Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
โหหห น่ากังวลมาก ขอบคุณนะคะ ที่ทำรายการความรู้ดีดีแบบนี้มาให้รับชม
เยี่ยม เป็นความรู้ดี
ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆครับ อยากทราบว่าไมโครพลาสติกจะมีอยู่ในพืชบ้างรึเปล่าครับ
ดีคะ ได้ความรู้
ชอบรายการและชอบปอยฮะ
ชอบคุณปอยครับ น่ารักดี อิอิ
แล้วไมโครพลาสติคในปลา ที่ผ่านกระบวนการทำอาหาร(ความร้อน)จะส่งผลอะไรต่อร่างกายไหมครับ
อาจจะมีเล็กน้อย แต่ระยะยาวอาจจะมีผลเพราะมันถูกความร้อนและจะมีพวกสารเติมแต่งพลาสติกระเหยออกมา
🙏🙏🙏
ปลาน้ำจืดมีมั้ยครับ
ผมคิดว่ามีนะ เพราะมันมาจากขยะก็ได้เหมือนกัน
สิ่งที่กินใกล้ตัว อย่างน่ากลัวเลย
เครียด...
หน้าดารานางแบบสมัยนี้มีพลาสติกทั้งนั้น😅😅
ผมเคยกินไส้กรอก เเล้วลืมเเกะพลาสติกออก เเต่ตอนขี้ออกมาก็ไม่เจอ พลาสติกเลยครับ เเต่ตอนกินเคี้ยวละเอียดมากๆ งง เหมือนกัน เเละ ผมจะเป็นอะไรไหม
💖🌹💖🌹💖🌹💖🌹💖🌹💖🌹💖
ดูวิธีทดลองแล้วเหมือนเอาเฉพาะส่วนกะเพาะของปลามาเทสต์ ซึ่งจริงๆกะเพาะกับไส้ปลา คนก็ตัดทิ้งเป็นส่วนใหญ่ มีการเทสต์หาพลาสติกในเนื้อของปลา ที่เป็นจุดที่คนรับประทานจริงๆมั้ยคะ?
ในทางวิทยาศาสตร์แบบนี้คือการสุ่มตรวจค่ะ ซึ่งการตรวจกระเพาะคือที่ๆคิดว่าจะตรวจเจอได้เยอะกว่าอย่างที่อาจารย์บอกค่ะว่ามันซึมเข้ากระเพาะ และถ้าในกระเพาะมี ในเนื้อปลาก็อาจจะมีค่ะ เพราะไมโครพลาสติกเล็กมากนะคะ ตาเรามองไม่เห็นค่ะ
มีการตรวจจริงค่ะ ภาพที่ส่องจากไมโครสโคปคืออุจจาระค่ะ แต่ไม่มีผลออกมาในตอนที่ถ่ายทำ เนื่องจากเครื่องมีปัญหา ทางแล็บจุฬาจึงส่งผลตรวจมาให้ทีหลัง ซึ่งอยู่ในตารางช่วงท้ายที่คุยสรุปส่วนวิธีการผ่าปลานั้นเป็นการแสดงตัวอย่างให้ดูเฉยๆว่า ขั้นตอนที่ทางแล็บทำเป็นยังไง แต่ในความจริงการตรวจทดลองใช้เวลาเป็นอาทิตย์ค่ะ ตัวอย่างที่แล็บเอามาโชว์คือตัวอย่างที่ส่งมาก่อนแต่แรกแล้ว เป็นคนละวันกัน ขออภัยในความผิดพลาด และขอบคุณสำหรับคำติชมค่ะ
หมายถึง สงสัยว่า พลาสติกที่พบในปลา พบในระบบทางเดินอาหารปลาหรือพบว่าซึมเข้าไปอยู่ในเนื้อปลาน่ะค่ะ 😅
@@peachblossomonthemoon6213คือเจอใน digestive system เข้าใจค่ะว่ามีโอกาสเจอได้มาก เพราะลอยจากน้ำเข้าระบบย่อยโดยตรง (เข้าใจว่าที่บอก8ในสิบคือส่วนนี้) แต่อยากทราบว่าปลาเค้าดูดซึมพลาสติกเข้าสู่เนื้อปลาได้มากน้อยแค่ไหนด้วยค่ะ เพราะปกติถ้าดูดซึมได้น้อย โอกาสมาถึงคนก็น่าจะไม่มากค่ะ
ซึ่งถ้าเป็นแบบนั้น สัตว์น้ำที่อาจเป็นพาหะไมโครพลาสติกสู่คนได้มาก จะเป็นกลุ่มปลาขนาดเล็กที่ไม่มีขั้นตอนการขัด digestive track (รับประทานทั้งตัว เช่นปลาข้าวสาร) หอยด้วยค่ะ รวมไปถึงผลิตภัณฑ์หมักดองจากสัตว์น้ำเล็กๆพวกนี้ด้วยค่ะ มากกว่าจะเป็นปลาที่เรารับประทานเฉพาะเนื้อ อันนี้อาจจะต้องขออภัยว่า ไม่มีความรู้เรื่องการดูดซึมพลาสติกของปลาที่เราทานเนื้อน่ะค่ะ เลยมาถามว่าเทสเจอที่เนื้อด้วยไหม
🤟💚
Episode: Plastic - shit and fish
น่ากลัวมาก - -*
🚮🤔💙🐳🚯🏖️
โหหห น่ากังวลมาก ขอบคุณนะคะ ที่ทำรายการความรู้ดีดีแบบนี้มาให้รับชม
เยี่ยม เป็นความรู้ดี
ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆครับ อยากทราบว่าไมโครพลาสติกจะมีอยู่ในพืชบ้างรึเปล่าครับ
ดีคะ ได้ความรู้
ชอบรายการและชอบปอยฮะ
ชอบคุณปอยครับ น่ารักดี อิอิ
แล้วไมโครพลาสติคในปลา ที่ผ่านกระบวนการทำอาหาร(ความร้อน)
จะส่งผลอะไรต่อร่างกายไหมครับ
อาจจะมีเล็กน้อย แต่ระยะยาวอาจจะมีผลเพราะมันถูกความร้อนและจะมีพวกสารเติมแต่งพลาสติกระเหยออกมา
🙏🙏🙏
ปลาน้ำจืดมีมั้ยครับ
ผมคิดว่ามีนะ เพราะมันมาจากขยะก็ได้เหมือนกัน
สิ่งที่กินใกล้ตัว อย่างน่ากลัวเลย
เครียด...
หน้าดารานางแบบสมัยนี้มีพลาสติกทั้งนั้น😅😅
ผมเคยกินไส้กรอก เเล้วลืมเเกะพลาสติกออก เเต่ตอนขี้ออกมาก็ไม่เจอ พลาสติกเลยครับ เเต่ตอนกินเคี้ยวละเอียดมากๆ งง เหมือนกัน เเละ ผมจะเป็นอะไรไหม
💖🌹💖🌹💖🌹💖🌹💖🌹💖🌹💖
ดูวิธีทดลองแล้วเหมือนเอาเฉพาะส่วนกะเพาะของปลามาเทสต์ ซึ่งจริงๆกะเพาะกับไส้ปลา คนก็ตัดทิ้งเป็นส่วนใหญ่
มีการเทสต์หาพลาสติกในเนื้อของปลา ที่เป็นจุดที่คนรับประทานจริงๆมั้ยคะ?
ในทางวิทยาศาสตร์แบบนี้คือการสุ่มตรวจค่ะ ซึ่งการตรวจกระเพาะคือที่ๆคิดว่าจะตรวจเจอได้เยอะกว่าอย่างที่อาจารย์บอกค่ะว่ามันซึมเข้ากระเพาะ และถ้าในกระเพาะมี ในเนื้อปลาก็อาจจะมีค่ะ เพราะไมโครพลาสติกเล็กมากนะคะ ตาเรามองไม่เห็นค่ะ
มีการตรวจจริงค่ะ ภาพที่ส่องจากไมโครสโคปคืออุจจาระค่ะ แต่ไม่มีผลออกมาในตอนที่ถ่ายทำ เนื่องจากเครื่องมีปัญหา ทางแล็บจุฬาจึงส่งผลตรวจมาให้ทีหลัง ซึ่งอยู่ในตารางช่วงท้ายที่คุยสรุป
ส่วนวิธีการผ่าปลานั้นเป็นการแสดงตัวอย่างให้ดูเฉยๆว่า ขั้นตอนที่ทางแล็บทำเป็นยังไง แต่ในความจริงการตรวจทดลองใช้เวลาเป็นอาทิตย์ค่ะ ตัวอย่างที่แล็บเอามาโชว์คือตัวอย่างที่ส่งมาก่อนแต่แรกแล้ว เป็นคนละวันกัน
ขออภัยในความผิดพลาด และขอบคุณสำหรับคำติชมค่ะ
หมายถึง สงสัยว่า พลาสติกที่พบในปลา พบในระบบทางเดินอาหารปลาหรือพบว่าซึมเข้าไปอยู่ในเนื้อปลาน่ะค่ะ 😅
@@peachblossomonthemoon6213คือเจอใน digestive system เข้าใจค่ะว่ามีโอกาสเจอได้มาก เพราะลอยจากน้ำเข้าระบบย่อยโดยตรง (เข้าใจว่าที่บอก8ในสิบคือส่วนนี้) แต่อยากทราบว่าปลาเค้าดูดซึมพลาสติกเข้าสู่เนื้อปลาได้มากน้อยแค่ไหนด้วยค่ะ เพราะปกติถ้าดูดซึมได้น้อย โอกาสมาถึงคนก็น่าจะไม่มากค่ะ
ซึ่งถ้าเป็นแบบนั้น สัตว์น้ำที่อาจเป็นพาหะไมโครพลาสติกสู่คนได้มาก จะเป็นกลุ่มปลาขนาดเล็กที่ไม่มีขั้นตอนการขัด digestive track (รับประทานทั้งตัว เช่นปลาข้าวสาร) หอยด้วยค่ะ รวมไปถึงผลิตภัณฑ์หมักดองจากสัตว์น้ำเล็กๆพวกนี้ด้วยค่ะ มากกว่าจะเป็นปลาที่เรารับประทานเฉพาะเนื้อ อันนี้อาจจะต้องขออภัยว่า ไม่มีความรู้เรื่องการดูดซึมพลาสติกของปลาที่เราทานเนื้อน่ะค่ะ เลยมาถามว่าเทสเจอที่เนื้อด้วยไหม
🤟💚
Episode: Plastic - shit and fish
น่ากลัวมาก - -*
🚮🤔💙🐳🚯🏖️