การวิจัยสำหรับมือใหม่ EP14: ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 15 сен 2024

Комментарии • 18

  • @Namnam-ui4vm
    @Namnam-ui4vm 8 месяцев назад +1

    คลิปของอาจารย์สุดยอดมากค่ะ เข้าใจง่าย กระชับ ถ้าไม่ได้อาจารย์หนูแย่เลย ขอบพระคุณมากๆค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  8 месяцев назад

      ขอบคุณครับ ฝากกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ

  • @kontharotmansakul866
    @kontharotmansakul866 8 месяцев назад +1

    ขอบคุณมากค่ะอาจารย์

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  8 месяцев назад

      ฝากกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @bell.69
    @bell.69 7 месяцев назад +1

    ขอบคุณมากเลยค่ะสำหรับความรู้ถ้าไม่ได้คลิปของอาจารย์หนูแย่เลย

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  7 месяцев назад

      ขอบคุณครับ ฝากกดติดตามช่องอาจารย์ และบอกต่อให้เพื่อน ๆ พี่ ๆ น้องๆ ที่กำลังเขียนงานวิจัยด้วยนะครับ
      ฝากหนูดูสถิติตัวอื่น ๆ และวิธีการเขียนใต้ตารางในบทที่ 4 และ บทที่ 5 ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ
      สุดท้ายนี้ หากหนูมีข้อสงสัย ให้สอบถามอาจารย์ได้นะครับ อาจารย์ยินดีแบ่งปันความรู้ให้ฟรีครับ ขอบคุณครับ

  • @sirins929
    @sirins929 2 года назад

    ชอบค่ะ ขอบคุณค่ะ

  • @user-td4yk5kq8b
    @user-td4yk5kq8b Год назад

    ขอบคุณค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  Год назад

      ขอบคุณครับ ฝากกดติดตาม กดไลท์ และกดแชร์ให้กับอาจารย์ด้วยนะครับ

  • @GaochaiNonyai
    @GaochaiNonyai 9 месяцев назад

    เจริญพรโยมอาจารย์ไม่เข้าใจการลงข้อมูลแบบสอบถามที่แยกข้อและแต่ละข้อ(ด้าน)มีข้อย่อย ในการเลือกใช้ตัวแปรA,B,.....

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  9 месяцев назад

      ถ้าผมเข้าใจไม่ผิด แสดงว่าหลวงพี่ออกแบบสอบถามเป็นองค์ประกอบย่อยของตัวแปรตามทฤษฎี เช่น ส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ในแบบสอบถาม ถามคำถามย่อย 4 ข้อ เพื่อเป็นตัวแทนของด้านผลิตภันฑ์ ดังนั้น หลวงพี่ต้องสร้างตัวแปรหุ่น (หรือ Dummy) ขึ้นมาก่อน ผมแนะนำให้หลวงพี่ดู EP13: ตัวแปรหุ่น เมื่อสร้างเสร็จแล้ว หากทำการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แนะนำให้หลวงพี่ดู EP52: ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานครับ
      หากผมยังไม่ได้ตอบคำถามหลวงพี่ ก็สอบถามเพิ่มเติมได้ครับ ผมยินดีแบ่งปันความรู้ให้กับหลวงพี่ครับ
      สุดท้ายนี้ ผมขอรบกวนหลวงพี่ช่วยกดติดตาม และบอกต่อให้กันคนที่กำลังทำวิจัยมือใหม่ทั้งหลายด้วยนะครับ กราบหลวงพี่ครับ

  • @arnisamy381
    @arnisamy381 6 месяцев назад

    อาจารย์คะ ถ้าเราจะทำแบบนี้ แต่เป็น 2 กลุ่มละคะ เหมือน โรคหอบหืด กับไม่เป็นหอบหืด แต่กลุ่ม ผช ผญ เท่าไหร่แบบนี้ล่ะ ไม่ใช่หาทีละกลุ่ม มีวิธีไหมคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  6 месяцев назад

      ถ้าอาจารย์เข้าใจหนูไม่ผิด อาจารย์ว่าหนูควรใช้สถิติความแปรปรวนสองทาง (Two-Way ANOVA) ครับ ที่ผ่านมาอาจารย์ยังไม่เคยใช้ครับ แต่เคยศึกษาสถิติตัวนี้สมัยเรียนปเอกครับ หนูลองศึกษาดูว่าตอบโจทย์หนูหรือไม่ครับ หากหนูอยากทำไปพร้อมกับอาจารย์ ก็ให้ IB มาที่เฟสอาจารย์ sumeth tuvadara แจ้งว่าตามมาจากช่องยูทูปของอาจารย์ อาจารย์จะทำไปพร้อมกับหนูครับ
      สุดท้ายนี้ ฝากหนูกดติดตาม และบอกต่อช่องอาจารย์ให้เพื่อน ๆ พี่ ๆ น้องๆ ทีกำลังเรียนหรือทำวิจัยแทนอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @user-mm9py9bv7h
    @user-mm9py9bv7h Год назад

    ชื่อโปรแกรมอะไรคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  Год назад

      SPSS ครับ ชื่อโปรแกรมแสดงด้านซ้ายมือบนของตารางครับผม ขอบคณครับที่เข้ามาศึกษาในช่องยูทูปของอาจารย์ ฝากกดไลท์ กดแชร์ หรือกดติดตามด้วยนะครับ

  • @ตยาs
    @ตยาs Год назад

    ทำไมช่องmissing=0คะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  Год назад +1

      ช่อง Missing เท่ากับ 0 ทุกตัวแปร แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามหรือตัวอย่าง จำนวน 385 คน ตอบคำถามข้อมูลส่วนบุคคลทุกตัวแปรครบทุกข้อครับ ตัวอย่างเช่น เพศ ผู้ตอบแบบสอบถาม 385 คน ตอบข้อนี้ทุกคนครับ จึงทำให้ช่อง Missing เท่ากับ 0 ไม่มีผู้ตอบแบบสอบถามคนใดใน 385 คนที่ไม่ได้ตอบข้อนี้ครับ หวังว่าอาจารย์ตอบคำถามหนูนะครับ ถ้าไม่ ก็ให้หนูถามมาใหม่นะครับ
      สุดท้ายนี้ อาจารย์ฝากกดติดตาม และ กดไลท์ เพื่อเป็นกำลังใจให้อาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ