ตรรกศาสตร์ ม.4 - การอ้างเหตุผล ต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่ (Step6/7)|TUENONG

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 5 июл 2024
  • เนื้อหา ตรรกศาสตร์ ม.4 เรื่อง การอ้างเหตุผล โดยใช้ตัวอย่าง แบบฝึกหัด 2.6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.4 เล่ม 1 ในโจทย์
    ข้อ 1.กำหนดให้ p,q และ r เป็นประพจน์ จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
    💕สนับสนุนพวกเราผ่านการซื้อของใน Shopee
    shope.ee/VV7ypL8Iz
    📕คลิปนี้ใช้เอกสารประกอบ D102 เอกสารประกอบ ตรรกศาสตร์
    สามารถสมัครสมาชิกได้ที่ :
    / @tuenong
    0:00 สรุปเนื้อหา การอ้างเหตุผลว่าสมเหตุสมผลหรือไม่
    1:39 การอ้างเหตุผล ข้อ 1
    4:52 การอ้างเหตุผล ข้อ 2
    8:51 การอ้างเหตุผล ข้อ 3
    11:49 การอ้างเหตุผล ข้อ 4
    🔥ดูเนื้อหาอื่นๆในบทนี้ได้ใน playlist
    • [TUENONG] ตรรกศาสตร์ ป...
    🌟อ่านเนื้อหาฉบับเต็มบนเว็บไซต์ได้เลยที่
    tuenong.com/ตรรกศาสตร์/
    🎵ติดต่องานโฆษณา
    E-mail : tuenong.th@gmail.com

Комментарии • 20

  • @PatcharaponPromson-fb2zh
    @PatcharaponPromson-fb2zh 3 месяца назад +2

    สอนดีจริงครับ

  • @NIPOON_nhoon_THOMPAT
    @NIPOON_nhoon_THOMPAT 2 года назад +2

    ขอบคุณมาก ๆ ค่ะ

  • @spata0124
    @spata0124 Год назад +2

    สอนดีมากครับบ

    • @TUENONG
      @TUENONG  Год назад

      ขอบคุณครับ

  • @nt5309
    @nt5309 2 года назад +3

    เฉลยquizหน่อยค่ะ

    • @TUENONG
      @TUENONG  2 года назад

      ถ้าตอบตรงๆ ตามโจทย์ก็จะสมเหตุสมผลครับ 🤓

  • @jittakornshonjan1961
    @jittakornshonjan1961 2 года назад +2

    นาทีที่8.06 อธิบายใหม่หน่อยครับ
    ทำไมถึงเขียน F T เเล้วค่อยนิเสธ
    ทั้งๆที่เราหาได้ T F

    • @jittakornshonjan1961
      @jittakornshonjan1961 2 года назад

      F T ที่คือ ~q v ~r
      ส่วนที่ต่อด้านร่าง คือ T(q) F(r)
      เเบบนี้ใช่ไหมครับ

    • @leonardanza0077
      @leonardanza0077 Год назад

      เราก้งงเหม่อนกัน สรุปไรอะ

    • @TUENONG
      @TUENONG  Год назад

      มันคือกระบวนการทดลองสุ่มครับ เราเลือกทำ T F ก่อนก็ได้นะ

  • @unknown3953.
    @unknown3953. 2 года назад +4

    ประเทศไทยเป็นประเทศที่เจริญแล้วนี่เขียนในรูปของการดำเนินการทางตรรกศาสตร์อย่างไรครับผม

  • @C--kq2tw
    @C--kq2tw Год назад

    ทำไมข้อ 4 ถึงไม่ขัดเเย้งตรง P อะครับ ในเมื่อตัวด้านหน้ามีนิเสธ P จากจริงกลายเป็นเท็จซึ้งเทียบกับตัวหลังที่เป็นจริงมันขัดอะครับ หรือผมสลับเอง5555

    • @TUENONG
      @TUENONG  Год назад

      ขอโทษด้วยครับ ยังไม่ค่อยเข้าใจคำถามนะ แต่เท่าที่เข้าใจคือ ทำไม P ในพจน์แรกถึงไม่ขัดแย้งกับ P พจน์กลางถูกไหมครับ
      ตอนนี้เรากำลังทดสอบความสมเหตุสมผล ซึ่งเราจะตรวจสัจนิรันดร์ (สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่คลิปก่อนหน้านี้) หมายความว่า ถ้าประพจน์มีโอกาสเป็นเท็จได้ ก็จะไม่เป็นสัจนิรันดร์ หรือไม่สมเหตุสมผล
      วิธีการตรวจสอบ โดยการลองแทนว่าให้ประพจน์นี้เป็นเท็จ สามารถทำได้ไหม ซึ่งถ้าแล้วมีเท็จเพียงกรณีเดียวคือ จริง ถ้าแล้ว เท็จ
      3 พจน์ ข้างหน้าเชื่อมกันด้วยและ จะเป็นจริงได้ก็ต่อเมื่อเป็นจริงทั้งหมด สรุปได้ว่า P ในพจน์กลางจะได้เป็น จริง
      ดังนั้นเราจึงสรุปได้ก่อนว่า P น่าจะเป็นจริงนะ ในพจน์แรกจึงลองแทน P มีค่าเป็นจริงไปด้วยครับผม
      เมื่อลองแทนทั้งหมดแล้วจะพบว่า ประพจน์นี้สามารถเป็นเท็จได้จริงๆนั่นละครับ
      ** เท็จถ้าแล้วจริง เป็นจริง นะครับ จะได้จริงทุกพจน์

  • @_aemmika9599
    @_aemmika9599 Год назад +4

    ถ้าวาง T,F ตรงตามต่ำแหน่งจะดีมากและเข้าใจมากขึ้น

    • @TUENONG
      @TUENONG  Год назад +1

      ขอบคุณสำหรับคำแนะนำครับ จะนำไปปรับปรุงนะครับ

  • @user-id4oh4cb8i
    @user-id4oh4cb8i 2 года назад +1

    สอนไม่เหมือนในชั้นเรียนเลย ในชั้นเรียนเขาให้ลากไปถึงแต่ล่ะสัญลักษ์แต่อันนี้ทำแยกเป็นเป็นวงเล็บ งง

    • @TUENONG
      @TUENONG  2 года назад

      เราเลือกวิธีที่เราคิดว่า สะดวกกับเราที่สุดครับ คณิตศาสตร์สามารถทำได้หลายวิธีครับ 😊

    • @user-mo4pz8cb3r
      @user-mo4pz8cb3r Год назад

      งงเหมือนกันค่ะ

  • @dolphinpub1
    @dolphinpub1 9 месяцев назад

    ไม่เข้าใจ

    • @TUENONG
      @TUENONG  9 месяцев назад

      ไม่เข้าใจตรงไหนถามได้เลยครับ
      เคยเรื่องบทเรื่อง สัจนิรันดร์หรือยังครับ