และกลุ่มที่รับวัฒนธรรมบูชาบรรพบุรุษ (จ้วง ไทยดำ ที่อยู่ในประเทศจีน)เป็นคนละพวก คนละเชื้อชาติ กัน อันเป็นเหตุให้มีการถกเถียงกันเสมอว่าใครเป็นเจ้าของ สิ่งก่อสร้างทางวัฒนธรรมทั้งหลายในแผ่นดินไทย ทั่งๆทึ่เราอยู่ตรงนี้มานาน แล้ว และกลุ่มผู้พูดภาษาไทยก็เป็นคนกลุ่มใหญ่ที่สุดของดินแดนสุวรรภูมินี้ และที่สำคัญเราไม่เคยอพยพไปไหนเลยนี่แหละ
ไปศึกษาพวกโครงกระดูกที่ขุดพบที่ภาคกลาง อายุ2000ปีขึ้นเป็นมอญเขมร ไม่มี DNAไทกะไดเลย คนไทยมีหลายเผ่าแล้วเผ่าไหนละอยู่มาก่อน คนพูดไทกะไดมาที่หลังลงมาผสมกับมอญเขมร เพราะผู้ปกครองเดิมเป็นมอญเขมร ถ้าเอาตามDNA ถ้าเอาจารึกไม่เกิน พ.ศ.1700ถ้าคนที่พูดไทกะไดอยู่มานานก็เป็นขี้ข้าพวกมอญเขมรมาก่อน
รู้สึกได้เลยว่าภาษาไทเดิมฟังคล้ายภาษาลาวหรือคำเมืองมาก เช่น การใช้คำว่า "เถิง" ซึ่งแปลว่า "ถึง" ออกเสียงแบบลาวเลยครับ คำว่า "เมือ" ภาษาอีสานแปลว่ากลับ เช่น เมือบ้าน หรือคำว่า "บ่" ซึ่งแปลว่าไม่ ปัจจุบันเราเปลี่ยนมาใช้คำว่า "ไม่" ซึ่งน่าจะเพี้ยนมาจากภาษาเขมรคำว่า "เมิน" คำว่า "แค้น" ในภาษาลาวก็แปลว่าติดขัด เช่น ข้าวแค้นคอ (ข้าวติดคอ)
มีคำยืมภาษาเขมรเยอะมาก เช่น ผดาจ เพลิง เสวย ผชุม โขลญ ลำพง พาย (พง) สหาย สะอาด เสงี่ยม บังคม โอย (อวย) เดิน (ถเมิร) ฯลฯ แต่เราก็ยังคงพูดว่าขอมไม่ใช่เขมร หลังๆ มาเริ่มมีคนไทยเคลมว่าขอมเป็นสยามอีก ไปกันใหญ่ ทั้งๆ ที่ในศิลาจารึกนี้ก็บอกชัดว่าเราใช้คำว่าขอมในการเรียกผู้อื่น ไม่ได้เรียกคนไท ส่วนขอมจะเป็นได้ทั้งเขมรหรือมอญนั้นก็อาจเป็นไปได้ อย่างไรก็ตาม ทั้งภาษามอญและขอมเหมือนกันมาก แทบจะไม่ต่างจากไทยกับลาวเลย
คำว่า "อัน" ผมเห็นคนเขมรเขาใช้กันบ่อยๆ นะครับ ความหมายเดียวกับที่ไทยใช้เลย ก็เลยไม่แน่ใจว่าคำนี้ใครยืมใคร
ภาษาบาลี-สันสกฤตก็ใช้เยอะมาก
คลิปยาวหน่อยแต่ก็ฟังจนจบ เยี่ยมมากครับ
ขอบคุณมากครับอาจารย์ที่ให้ความรู้มาโดยตลอด ติดตามตลอดครับ
ขอบพระคุณครับน้าหอย
งานแรร์สำหรับผมเลย ผมเก็บไว้เสพวัดหยุดตอนเช้าๆ เสียงนกร้องจิ๊บๆ ลมเอื่อยๆ แดดอ่อนๆ กาแฟดำ ฟินมากครับ
99099
ขอบคุณมากค่าอาจารย์
ฟังก็ยังยาก ผู้ผลิตคลิปนี้คงทำงานหนัก ข้อมูลเยอะมาก ต้องแปลอย่างหนัก ขอบคุณมากค่าอาจารย์
ผมนึกถึง บทกลอนจารึก มากกว่า เพื่อให้ข้อความจารึกได้ใจความ คล้ายๆ บาลีภาษาหรือสุภาษิต /ผญา/กาพย์แก้ว/ร้อยกลอน
เดิม เชลียง เป็นชายแดน เชียงแสน-เมืองพระนคร (ประมาณ พ.ศ. 1700) น่าจะพังเพราะสงคราม ยุคหลังเลยสร้างศรีสัชนาลัย ข้างๆกันและมีสุโขทัย เป็นเมืองคู่กัน แรกๆคงเรียกแยกกัน หลังๆ เชลียงก็หมดความสำคัญกลายเป็นซากเมืองเก่า
ทั้งคู่เป็นเมืองใหญ่ ชายแดน เทียบๆประเทศราช ของเมืองพระนคร เทียบเท่าศรีเทพ
พ่อขุนศรีฯ ก็เป็นแม่ทัพ ยกไปยึดเมืองสุโขทัยคืนจาก มอญ ซึ่งก่อนนั้นมอญยกทัพตีเชียงแสนหลังเจ้าเมืองคนเก่าสิ้นบุญ(ท้าวพรหมมหาราช) คนสยามจึงอพยพหนีสงครามลงตามแม่น้ำลงมาเรื่อยๆ ยศพ่อขุนจึงยังอยู่ขณะครองเมืองและสืบมาตลอด ใน ขณะนี้ก็น่าจะมาเข้าร่วมกับ ชัย 7 แล้ว และได้กองทัพร่วมไปยึดสุโขทัยคืนหรือป้องกันเมืองจากมอญ พอชนะก็ให้รางวัลซื้อตัวมอญที่แพ้(กับไปก็อาจตาย)และการอวยยศข้าราชการ
ลูกพ่อศรีฯ ปราบปรามกบฏที่เมืองเดิ่น(ละโว้ เมืองคู่กับศรีรามเทพนคร) ได้ก็ได้รางวัล ได้ไปครองเมืองลุ่ม(ศรีเทพ) น้ำท่วม เลยสร้างเมืองราดขึ้นแทน ได้ชื่อพ่อขุนผาเมือง พอพ่อศรีฯ สิ้น ลูกเขย จึงมีสิทธิครองราช(สุโขทัยก็พอๆกับเมืองราด) ซึ่งสมัยนี้ อินทรวรมันที่ 2 ปกครองอาณาจักรอยู่ แม่ทัพสายไศวะ+ปรเมศวร(ชัย 8) ก็ ชักจูงข้าราชการ ให้ยอมรับการส่งขอมสบาดฯไปยึดเมืองสุโขทัย(วางแผนฆ่า ผู้สืบบัลลังค์ทั้งหมด) จนไปครองเมือง แต่ฆ่าลูกหลานพ่อขุนศรีฯไม่ได้ เลยไม่ตามไปฆ่า จนไปสะสมกำลัง 10 ปีที่บางยางและเมืองราด จึงมายึดเมืองคืน(1781) ครองเมืองได้ก็จัดการบ้านเมืองร่วมกัน 2 อาณาจักร(ซึ่งจะให้พ่อขุนผาเมืองเป็นใหญ่ด้วยซ้ำ และวางแผนไปอยู่ข้างๆกันมาก่อนจึงสลวงสองแควไว้แล้ว) แล้วคลอดลูกกัน พ่อขุนรามคำแหง และพ่อคำแหงพระราม เกิดพร้อมๆกัน หลังแยกย้าย
ตอนเกิด นี่แหละ อาณาจักรเมืองราด ก็เจอ กองทัพขอมบุกมาก่อน ชัย 8 น่าจะมาเอง แต่สิงขรเทวีฆ่าตัวตาย ที่หวังย้ายไปหลบที่เมืองใหม่ สลวงสองแคว ก็จบลง พ่อขุนผาเมืองออกบวช เหลือแค่ลูกที่ไปอยู่เมืองใหม่ จนเกิดลูกชายอีก 3 คน (อินทรวรมันที่ 3 ,พ่อของรามาธิบดีที่ 1 และมหาเถรศรีศรัทธา) ส่วนอินทรวรมันที่ 2 ก็ตรอมใจตาย จากเหตุการณ์นี้ สั่งหยุดสงคราม ให้ครองเมืองสุโขทัยไป
ชัย 8 ได้ครองราช ต่อ จนสุโขทัยมาประกาศเอกราช ช่วงที่ พ่อขุนรามคำแหงเรียนจบจากละโว้ ส่วนคำแหงพระรามท่านเบื่อสงคราม ครับ สงครามไม่ได้สร้างความสงบสุข ท่านจึงเอาสมบัติมาเข้ากับ สุโขทัย กระนั้นก็ยังมีคนมาบุกมาท้ารบหลายครั้ง จนลูกหลานแจ้งเกิด ทั้ง 3 สาย สืบมาเป็น สายราชวงศ์สุโขทัย อู่ทอง และนครศรีธรรมราช
ผมอ่านจนจบเลย ...เก็บใส่กระเป๋าความรู้ไว้ครับ ท่านไปได้ข้อมูลนี้มาจากที่ไหนครับ จากพระภิกษุที่นั่งสมธิแล้วดห็นอดีตชาติได้หรือป่าวครับ ใครไม่เชื่อช่างเขา แต่ผมเชื่อเรื่องการนั่งสมาธิเข้าฌาณ แล้วเห็นอดีตครับ ช่วงพารากราฟสุดท้าย ผมเชื่อเต็มร้อยว่า ปี พศ.1833พ่อขุนรามคำแหง ทำสงครามกับชัยวรมันที่8 และรบชนะ และยึดได้เมืองละโว้ เพราะปีก่อนหน้านั้น คือ ปี พศ.1830 พ่อขุนรามยกทัพไปช่วยพ่อขุนเม็งรายพระสหาย บุกโจมตีและยึด หริภุญชัย (และหลังจากนั้นพ่อขุนเม็งรายก็ได้สร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้น ) มีโอกาศเป็นไปได้ว่า พ่อขุนเม็งรายได้ส่งกองทัพ มาช่วยพ่อขุนราม รบชนะกองทัพของชัยวรมันที่8ด้วย และเมื่อยึดละโว้ได้ นั่นก็คือ ได้ครอบครองลุ่มน้ำเจ้าพระยาทั้งหมด รวมถึงยึดได้เมืองท่าอโยธยา และพ่อขุนรามคำแหง ท่านก็เดินทางส่งจิ้มก้อง ที่เมืองจีนสมัยราชวงศ์หยวน และได้ทำการค้าและนำช่างจีนมาสอนทำเครื่องถ้วยเคลือบแบบจีน และได้สร้างความเจริญเติบโตมั่งคั่ง ให้แก่กลุ่มคนไทยที่ลงมาตั้งเมืองที่สุพรรณบุรีและเมืองอู่ทอง
EP นี้ กับ EP หน้า เนื้อหาอย่างแน่นเลยครับ
ฟังอาจารย์ก็บ่อยอยู่นะครับ แต่พึ่งมารู้ว่าอาจารย์คนศรีสัชนาลัย ผมอยู่แถวเทศบาลหาดเสี้ยวหลังตลาดเลยครับ
ชอบมาก
ขอบคุณในสาระ.และ.ข้อมูล.
บ้านผมลำพูน ก็ใช้คำว่าเมือ สำเนียงไทลื้อ ไทยอง ไทใหญ่ ออกเสียงเป็น เมอ ผชุม ตัวนี้สะกดเหมือนหลักของอักษรล้านนา หรือตั๋วเมือง คือ คำที่ มี ร. กล้ำ มักจะออกเสียงเป็นอักษรตัวถัดไป เช่น ประ จะออกเสียงเป็น ผะ จะเห็นว่าคนทางเหนือ ออกเสียง ป เป็น ผ (อักษรล้านนาแถว [ บผปพม ] ) ส่วนคำว่า แคน ส่วนตัวผม คิดว่าน่าจะเป็น แค่น ซึ่งหมาย แข็ง เช่น เวลาหุงข้าวแล้วใส่น้ำน้อย จะหุงออกมาแบบแข็งๆ ก็บอกว่าข้าวแค่นไปหน่อย ส่วนอาการสำลัก จะเรียกว่า แก้น หรือแก้นข้าว ไม่ออกเสียงว่า แค้น
ที่บ้านอ.ศรีเทพจะเรียกหุงข้าวแข็งก็จะเรียกแค่นแต่ถ้ามีอาการเจ็บแบบเคล็ดขัดยอกก็จะเรียกมันแค้น และถ้ากินของแข็งๆกลืนไม่สะดวกจะเรียกว่ามันแค้นคอ(แค่นคอ)
ขอบคุณมากครับ ได้ความรู้มากเลยครับ
มาติดตามต่อแล้วนะครับ
ขอบคุณครับ สำหรับจารึกวัดศรีชุม
อาจารย์เหมือนรู้ว่าจะขับรถไกลวันไหน ฟังเพลินๆ ได้ความรู้ แถมแปบๆใกล้ถึงจุดหมาย
#E2style
อยากเห็นภาพวัดประกอบด้วยอาจารย์
คำไทย มักเอาคำแปลหรือความหมายมารวมเป็นคำเดียว เช่น นาที 45:00 บ่ให้ฉิบบ่ให้หาย ปัจจุบันว่า ฉิบหาย (คำหยาบ) ฉิบ แปลว่า หาย, หาย แปลว่า ฉิบ เป็นต้น
เพิ่มเติม "ลู่ทาง" ลู่ เป็นคำจีน แปลว่า ทาง, ทาง แปลว่า ลู่
(คิดเห็นส่วนตัว ผิดพลาดอันใดชี้แนะได้)
สะท้อนความเป็รพหุสังคมครับ พูดให้คนทุกภาษาเข้าใจความหมาย เช่น ซื่อตรง (ซื่อคำไทย ตรงคำเขมร)
สำนวนจีนกลางก็ใช้คำว่า_ลู่ถาง_ครับหมายถึงทางที่ลื่นไหลไม่ติดขัดและไปได้สดวกครับ
ผมสนใจเรื่องนี้มากครับ
สาธุ
ตื่นเต้นครับ
จังหวัดชัยนาทมีวัดมเหยงค์ด้วยค่ะ
จุใจมากครับพี่หอย
สรหลวงสองแควอยู่ไหนครับ
ชอบมากค่ะ
สุดยอดครับ👍
🙏🏽
คนเหนือจะเข้าใจข้อความง่าย เพราะเป็นสำนวนและคำเมือง(ภาษาเหนือ)
เมืองลุมคือเมืองลุ่ม ล่าง หรือเปล่าครับ
สลวงสองแคว_น่าจะอ่านแบบชาวน่านชาวน่านอ่านเหมือนสลวงสวรรคและบวงสรวงสลวง_คือที่กว้างสวางไสวบนฟ้าครับ
เมืองศรีรามเทพนคร คือ เมืองอโยธยาเดิม ก่อนจะย้ายข้ามฝั่งแม่น้ำ ใช่ไหมครับ
สวัสดีครับผมดีใจที่ได้รู้จักกับท่าน
เนื่องจากผมก็เป็นคนที่เกิดศรีสขขนาลัย
เหมือนกันครับ
โดนใจคับ5555นานเอาเรื่องแต่ความรุ้ทั้งนั้นขอบคุณนะคับพี่หอย
ตระกูลทางคุณแม่ผมคือนามสกุล. มีอำนาจ. แถวบ้านวังยายมาก
ตำบลท่าขัยครับ
ส่วนผมเกิดที่บ้านหมอนสูง. ตำบลท่าชัยครับ
ตอนผมเด็กคุณแม่จะเล่าเรื่องนี้ให้ผมฟังบ่อยครั้งครับ
อ.ครับ เราเป็นคนไทย จากการที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมาตั้งแต่เด็ก ทางการศึกษามักจะบอกกับเราว่า กษัตริย์ซึ่งเป็นต้นตระกูลของชนชาติของเรา เรานับเริ่มต้นมาตั้งแต่พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ เราถือดังนี้ได้ไหมครับ หรือเราควรจะถือกษัตริย์องค์ใด สมัยใด ราชวงศ์ใด ขอบคุณมากครับ
เนื้อหาแน่นมากเลยครับขอบคุณมากๆ
ขอม...แปลว่าผู้คนที่อยู่...ข้างล่าง..หรือ..ทิศใต้...เคยฟังมาจากประวัติลาวครับ...
ใช่ครับ ผมก็เคยได้ยินชาวบ้านลับแลพูดถึง สบาด คือสาบาน
มีEP.เกี่ยวกับค่ายบางระจัน ไหมครับกดค้นหาคำก็หาไม่เจอ หรือยังไม่ได้ทำคลิปก็ไม่รู้
อันราม แปลว่า ไม่ใหญ่ไม่เล็ก กลางๆ / โอยทาน คือทำบุญทำทาน/ พ่อขุนรามคำแหงเสด็จไปไหว้พระ ที่วัดศรีชุม ท่านประทับช้างไป ช้างชื่อ รุจาคีรี 🙏💐😅😚
Fc ครับผม
ควรเปลี่ยนคำว่า “เขมร”เป็น “ขอม”
เพราะ ขอม ไม่ใช่เขมร
ภาษาขอม ไม่ใช่ภาษาเขมร
สยามโบราณใช้อักษรขอม ที่มาจากภาษาปัลวะของอินเดียใต้ ต่อมาพัฒนาเป็นอักษรไทย
จากบันทึกจีน พุกาม “ขอม” เป็นคำเรียกคนที่อยู่ทางใต้ ผสมผสานหลายชาติพันธ์ในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ขอมเป็นบรรพบุรุษของไทย
เขมรเป็นทาสแรงงานในอาณาจักรขอม ที่มีนครวัดเป็นศก. เขมรก่อกบฏฆ่าล้างกษัตริย์ขอม ราชวงศ์วรมัน แล้วครอบครองดินแดน ทิ้งนครวัดให้รกร้างอยู่ในป่า
ขอม - เขมร ใช่พวกเดียวกันหรือไม่ ? โดย รศ.ดร.ศานติ ภักดีคำ
ruclips.net/video/3vIKaeMJzI4/видео.html
เขมรอีสานใต้ ยังใช้ พี่2 น้อง1 ในการเซ่นผีบรรพบุรุษ โดยพี่เสียไก่2ตัว น้องเสียไก้1ตัว😊
บางคำในจารึก ทุกวันนี้ทางภาคเหนือยังใช้อยู่เลย แสดงว่า คำเมืองล้านนา กับคำไท ยังไงคะ?
ภาษามันเป็นตระกูลเดียวกันครับ
ความคิดเห็นส่วนตัวครับ คำว่า หลาน ผมขอให้ความหมายว่า เป็นเครือญาติเป็นลูกพี่ลูกน้องกัน
คำว่า หลาน มักจะได้ยินคนเฒ่าคนแก่ทางภาคอีสานใช้เรียกลูกพี่ลูกน้องกัน ใช้เรียกมาจนถึงทุกวันนี้ครับ ( ลูกพี่ลูกน้องที่อายุน้อยกว่าคนสมัยก่อนมักจะเรียกหลาน จะไม่เรียกน้อง ) ส่วนหลานแท้ๆก็เรียกหลานเหมือนกันครับ
ด้วยความเคารพ ในรายการยิ่ง ว่า เอง นะ ส่วนที่ลบเลือนไป ลองเอากล้องเลนจุลทัศน์ ส่งหาส่วนที่ลบเลือนหาย ตรงที่จารึกตัวอักษรรากฐานอาจตรวจพบ รากฐานตัวอักษรในส่วยที่น่าจะเป็น อาจพบรากฐานการบิ่นหรือลบเลือนได้ นะครับ (เพราะเคยตรวจสิ่งอื่นพบได้โดยนะเอียด ว่าเองนะ ) เพื่อเป็นประโยชน์ในหาค้นคว้าทางความรู้ด้านประวัติศาสตร์ต่อไป ด้วยความเคารพยิ่ง เจริญพร ขออภัยยิ่ง
เตร่ ยังมีใช้ในปัจจุบัน ในคำว่า เตร็ดเตร่ มักใช้กับคำว่าเที่ยว รวมเป็น เที่ยวเตร็ดเตร่
ขอบคุณครับ🙏🏼ที่ช่วยเพิ่มเติมความรู้และแนะนำแหล่งเรียนรู้มากๆๆ ช่วยให้ผมเข้าใจเรื่องราวในหลักศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงและไตรภูมิพระร่วงมากยิ่งขึ้นอีก🙏🏼👍👍
คำว่าได้เวรคืนเมือง สุโขทัย ศรีสัชนาลัย จากมอญเขมร ก็แปลว่าก่อนจะได้กลับมา ก็ต้องเคยเป็นของเจ้าศรีนาวนำถมมาก่อน
ในจารึกใช้คำว่า “เวนเมือง” ครับ
ไม่ใช่เวนคืน
คำว่า “เวน” = ยกให้
❤ Like.
ใครที่เพิ่งเข้ามาดูช่องนี้ บอกเลย ไปคลิปอื่นก่อนค่าาาา EP นี้ต้องมีสมาธินิดนึง ข้อมูลเยอะ ย่อยยาก ขอบคุณพี่หอยที่ทุ่มเทอย่างหนักในการย้อยข้อมูลเพื่อนำเสนอ กราบงามๆ สามที
🙏🏽🙏🏽🙏🏽
CA ❤️🐉❤️ USA
ยุคนี้ใช้คำเหนือคำอีสานเยอะมาก
งบ
จารึกหลักนี่เข้าใจยาก เป็นสำนวนที่ต่างจากหลัก1
เมือบ้านเมือเมือง ปิ๊กบ้าน ปิ๊กเมือง
บ้างก็ว่า บางขลัง ตามศิลาจารึก ว่า บางขลง
1.บางที "เมืองราดเมืองลุม" และ "เมืองราดเมืองสคา" ก็อาจจะเป็น"คำพ้องความ" เหมือน "ทุกแห่งทุกพาย" หรือ "ทุกหนทุกแห่ง" ก็ได้นะ
2.เคยดูสารคดีประพาสต้น ร.5 แล้วมีตอนหนึ่งพูดถึงชนกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมีผมสีแดงเพลิง พอได้ยินคำว่า "อีแดงพะเลิง" ทำให้นึกถึงชนกลุ่มนี้ขึ้นมาทันทีเลย
พรนธิบาล ในความรู้สึกผมแวบแรกคือ ปรนนิบัต
สระหลวงคือพิจิตรปัจุบัน
ไม่ใช่ครับ
คำว่าแค่น และ แค้น ใช้ความหมายเดียวกันกับบ้านผมเลยครับ พัทลุง
เงือดก็ด้วย 555
เป็นคำลาวคำไทอีสานซึ่งหลายคำก็ยังใช้อยู่..บางคำคนรุ่นใหม่ไม่พูดแล้วเช่น..พายหนี/มาลุน(มาทีหลัง)/นางลุน=นางหล่า=ลูกคนเล็กหรือคนสุดท้อง/ทำอิ๊ด_ตำอิ๊ด=ทีแรก-ครั้งแรก..เป็นต้น
เมืองบางยาง มีการเชื่อว่าคือบริเวณเมืองนครไทย พิษณุโลก
ข
ฟังๆทำไมรู้สึกคล้ายจารึกพ่อขุนราม
ขอติงหน่อยครับที่ว่าเมืองตะวันตกถึงเมืองลำพูนนั้นไม่มีครับคำว่าลำพูนมีใข้สมัยร.5ครับที่ส่วนกลางยึดตามว่าลำปางครับผมสมัยก่อนคือหริภุญชัยนครครับ
กลับไปดูใหม่นะครับ ในจารึกเขียนว่า ละพูน ชัดเจนมาก
db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/25594
บันทึกศิลาจารึกยุคสุโขทัย ฟังดูแปลกๆ
ขี่ช้าง ชนช้างกัน คนโน้นชนะ คนนี้ชนะ
แต่ไม่เคยบอกเลยว่า ยกกำลังพลมาเท่าไหร่
ส่วนใหญ่ทำสงครามจะบอกจำนวนกองทัพทุกครั้ง
มีแต่จารึกสุโขทัย ไม่บอกเลยว่ากองทัพมีกี่คน
ฟังแล้วคล้ายคน ยกพวกตีกัน
ตอนพระเจ้าตากสินครองเมืองตาก มีทหารพร้อมรบทั้งเมืองแค่500คน
สุโขทัยยุคขุนรามคำแหง คิดว่ามีคนซักเท่าไหร่
ระยะเวลาห่างกัน 488 ปี
มหิยังครัฏยังมีเรียกพระเจดีย์จอมทองที่พะเยาด้วยครับใช้คำนี้ในตำนานพระเจ้าเลียบโลก
อยากรู้เรื่องลักษณะการเขียนกับคำที่ใช้กันในแต่ละยุคคับ
คำที่คุณหอยพูดนั้นมันเป็นคำพูดของคนอีสานคะเพืยกแปว่าหันมาดู
เมืองฉอดจะเป็นเมืองแม่สอดได้หรือไม่
เวลาพิมพ์ข้อความในจารึกขอให้พื้นเป็นสีดำจะอ่านง่ายกว่าพื้นสีเหลืองค่ะ