Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
อาจารย์ครับสวดพาหุง คำว่าค์รีเมคะลัง หลายคนออกเสียงว่า ครีเมคะลัง หรือออกเสียงว่า คะรีเมคะลัง คำไหนถูกต้องครับ ผมเห็นในหนังสือฉบับหนึ่งให้ออกเสียงคะรีเมคะลัง แต่ก็ยังสับสนเพราะเห็นพระท่านสวดหลายรูปว่าครีเม อาจารย์รุ่งก็สวดว่าครีเมคะลังผมก็เลยสับสนครับ
ครี-เม-คะ-ลัง ครับ ออกเสียงเบาๆ
ผมใช้คำนี้ครับ...โอกาสะ สันโน ภันเต ทักขันจะ วะรัญจะ สา ธัมมะเทสะนา ยาจามะ อะธิ ปัสสะติ โนทานัง อะนุตตะริสสามะ
ครับผม
บทนี้แต่ละศัพท์ไม่เกี่ยวเนื่องกันเลย ไม่มีความหมายเลย
ผมก็ใช้บทนี้เหมือนกัน..
แปลละ
ตามหนังสือ พุทธมามกะโดยพระครูโสภณธรรมคุต คำอาราธนา สาธุโอกาสาสะโนภันเต ทุกขัญจะวะรัญจะสะธรรมเทศนายาจามิ อธิปะฏิปฏิโนทานัง อนุตตะริสามิ
ครับ
ทางผมที่โคราชใช้อาราธนาพาหุงว่าดังนี้ครับ.ปาสโนภน
ดีครับ พยายามค้นหา พอดี เอ๋ย
ผมใช้ โอกาสัง โน ภันเต พุทธะชัยยะมังคะละอัฐะคาถา กะถาตุง สักกัจจัง อาราธนัง กะโรมะ
ทราบครับ
สวัสดีจ้า อ.ภูพาน จ.สกลนคร จะอาราธนาพาหุงคือตั้งนะโม3จบ อุกาสะ สาธุโน ภันเต ทุภันจะ วะรันจะ พระสัทธัมมะเทสะนังยาจามะ วิปะติปะติฐานัง อุตตาริตสามะ สาธุๆจ้านิมนต์เจ้าข้า
ได้ความรู้จากอาจารย์เยอะมากครับ ขอให้อาจารย์ลงคริปบ่อยๆ
รับทราบครับ
ขอนแก่นนะครับโอ่กาสาครับ
ขอบคุณครับ
แถวบ้านผมสวดมนต์ตักบาตรเขาอาราธนาดังนี้..อุกาสะราธะโณภันเตปัตโตสุขันจะวะรัญจะธัมมะเทสะณังยาจามะทุติยัมปิอุกาสะ....ตะติยัมปิ.....ครับ
ควรเลิกอาราธนาพาหุงได้แล้ว ใช้ทีไรทำให้พุทธชนเป็นบาปทันทีเนื่องจากมีการซุบซิบวิจารณ์ตรงนั้นผิดตรงนี้ผิด
โอกาสะ โอกาสะ สาธุโนภันเต ทุคันจะ วะรันจะ สัทธัมมะเทศนายาจามิ อะธิปัสสะติ ปะฏิโนทะนัง อะนุกะรุสสามัง ขออาราธนัง กะโรมะ ที่ขอนแก่นใช้แบบนี้ครับ ผมจดต่อผู้เฒ่าผู้แก่เขามา ไม่รู้คำบาลีถูกต้องหรือป่าวนะครับ แต่เขาใช้กันมาแบบนี้ครับ
ขออนุญาตตอบครับ ถ้าว่าตามหลักภาษาแล้ว ย่อมผิดแน่นอนครับ แต่ธรรมเนียมเราปฏิบัติมาอย่างไร ก็ปฏิบัติตามนั้นครับ
ผมใช้ของอาจารย์ สวิง บุญเจิม อาราธนาพาหุง อุกาสะ สาธุโนภันเต รัตตะนะตะยะ คุนันเจวะ พุทธะชัยยะมังคะละ คาถันจะสัทชายิตุงอาราธนัง กะโรมะ
เคย-ด้ยินครับ
ผมก็ใช้คำนี้ครับ
ทางบ้านผมมีมาแต่เดิมแล้ว
ผมอยู่หนองคายบึงกาฬ. ใช้อาราธนาธรรมก็มี. บางที่ใช้คำว่า อุกาสา สาธุโณภันเต ทุกขันจะ วะรัญจะ ธรรมเศสนายาจามิ วิปัตติ ปัตติง อุตจะริสสามิ โอกาสะ. โอกาสะ สันโณภันเต. ทุกขันจะ วะรัญจะ ธรรมเศสนายาจามิ อนุปัสสะติ ปฏิโนทา อุตจะริสสามิ อาราธนังกะโรมะ (เขียนภาษาบาลีอาจไม่ถูกเพราะฟังจากท่านมัคคนายกมาครับ)
ติดตามคุณอยู่ตลอดครับ
ผมได้เอกสารมาจากท่านมหาเปรียญ.9ว่าดังนี้สาธุโนภันเตภะทันตา ระตะนัตตะยานุสสะระณะ ปาถัญเจวะ ชะยะมังคะละอัตถะกะคาถาโยจะ ฮานิใสังสะสัชฌายันตุ อายะติงสิริมังคะละภาพวัตถัง
อานิสังสะ
ภาวัตถัง
มีคำแก้คำผิดครับ
ท่านบอกว่าไม่มีคำกล่าวถ้าอยากกล่าวตามที่ผมส่งมาให้กล่าวตามนี้ครับ
อ.รุ่งเพื่อพิจารณาครับ
คำอราธนาพระหุงแถวบ้านผมใช้
อุกาสะ.อิมังปัตติปัตตังปัตตะคุนังปัตตังคะหามะ.
บ้านผมต้องสวดคำเปิดบาตร
ใช้บทไหนครับ
เป็นความนิยมประเพณีพื้นถิ่น จำๆกันมาโดยไม่รุ้คำแปล ผิดถูกไม่ต้องสนใจ
ปฏิบัติมาอย่างไร ก็ปฏิบัติอย่างนั้นครับ เพียงแค่เปิดใจ รับทราบ ขอขออนุโมทนาแล้วครับ
คำอาราธนาพาหุงมหากานั้นผมได้คู่มือจากท่านมหาเปรียญ9ท่านบอกว่าไม่มีคำอาราธนาถ้าอยากกล่าวให้กล่าวตามบทนี้ สาธุโนภันเตภะทันตา ระตะนัตตะยา นุตสะระณะ ปาฐัญเจวะ ชะยะมัง คะละอัฏฐะกะคาถาโยจะ อานิสังสะ สัชฌายันตุ อายะติงสิริมังคะละภาวัตถัง.
ปก
❤ขอบคุณค่ะที่ให้ความรู้สาธุค่ะ
ไม้เหมือนกันนะ
บ้านสวยครับอาจารย์
บ้านน้องสาวครับ
ที่.อ.ด่านขุนทด หลังจากรับศีลแล้วก็ขึ้น วิปติปติพาหายะ เลยครับ พอจบแล้วพระขึ้นนะโม 3 จบ
ขอบท อาราธนา จุลไชยปกรณ์ หน่อยครับ ผมเคยได้ยินแถบวัดป่าอีสานเคยใช้ ขึ้นต้นว่า " ชัยยะตุ ภะวัง ชัยยะมัง........" ครับ
คำอาราธนาธรรมพรัหมา จะ โลกาธิปตี สะหัมฺปะติ กะตัญฺชะลี อะนะธิวะรัง อะยาจะถะสันตีธะ สัตตา อัปปะระชักขะชาติกา เทเสหิ ธัมมัง อะนุกัมฺปิมัง ปะชัง.คำอาราธนาทั่วไป (ฉบับของอาจารย์ปองไชย ไชยสุทธิเมธีกุล) ยัง ยัง ธัมมัง เทเสถะ อาทิกัลยาณัง มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะกัลยาณัง สาตถัง สะพะยัญชะนัง เกวะปะริปุณณัง ปะริสุทธัง สาสะนะธัมมัง ปะกาเสถะ โอกาสะ ตัง อัชเฌสะนัง กะโรมะ ตัง สุโณมะ สาธุกัง มะนะสิกะโรมะ ขอพระคุณเจ้า ได้โปรดแสดงและประกาศ ซึ่งศาสนธรรม ที่งามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด มีเนื้อความและพยัญชนะ สมบูรณ์ถูกต้องไม่ผิดเพี้ยน ข้าพเจ้าทั้งหลายขออาราธนา ณ โอกาสนี้ และข้าพเจ้าทั้งหลาย จะตั้งใจฟังให้ดีหมายเหตุ เป็นประเพณีพี่น้องทางอีสานและพี่น้องฝั่ง สปป.ลาว ผมเอง ภาคเหนือ ไม่มีครับ แต่ถ้าจะต้องใช้คำอาราธนา จริง ๆ ๒ ชุดคำนี้ก็ใชข้ได้ครับ แต่ตามที่ยกตัวอย่างมา ต้องขอดูคำเต็มๆ ครับ จึงจะพอแปลเอาใจความได้ครับ
อำเภอวัฒนานครจังหวัดสระแก้วสมาทานศีลเสร็จพระสงฆ์ก็จะสวดเลยโดยไม่ต้องอาราธนาแต่ก็มีบางวัดอาราธนาก่อน โดยใช้คำว่าวิปัตติ ปัตตัง ปะฏิคันหานัง อะพุทฉามะทุติ...ตะติ...คนเฒ่าคนแก่นำพาว่า ผมก็ไม่รู้ว่าผิดหรือถูก อาจารย์ช่วยแนะนำด้วยครับ บางวัดท่านจะบอกให้เราอาราธนา
ขออนุญาตว่าตามหลักการแล้วนะครับ ตอบว่า..ผิดหลักภาษาบาลีครับผม ข้อแนะนำคือ พื้นที่ปฏิบัติมาอย่างไร ก็ปฏิบัติตามนั้นครับ ยืดหยุ่นกันไปครับผม
ที่จังหวัดปราจีนบุรีศรีมหาโพธิก็ใช้คำว่า วิปัตติ ปะตัง ปฏิคันหานัง อะพุทฉามิ ครับ
โอกาสะสาธุโณภันเตทุกคันจะวะรันจะสะธรรมเทศสะนายาจามะอธิปติปัตติๆปติโณธานังอุตตะริดสามะ
อาจารย์ครับก่อนพระเทศน์อานิสงส์หน้าศพเราต้องจุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัยจุดเทียนส่องธรรมกอ่นหรือป่าวครับผมเห็นเขาจุดเทียนส่งทำอย่างเดียวถูกหรือปา่วครับ
ปกติเทศน์ จะทำหลังจากที่พระสงฆ์ท่านสวดจบแล้ว ดังนั้น จุดเทียนส่องธรรมอย่างเดียวครับ
พึ่งเคยได้ยิน ไม่รู้ใครเป็นผู้แต่งเติม..
ของ อาจารย์ทางอีสานครับ
ที่บ้านผม จะเป็น ศรี ศรี พระองค์เจ้าองค์วิเศษแดนประเทศวัฏสงสารสร้างสมภารภาวนาบ่ได้ขาด ฯ หาข้อความนี้อยู่ครับเผื่อได้เป็นผู้นำกล่าว ถ้าอาจารย์มีก็ลงให้หน่อยนะครับ
เป็นทำนองร้อยแก้ว แบบท้องถิ่นครับ ทางภาคเหนือ มีแต่อาราธนาธรรมครับ
ที่บ้านก็เหมือนกันสาธุสาธุคะ
คำอาราธนาพาหุง (นิยมใช้ในเฉพาะภาคใต้)-อิมังปะฏิปัตตัง ปัตตคุณัง ปัตตัง คัณหามะ-ทุติยัม ปิอิมัง ปะฏิปัตตัง ปัตตคุณัง ปัตตัง คัณหามะ-ตะติยัม ปิอิมัง ปะฏิปัตตัง ปัตตคุณัง ปัตตัง คัณหามะ
คำอาราธนาพระหุง าฃภาคอืสานจะต้องกฃ่าวคำอาราราธนาเป็นสิ่งจำ้เป๋น
รับทราบขอบคุณครับ
ที่บ้านปางสัก.จ.นครสวรรค์คำอาราธนาพระสวดมาติกาผมใช้บทนี้ครับ.สาธุ.อุอาราธกาสะ.สาธุโณภันเต.ภะธัมมะสังคิณี.มะติกัญเจวะ.มหาพะปะนัญจะ.สัทธายิตุง.
ขอบคุณครับผม
ของผมใช้วีปัตติปัตตัง ปะตืคัญหานัง อาปุตฉามิทุติยัมปื/ตะติย้มปิ แค่นี้ครับ
รับทราบ ขอบคุณครับ
บ้ายผมอีสานก็ไม่มีไม่ใช้ครับผมเส็จแล้บ้านผมอีสานก็ไม่มีครับพระท่านก็เริ่มสวดของท่านเลยครับ
ทราบครับผม
มี
สวัสดีครับ...ได้ความรู้มากเลยครับ แต่ละที่ แต่ละแห่ง ไม่เหมือนกันจริงๆ ...สงขลาบ้านผม ก็ไม่มีคำอาราธนาพาหุงเหมือนกัน แต่หากจะให้พระเจริญพระพุทธมนต์ บทนั้น ก็จะใช้วิธี พูดขอความเมตตาจากพระครับ...มีเกล็ดอีกหนึ่ง แถวบ้านผมปฏิบัติ หากจะให้เจริญพระพุทธมนต์บทนี้ เริ่มต้นด้วยถามเจ้าภาพว่า จะตักบาตรมั๊ย หากมีการตักบาตรด้วย ในพิธีนั้น ก็จะอาราธนาพรหมา (งานอวมงคล) หรือ อาราธนาพระปริต (งานมงคล) แล้วตามด้วย "อิมัง ปัตตัง ปัตตะคังนัง ปะฏิคะหามาะ ทุติยัมปิ อิมัง ฯลฯตะติยัมปิ อิมัง ฯลฯเมื่อพระสวด หรือเจริญพระพุทธมนต์ ตามที่ได้อาราธนาไว้ จบแล้ว ก็ขึ้นบทพาหุงฯ เลยครับ...ผมมิได้เก่งบาลี แต่เห็นผู้เฒ่าผู้แก่ แนะนำมาอย่างนี้ครับ...ก็ไม่แน่ใจว่าจะถูกต้องหรือไม่ และมีบางอย่างที่ผมได้เปลี่ยนแปลงเช่นกัน เมื่อได้ความรู้อย่างถูกต้องครับ
ปฏิบัติมาอย่างไร ก็ให้ปฏิบัติไปอย่างนั้นครับ เพียงแค่รู้ไว้ว่า หลักคืออะไร ก็พอ ครับ เพราะพื้นที่ต่างกัน วัฒนธรรมต่างกัน ประเพณีต่างกันครับ ต้องยกความถูกผิดไว้ แต่ ถ้าว่าด้วยความถูกผิดแล้ว ขออนุญาตบอกว่า ผิดแน่นอนครับ ผม
@@รุ่งสาระดีในเมื่อท่านว่าผิด แล้วที่ถูกต้องละ ทำไมไม่แนะนำมาให้ด้วยละครับท่านผู้รู้ คือจะได้รู้ว่าที่ถูกต้องคืออย่างไร ขอบคุณ
วิปะติปัตตัง ปะติคันหานัง อาปุจฉามะครับ.บางพื้นที่ในชัยภูมิครับ
ผมก็ใชบทนี้ครับ
เรียนถามอาจารย์ คำว่า อุกาสะสาธุโนภันเต.ปัตโต.สุขันจะ.วรัญจะ.สัพธรรมเทศนัง.ยาจามิคำแปลครับ
ที่บ้านอ.ศรีเมืองใหม่.จ.อุบลฯใช้คำนี้ค่ะสัญโนภันเต ทุกคัญจะ นิวารัญจะ พาหุงสะหัสสะ ธรรมเทศนัง ธรรมเทศนา โอกาสะ อาราธนัง กะโลมะ
มีธรรมเนียมอย่างไรปฏิบัติตามนั้นครับ ยกเว้น...ความถูกผิดไว้ครับผม
แปลว่าอะไรครับ
@@ทองอินทร์ระคนจันทร์ แปลไม่ได้ครับ เพราะผิดหลักภาษาบาลี ทุกคำ เลยครับ ถ้าจะให้ผมเดาเอาจากศัพท์ ก็น่าจะได้ประมาณว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอโอกาส ขอนิมนต์(ท่าน,) ได้แสดงพระธรรมเทศนาธรรม คือบทพาหุง (ถวายพรพระ) เพื่อเป็นเครื่องปลดเปลื้องทุกข์ให้สิ้นไป ด้วยเทอญ ประมาณนี้ครับ
ผมอยุ่จ.อุบลไม่เคยมีอาราธนาพาหุ่งครับ
ใช้บท วิปติ กับบทชุมนุมเทวดาจ้า🙏
รับทราบครับผม
อยากเรียนถามท่านผู้รู้ แล้วอย่างไหนที่ถูกต้องคะ
แล้วแต่วัฒนธรรพื้นที่ครับ .. เช่น ถ้าเป็นภาคเหนือ ไม่มีคำอาราธนา ส่วนอีสาน นิยมมีคำอาราธนาชุดนี้...ถ้าเป็นพี่น้องทางใต้ จะใช้ พรัหมา จะ โลกา ฯ ลฯ ครับ
อาจารย์ครับ ทางบ้านผมอุบล ใช้บทว่าอัมหากัง ชัยยะมังคลัตถายะ พุทธชินะคาถังสัชฌาเยถ โน โอกาสะ อาราธะนัง กโรมะ มิไม่รู้พอไปได้หรือเปล่าครับส่วนตัว ผมคิดว่า อาราธนาท่านก่อนสวดก็ดีครับFC เขื่องในครับ
เห็นด้วยครับ เป็นการแสดงความนอบน้อมแด่พระสงฆ์
ขออนุญาตอาจารย์ช่วยแปลให้ผมหน่อยครับ ผมเห็นผู้เฒ่าผู้แก่อาราธนาว่า (อุกาสะ ปัจถะโนภันเต ทุกคันจะ วะรันจะ ธรรมะเทศนา ยาจามะ) ผมฟังมาเกือบสามสิบปีแล้ว แต่ยังหาผู้แปลไม่ได้ครับ อยากรู้ความหมายครับผม ขอบพระคุณล่วงหน้าครับ"หากมีผู้รู้ก็ช่วยแปลให้ด้วยครับจะเป็นพระคุณมากครับ" หากผมเขียนผิดตก อักษรตัวไดต้องกราบขออภัย ด้วยครับ #จากคนความรู้น้อยครับ
แปลไม่ได้ครับ เป็นเพียงวลีคำพูดที่คล้องจองเท่าน้ันครับผิดหลักไวยากรณ์บาลีครับ แต่สังเกตุได้ 2 คำสุดท้าย ธรรมเทศนา ยาจามะ ..ที่ถูกควรเป็น ธัมมะเทสะนัง ยาจามะ 2 คำนี้ แปลได้ว่า มะยัง อันว่าข้าพเจ้าทั้งหลาย ยาจามะ ขอ ธัมมะเทสะนัง ซึ่งการแสดงธรรม น่าจะอนุมานได้ว่า ขอให้พระท่านแสดงธรรม เรื่องเพื่อเป็นแห่งความดับทุกข์ ประมาณนี้ครับ ตามความเข้าใจของผมนะครับ
@@รุ่งสาระดี 🙏🙏🙏
@@รุ่งสาระดี ขอบพระคุณมากครับ
ที่บ้านไม่มีค่ะ
แปลให้ผมหน่อยครับ บ้านผมว่าแบบนี้ อุกาสะ อุกาสะ ปัตติ ปัตตัง อะหังบูชา อาราธะนัง กะโรมะ ถูกต้องตามหลักมั้ยครับ
อุกาสะ อุกาสะ ขอโอกาส ขอโอกาส อะหัง(ต้องเป็น มะยัง) ข้าพเจ้าทั้งหลาย กะโรมะ ขอกระทำอาราธะนัง การอาราธนา (เชื้อเชิญ, เชิญ) สัชธายิตุง (คำที่หายไป,ควรมี) เพื่อสาธยาย,สวด ปัตติ ปัตตัง บุชา เป็นคำซ้อน พูดเพื่อให้คล้องจอง,, เล่นสำนวน ปัตตะ ศัพท์นี้ แปลว่า ใบไม้,ปีกนก.บาตร,ทหารราบ,ลูกศร เป็นต้นดังนี้ ผมจึงไม่ทราบจริงๆ ครับว่า ปัตติ ปัตตัง คำนี้ ผู้ผูกคำ มีเจตนาจะสื่อความหมายในในทิศทางไหนครับ
ถ้าว่าแบบนี้ถูกต้องมั้ยครับอุกาสะ สาธุโน ภันเต ชัยยะมังคะลังอัฏฐะคาถานัง สัชธายิตุง อาราธะนัง กะโรมะ
ชัยยะมังคะละอัฏฐคาถา, หรือ ชัยยะมังคะละอัฏฐคาถาโย สัชฌายิตุง...
ที่บ้านใช้ คำ าราธนา พาหุง ใช้ อุกาสะ พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังคัญจะ สัมธัมมะ เทศนายัง ยาจามะ วิปะติ ปะติง ปฏิตานัง อะริสสามะ
อาจารย์ครับอาราธนาสวดมาติกา ว่า,สะรังสะเรเสสังมรนังภะเวติ มีความหมายอย่างไรครับ แถวบ้านผมว่าอย่างนี้ครับ แต่ก็มีหลายแบบอยู่ครับ
เป็นคำอาราธนาท้องถิ่น ครับ ถ้าพูดเรื่องความหมาย ..ไม่เจอครับ ๑. สะรัง สะเร เสสัง ..เป็นคำพูดเพื่อให้คล้องจอง เท่านั้น ๒. มะระณัง น่าจะเป็น ภาเวติ ... คงจะแปลเอาใจความว่า มีความตายเกิดขึ้น หรือแปลว่า มีการตายเกิดขึ้น ประมาณนี้ครับ
@@รุ่งสาระดี ขอบคุณครับ
สงชลาแถวที่บ้านก็ไม่มีคำกล่าวครับ
อีสานมีนะ
ของผมใช้วิปติปัตตัง ปติคัณกานัง อะปุตฉามิ ทุติยัมปิ/ตัติยัมปิอีกบทนึ่งปาจะโนภันเต สุขันจะ จีวะรัณจะ.สัตธัมมะเทสานังยาจามิ
ทราบ ขอบคุณครับ
ที่อาจารย์พูดกับตัวหนังสือที่ขึ้นในคลิปไม่ตรงกัน ใช้คำว่าอาราธะนานัง หรืออาราธะนังครับ
ผมพูดผิดครับ อาราธะนัง
ผมเป็นอีกคนนึงที่ได้เรียนถามท่านอาจารย์ไว้เนื่องจากมีความสงสัยเนื่องจากมัคนายก2 วัดที่บ้านอาราธนาสั้นๆแต่แตกต่างกันเล็กน้อย จึงมีข้อสงสัย ได้ลองถามท่านท่านก็บอกว่าฟังจากรุ่นก่อนก่อนสืบต่อกันมา เลยลองค้นคว้าหาข้อมูลทาง googleและ RUclipsแต่ไม่พบข้อมูลถึงได้เรียนถาม โดยที่วัดแถวบ้าน ท่านอาราธนาว่าปาสาโนภันเต ทุกคันจะ วิวะรัสสะ ธรรมเทศนัง อาราธนังกะโรมะ เอาคำเหล่านี้มา search หาก็ไม่พบข้อมูล ไม่แน่ใจว่าจะผิดเพี้ยนมาเรื่อยเรื่อยหรือเปล่า จึงถามหาจากแหล่งที่มีข้อมูลยืนยัน ที่อาจารย์ค้นคว้านำมาเสนอ ก็ฟังดูมีความน่าเชื่อถือ มีความหมายดีครับ
เป็นบาลีที่เพี้ยนไวยากรณ์ครับ ตามหลักก่อนนะครับ ถ้าแปลเอาความก็จะได้ประมารณว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย มีความเลื่อมใสศรัทะา ขอทำการอาราธนา( เทสะนัง กะโรมะ) ธัมมะเทสะนัง (ผิดไวยากรณ์) ซึ่งการแสดงธรรม ทุกขักขันธัสสะ วิวะรัสสะ ..เพื่อความสิ้นไป หมดไป แห่งขันธ์คือความทุกข์ ประมาณนี้นะครับ ผมคาดเดาเอาจากคำศัพท์ครับ
ผมคนเชียงรายผมย้ายจากสารคาม
จังหวัดตรังก้อไม่มีครับ
ปัจจุบันอยู่จ.มุกดาหารก็ไม่เคยเห็นครับ
ผมก็ไม่เคยใช้ครับ
มีใครสนใจแบบผมบ้างครับ อ.เขมราฐ จ. อุบลฯ"อัมหากัง ชะยะมังคะลัตถายะ พุทธะชินะคาถัง สัชฌาเยถะโน โอกาสะ อาราธะนัง กะโรมะ"
อาราธนาพาหุง ในศาสนาพิธี เล่ม 1 นักธรรมชั้นตรี ไม่มี ที่มีกล่าวอาราธนาทั่วไป (ทางอิสาน) เป็นของนักปราชญ์โบราณ หลายท้องที่ ไม่เหมือนกันแต่คล้านกัน
กะโรมิ กับ กะโรมะ ความหมายต่างกันไหมครับ
๑. กะโรมิ แปลว่า ข้าพเจ้า กระทำ... , คนเดียว, เอกพจน์ ๒. กะโรมะ แปลว่า ข้าพเจ้าทั้งหลาย กระทำ , ตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป , พหูพจน์
@@รุ่งสาระดี ขอบคุณครับอาจารย์
อาจารย์ปองไชยใช้คำอาราธนามาติกา ว่าอย่างไรครับอยากเรียนถาม เท่าที่ทราบไม่นิยมใช้ แต่เมื่อไม่นานมานี้มีพระรูปหนึ่งมาจำวัดอยู่แถวบ้าน ท่านบอกให้อาราธนาก่อน ผมจึงลองหาข้อมูลใน google ก็ทราบว่าไม่นิยมใช้ แต่มีบางท่านแต่งขึ้นมา ผมจึงใช้ตามว่า โอกาสะ โอกาสะ โอกาสะ มะยังภันเต ธรรมะมาติกัง อาราธะนัง กะโรมะ ความหมายได้ไหมครับ ความคิดเห็นนี้ 2 คำถาม
๑. ของ อ.ปองไชย ไม่มีครับ ๒. ชุดคำอาราธนานี้ ไม่สมบูรณ์ครับ..
ผมว่าไม่น่าจะนำมาอาราธนา ให้มันยืดยาวเสียเวลา ปล่อยให้พระท่านสวดไปเลย ภาคอิสานมักจะชอบใช้คำอาราธนานั่นนี่ต่างจากที่มีในเอกสารศาสนพิธี กรมศาสนา
เป็นวัฒธรรมพื้่นที่ครับ
อุกาสะ สาธุโน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ อัฎฐะคาถาโย พรูถะ ชัยยะมังคะลานิ ทุติยัมปิ......ตะติยัมปิ....ถูกไวยากรณ์บาลีรึเปล่าครับอาจารย์...ชี้แนะด้วยครับ
ข้อสังเกต บทพาหุง ชัยมงคลคาถา (มงคล 38 ประการ)อัฎฐะ แปลว่า 8 คาถาบท, คาถา 8 บท ชัยยะมังคะลานิ คาถาชัยมงคล หมายถึงบทพาหุง ..อัฏฐะคาถาโย เป็นทุติยาวิภัต แปลว่า ซึ่งคาถา 8 บท ชัยยะมังคะลานิ เป็นทุติยาวิภัติ แปลว่า ซึ่งบทชัยมงคล ดูจากความหมายของคำ .. สรุปได้ว่า บทพาหุง คือบทชัยมงคล 38 ประการ บาลีว่า อัฎฐะติงสะ ... 38 ประการ แต่ที่ให้มา ว่าด้วยวิภัตติ ..ถูกทั้งคู่ แต่ซ้ำซ้อน อัฎฐะคาถาโย... และ ชัยยะมังคะลานิ ประมาณนี้ครับ
วิปะติปัตตัง พุทธะชัยยะมังคะลัง อัฐถะคาถายังยาจามะทุติยัมปิ วิปะติปัตตัง ธรรมะชัยยะมังคะลังอัฐถะคาถายังยาจามะตะติยัมปิ วิปะติปัตตังสังฆะชัยยะมังคะลังอัฐถะคาถายังยาจามะถูกหรือผิดขอคำแนะนำจากผู้รู้ด้วยครับ.
ล้อคำอาราธนาพระปริตร..ผิดไวยากรณ์ หลายจุดครับ อัฐกะคาถายัง
สุพรรณก็ไม่มี
ไม่มีครับ
กล่าวนำยืด
กดข้ามไปครับ
, สำหรับผมเป็นมัคนายกอยู่ที่ปางสัก.จ.นครสวรรค์ผมจะใช้บทนีัครับ.อุกาสะสาธุโณภันเต.สุคัณจะ.นิวะรัญจะ.ภะสัทธัมมะเทสะนะนัังยาจามิ.วิปัตฏิปะติง.ปะฏิฐานัง.อุตะริสามะ.อาราธนานังกะโรมิ.
รับทราบครับ ขอบคุณครับ
คำอาราธนาพาหุง.ว่าแบบนี้.โอกาส.โอกาสะ.โอกาสะ.สังโฆภันเต.ทักขัญจะ วะรัญจะ.ธัมมะเทสนา.ยาจามะ.อะธิปฏิ.ปะติโนทานัง.อะนุตตะริสสามะ......
ผมถามนิด ยอดระกัณฑ์ไตรปิฏกกับพาหุงต้องสวดบทไหนก่อนครับ
พาหุงก่อนครับ...
แถวบ้านไม่อาราธนา
มันไม่มีคำที่ถูกต้องที่สุดหรอกสมัยก่อนจารึกใส่ใบลานกระดาษยังมีไม่มากคนเฒ่าคนแก่หรือปราชญ์ชาวบ้านบอกต่อกันมาขอยกตัวอย่างเช่นคำอาราธนาธรรมเห็นพิมพ์ผิดๆกันมาแม้แต่ เลี่ยงเซียงยังพิมพ์ผิดไปในหนังสือสวดมนต์ทั่วไปวัดไหนพิมพ์ออกมาผิดทั้งนั้นไม่เห็นมีใครแก้ไข ทั่วประเทศไทยใช้บทเดียวกันผิดมากี่ร้อยปีแล้วไม่มีใครแก้ไขเลย
อาจารย์ครับผมขอถามว่าลาข้าวพระสงฆ์ใช้คำนี้ได้ไหมครับอะนะวะเสอัมหากังปาปุณันตใช้ได้ไหมครับ
ล้อคำมาจาก ..คำอปโลกน์ภัตตาหารของพระ อะยัง ปะฐะมะ ภาโค มะหาเถรัสสะ ปาปุณาติ ส่วนที่ ๑ ย่อมถึงแก่พระเถระผู้ใหญ่ผู้อยู่เหนือข้าพเจ้าอะวะเสสา ภาคา อัมหากัง ปาปุณาติ ส่วนที่เหลือ ย่อมถึงแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายคำที่ถูกต้องครับ หรือจะใช้คำนี้ก็ได้ครับ เสสัง มังคะลัง ยาจามิ ข้าพเจ้า ขอมงคล (อาหาร) ที่เหลือ
ในเมื่อเราอาราธนาพระปริตแล้วทำไมจะต้องไปอาราธนาพาหุงฯอีกเพราะพระท่านสวดรวมยกชุดอยู่แล้ว ผมคิดว่าคำอาราธนาย่อยๆเหล่านี้น่าจะแต่งเติมเข้ามาภายหลัง
ผมก็คิดอย่างนั้นครับ
ขอบคุณอาจารย์มากครับที่ให้ความรู้ครับ
แต่ไม่ทราบว่าจากมิเปลี่ยนเป็นมะหรือเปล่า
น่าคิดครับ
คำลาเข้าพระพุธบ้านผมว่าเสสังมังฆะลาจามิ
คำถวายเข้าพระพุธบ้านผมว่าอีมังสูปะพยัญชะนะสำปันนังสาลีนังโพชะนังอุทฑกังวะรังพุทธัสสะปูเชมครับ
ใช้ได้ครับ
ผมจะใช้คำว่าอุกาสะอุกาสะสาธุโนภันเตทุกคันจะวรัญจะธรรมเทศนายาจามะอัฐิปฏิปติโนทานังอนุจะลิดจามะ
อยากให้เรียบเรียงอันถูกต้องที่สุดครับ
ถ้ามีโอกาส ศักยภาพและเศรษฐกิจพอครับผม ..
อิมังปิโนตุกังธรรมเทศนังอาราธนังกะโรมะ
ถ้าเราทำบุญถวายภัตตาหารเพลหมายถึงทำบุญตักบาตรทั่วไปและเจริญพระพุทธมนต์ตอนเช้าและอาราธนาพระปริตรแล้วก็จะถวายสังฆทานตอนฉันจะว่าเช้าก็ไม่เชิงเพราะพระฉันเสร็จก็เกือบจะเพลแล้วเราจะกล่าวคำอาราธนาพาหุงช่วงไหนครับก่อนหรือหลังอาราธนาพระปริตรเพราะงานจะมีเจริญพระพุทธมนในช่วงเวลาเช้าเกมือนกันครับขอบคุณอาจารย์ครับ
หลังตักบาตรเช้า พระจะสวดถวายพรพระ (พาหุง) ครับ
ผมงงครับผมมือใหม่ครับคือเราทำบุญกันทั่วไปเป็นเจ้าภาพร่วกันทั้งซอยพระมาตอนเช้าแลไหว้พระถวายดอกไม้ธูปเทียนเสร็จรับศีลอาราธนาพระปริตรพระเจริญพระพุทธมนต์ท่านก็สวดบทพาหุงไปในตัวในกรณีนี้เราจะอาราธนาพาหุงช่วงไหนครับขอบคุณครับหรือว่าสวดพาหุงสองรอบครับ
@@malikhembut4146 อาราธนาพาหุง อย่างเดียวก็ได้ครับ ไม่ต้องอาราธนาพระปริตร
ถ้าอารธนาพระปริตไปแล้วไม่ต้องอาราธนาสวดพาหุงอีกครับ พระท่านมาลงบทพาหุงต่อไปเลยตามด้วยบทชัยมงคลคาถาไปเลยครับ 7:33
มีนะไปชื้อหาหนั่งสือถวายทานเล่มสีเขียวนะ
ผมว่ารู้สึกมั่ววุ่นไปหมดอะไรที่ไม่มีไม่ได้กำหนดใว้ตั้งแต่ต้นก็ไปดีงมาเสริมแต่งเติมให้วุ่นสับสนปวดหัวครับสรุปอะไรที่ไม่ใช่ไม่มีก็อย่านำมาออกรายการครับ
ขอบพระคุณท่านอาจารย์มากค่ะท่านอาจารย์เป็นครูบาอาจารย์ที่ประเสริฐที่ต้องเคารพเป็นที่สุดค่ะ
นับถือกันและกันก็เพียงพอครับ มีอะไรบอกกัน มีอะไรแบ่งกัน เท่านี้ก็สุขใจแล้วครับ
ผมใช้อาราธนาพาหุงโอกาสะสัญญาธรรมเทศนาสังฆัสสะนิญาจามะ
อาจารย์ครับสวดพาหุง คำว่าค์รีเมคะลัง หลายคนออกเสียงว่า
ครีเมคะลัง หรือออกเสียงว่า คะรีเมคะลัง คำไหนถูกต้องครับ ผมเห็นในหนังสือฉบับหนึ่งให้ออกเสียงคะรีเมคะลัง แต่ก็ยังสับสนเพราะเห็นพระท่านสวดหลายรูปว่า
ครีเม อาจารย์รุ่งก็สวดว่าครีเมคะลังผมก็เลยสับสนครับ
ครี-เม-คะ-ลัง ครับ ออกเสียงเบาๆ
ผมใช้คำนี้ครับ...โอกาสะ สันโน ภันเต ทักขันจะ วะรัญจะ สา ธัมมะเทสะนา ยาจามะ อะธิ ปัสสะติ โนทานัง อะนุตตะริสสามะ
ครับผม
บทนี้แต่ละศัพท์ไม่เกี่ยวเนื่องกันเลย ไม่มีความหมายเลย
ผมก็ใช้บทนี้เหมือนกัน..
แปลละ
ตามหนังสือ พุทธมามกะโดยพระครูโสภณธรรมคุต คำอาราธนา สาธุโอกาสาสะโนภันเต ทุกขัญจะวะรัญจะสะธรรมเทศนายาจามิ อธิปะฏิปฏิโนทานัง อนุตตะริสามิ
ครับ
ทางผมที่โคราชใช้อาราธนาพาหุงว่าดังนี้ครับ.ปาสโนภน
ดีครับ พยายามค้นหา พอดี เอ๋ย
ผมใช้ โอกาสัง โน ภันเต พุทธะชัยยะมังคะละอัฐะคาถา กะถาตุง สักกัจจัง อาราธนัง กะโรมะ
ทราบครับ
สวัสดีจ้า อ.ภูพาน จ.สกลนคร จะอาราธนาพาหุงคือตั้งนะโม3จบ อุกาสะ สาธุโน ภันเต ทุภันจะ วะรันจะ พระสัทธัมมะเทสะนังยาจามะ วิปะติปะติฐานัง อุตตาริตสามะ สาธุๆจ้านิมนต์เจ้าข้า
ครับผม
ได้ความรู้จากอาจารย์เยอะมากครับ ขอให้อาจารย์ลงคริปบ่อยๆ
รับทราบครับ
ขอนแก่นนะครับโอ่กาสาครับ
ขอบคุณครับ
แถวบ้านผมสวดมนต์ตักบาตรเขาอาราธนาดังนี้..อุกาสะราธะโณภันเตปัตโตสุขันจะวะรัญจะธัมมะเทสะณังยาจามะทุติยัมปิอุกาสะ....ตะติยัมปิ.....ครับ
ครับผม
ควรเลิกอาราธนาพาหุงได้แล้ว ใช้ทีไรทำให้พุทธชนเป็นบาปทันทีเนื่องจากมีการซุบซิบวิจารณ์ตรงนั้นผิดตรงนี้ผิด
โอกาสะ โอกาสะ สาธุโนภันเต ทุคันจะ วะรันจะ สัทธัมมะเทศนายาจามิ อะธิปัสสะติ ปะฏิโนทะนัง อะนุกะรุสสามัง ขออาราธนัง กะโรมะ ที่ขอนแก่นใช้แบบนี้ครับ ผมจดต่อผู้เฒ่าผู้แก่เขามา ไม่รู้คำบาลีถูกต้องหรือป่าวนะครับ แต่เขาใช้กันมาแบบนี้ครับ
ขออนุญาตตอบครับ ถ้าว่าตามหลักภาษาแล้ว ย่อมผิดแน่นอนครับ แต่ธรรมเนียมเราปฏิบัติมาอย่างไร ก็ปฏิบัติตามนั้นครับ
ผมใช้ของอาจารย์ สวิง บุญเจิม อาราธนาพาหุง อุกาสะ สาธุโนภันเต รัตตะนะตะยะ คุนันเจวะ พุทธะชัยยะมังคะละ คาถันจะสัทชายิตุงอาราธนัง กะโรมะ
ครับผม
เคย-ด้ยินครับ
ผมก็ใช้คำนี้ครับ
ทางบ้านผมมีมาแต่เดิมแล้ว
ครับผม
ผมอยู่หนองคายบึงกาฬ. ใช้อาราธนาธรรมก็มี. บางที่ใช้คำว่า อุกาสา สาธุโณภันเต ทุกขันจะ วะรัญจะ ธรรมเศสนายาจามิ วิปัตติ ปัตติง อุตจะริสสามิ
โอกาสะ. โอกาสะ สันโณภันเต. ทุกขันจะ วะรัญจะ ธรรมเศสนายาจามิ อนุปัสสะติ ปฏิโนทา อุตจะริสสามิ อาราธนัง
กะโรมะ (เขียนภาษาบาลีอาจไม่ถูกเพราะฟังจากท่านมัคคนายกมาครับ)
รับทราบครับ
ติดตามคุณอยู่ตลอดครับ
ขอบคุณครับ
ผมได้เอกสารมาจากท่านมหาเปรียญ.9ว่าดังนี้
สาธุโนภันเตภะทันตา ระตะนัตตะยานุสสะระณะ ปาถัญเจวะ ชะยะมังคะละอัตถะกะคาถาโยจะ ฮานิใสังสะสัชฌายันตุ อายะติงสิริมังคะละภาพวัตถัง
อานิสังสะ
ภาวัตถัง
มีคำแก้คำผิดครับ
ท่านบอกว่าไม่มีคำกล่าวถ้าอยากกล่าวตามที่ผมส่งมาให้กล่าวตามนี้ครับ
อ.รุ่งเพื่อพิจารณาครับ
คำอราธนาพระหุงแถวบ้านผมใช้
ครับผม
อุกาสะ.อิมังปัตติปัตตังปัตตะคุนังปัตตังคะหามะ.
ขอบคุณครับ
บ้านผมต้องสวดคำเปิดบาตร
ใช้บทไหนครับ
เป็นความนิยมประเพณีพื้นถิ่น จำๆกันมาโดยไม่รุ้คำแปล ผิดถูกไม่ต้องสนใจ
ปฏิบัติมาอย่างไร ก็ปฏิบัติอย่างนั้นครับ เพียงแค่เปิดใจ รับทราบ ขอขออนุโมทนาแล้วครับ
คำอาราธนาพาหุงมหากานั้นผมได้คู่มือจากท่านมหาเปรียญ9ท่านบอกว่าไม่มีคำอาราธนาถ้าอยากกล่าวให้กล่าวตามบทนี้ สาธุโนภันเตภะทันตา ระตะนัตตะยา นุตสะระณะ ปาฐัญเจวะ ชะยะมัง คะละอัฏฐะกะคาถาโยจะ อานิสังสะ สัชฌายันตุ อายะติงสิริมังคะละภาวัตถัง.
ปก
❤ขอบคุณค่ะที่ให้ความรู้สาธุค่ะ
ไม้เหมือนกันนะ
บ้านสวยครับอาจารย์
บ้านน้องสาวครับ
ที่.อ.ด่านขุนทด หลังจากรับศีลแล้วก็ขึ้น วิปติปติพาหายะ เลยครับ พอจบแล้วพระขึ้นนะโม 3 จบ
ครับผม
ขอบท อาราธนา จุลไชยปกรณ์ หน่อยครับ ผมเคยได้ยินแถบวัดป่าอีสานเคยใช้ ขึ้นต้นว่า " ชัยยะตุ ภะวัง ชัยยะมัง........" ครับ
คำอาราธนาธรรม
พรัหมา จะ โลกาธิปตี สะหัมฺปะติ กะตัญฺชะลี อะนะธิวะรัง อะยาจะถะ
สันตีธะ สัตตา อัปปะระชักขะชาติกา เทเสหิ ธัมมัง อะนุกัมฺปิมัง ปะชัง.
คำอาราธนาทั่วไป (ฉบับของอาจารย์ปองไชย ไชยสุทธิเมธีกุล)
ยัง ยัง ธัมมัง เทเสถะ อาทิกัลยาณัง มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะกัลยาณัง สาตถัง สะพะยัญชะนัง เกวะปะริปุณณัง ปะริสุทธัง สาสะนะธัมมัง ปะกาเสถะ โอกาสะ ตัง อัชเฌสะนัง กะโรมะ ตัง สุโณมะ สาธุกัง มะนะสิกะโรมะ
ขอพระคุณเจ้า ได้โปรดแสดงและประกาศ ซึ่งศาสนธรรม ที่งามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด มีเนื้อความและพยัญชนะ สมบูรณ์ถูกต้องไม่ผิดเพี้ยน ข้าพเจ้าทั้งหลายขออาราธนา ณ โอกาสนี้ และข้าพเจ้าทั้งหลาย จะตั้งใจฟังให้ดี
หมายเหตุ เป็นประเพณีพี่น้องทางอีสานและพี่น้องฝั่ง สปป.ลาว ผมเอง ภาคเหนือ ไม่มีครับ แต่ถ้าจะต้องใช้คำอาราธนา จริง ๆ ๒ ชุดคำนี้ก็ใชข้ได้ครับ แต่ตามที่ยกตัวอย่างมา ต้องขอดูคำเต็มๆ ครับ จึงจะพอแปลเอาใจความได้ครับ
อำเภอวัฒนานคร
จังหวัดสระแก้ว
สมาทานศีลเสร็จ
พระสงฆ์ก็จะสวดเลยโดยไม่ต้องอาราธนา
แต่ก็มีบางวัดอาราธนาก่อน โดยใช้คำว่า
วิปัตติ ปัตตัง ปะฏิคันหานัง อะพุทฉามะ
ทุติ...
ตะติ...
คนเฒ่าคนแก่นำพาว่า ผมก็ไม่รู้ว่าผิดหรือถูก อาจารย์ช่วยแนะนำด้วยครับ บางวัดท่านจะบอกให้เราอาราธนา
ขออนุญาตว่าตามหลักการแล้วนะครับ ตอบว่า..ผิดหลักภาษาบาลีครับผม
ข้อแนะนำคือ พื้นที่ปฏิบัติมาอย่างไร ก็ปฏิบัติตามนั้นครับ ยืดหยุ่นกันไปครับผม
ที่จังหวัดปราจีนบุรีศรีมหาโพธิก็ใช้คำว่า วิปัตติ ปะตัง ปฏิคันหานัง อะพุทฉามิ ครับ
โอกาสะสาธุโณภันเตทุกคันจะวะรันจะสะธรรมเทศสะนายาจามะอธิปติปัตติๆปติโณธานังอุตตะริดสามะ
อาจารย์ครับก่อนพระเทศน์อานิสงส์หน้าศพเราต้องจุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัยจุดเทียนส่องธรรมกอ่นหรือป่าวครับผมเห็นเขาจุดเทียนส่งทำอย่างเดียวถูกหรือปา่วครับ
ปกติเทศน์ จะทำหลังจากที่พระสงฆ์ท่านสวดจบแล้ว ดังนั้น จุดเทียนส่องธรรมอย่างเดียวครับ
พึ่งเคยได้ยิน ไม่รู้ใครเป็นผู้แต่งเติม..
ของ อาจารย์ทางอีสานครับ
ที่บ้านผม จะเป็น ศรี ศรี พระองค์เจ้าองค์วิเศษแดนประเทศวัฏสงสารสร้างสมภารภาวนาบ่ได้ขาด ฯ หาข้อความนี้อยู่ครับเผื่อได้เป็นผู้นำกล่าว ถ้าอาจารย์มีก็ลงให้หน่อยนะครับ
เป็นทำนองร้อยแก้ว แบบท้องถิ่นครับ ทางภาคเหนือ มีแต่อาราธนาธรรมครับ
ที่บ้านก็เหมือนกันสาธุสาธุคะ
ครับผม
คำอาราธนาพาหุง (นิยมใช้ในเฉพาะภาคใต้)
-อิมังปะฏิปัตตัง ปัตตคุณัง ปัตตัง คัณหามะ
-ทุติยัม ปิอิมัง ปะฏิปัตตัง ปัตตคุณัง ปัตตัง คัณหามะ
-ตะติยัม ปิอิมัง ปะฏิปัตตัง ปัตตคุณัง ปัตตัง คัณหามะ
ขอบคุณครับ
คำอาราธนาพระหุง าฃภาคอืสานจะต้องกฃ่าวคำอาราราธนาเป็นสิ่งจำ้เป๋น
รับทราบขอบคุณครับ
ที่บ้านปางสัก.จ.นครสวรรค์คำอาราธนาพระสวดมาติกาผมใช้บทนี้ครับ.สาธุ.อุอาราธกาสะ.สาธุโณภันเต.ภะธัมมะสังคิณี.มะติกัญเจวะ.มหาพะปะนัญจะ.สัทธายิตุง.
ขอบคุณครับผม
ของผมใช้
วีปัตติปัตตัง ปะตืคัญหานัง อาปุตฉามิ
ทุติยัมปื/ตะติย้มปิ แค่นี้ครับ
รับทราบ ขอบคุณครับ
บ้ายผมอีสานก็ไม่มีไม่ใช้ครับผมเส็จแล้
บ้านผมอีสานก็ไม่มีครับพระท่านก็เริ่มสวดของท่านเลยครับ
ทราบครับผม
มี
สวัสดีครับ...ได้ความรู้มากเลยครับ แต่ละที่ แต่ละแห่ง ไม่เหมือนกันจริงๆ ...สงขลาบ้านผม ก็ไม่มีคำอาราธนาพาหุงเหมือนกัน แต่หากจะให้พระเจริญพระพุทธมนต์ บทนั้น ก็จะใช้วิธี พูดขอความเมตตาจากพระครับ...มีเกล็ดอีกหนึ่ง แถวบ้านผมปฏิบัติ หากจะให้เจริญพระพุทธมนต์บทนี้ เริ่มต้นด้วยถามเจ้าภาพว่า จะตักบาตรมั๊ย หากมีการตักบาตรด้วย ในพิธีนั้น ก็จะอาราธนาพรหมา (งานอวมงคล) หรือ อาราธนาพระปริต (งานมงคล) แล้วตามด้วย "อิมัง ปัตตัง ปัตตะคังนัง ปะฏิคะหามาะ
ทุติยัมปิ อิมัง ฯลฯ
ตะติยัมปิ อิมัง ฯลฯ
เมื่อพระสวด หรือเจริญพระพุทธมนต์ ตามที่ได้อาราธนาไว้ จบแล้ว ก็ขึ้นบทพาหุงฯ เลยครับ...ผมมิได้เก่งบาลี แต่เห็นผู้เฒ่าผู้แก่ แนะนำมาอย่างนี้ครับ...ก็ไม่แน่ใจว่าจะถูกต้องหรือไม่ และมีบางอย่างที่ผมได้เปลี่ยนแปลงเช่นกัน เมื่อได้ความรู้อย่างถูกต้องครับ
ปฏิบัติมาอย่างไร ก็ให้ปฏิบัติไปอย่างนั้นครับ เพียงแค่รู้ไว้ว่า หลักคืออะไร ก็พอ ครับ เพราะพื้นที่ต่างกัน วัฒนธรรมต่างกัน ประเพณีต่างกันครับ ต้องยกความถูกผิดไว้ แต่ ถ้าว่าด้วยความถูกผิดแล้ว ขออนุญาตบอกว่า ผิดแน่นอนครับ ผม
@@รุ่งสาระดีในเมื่อท่านว่าผิด แล้วที่ถูกต้องละ ทำไมไม่แนะนำมาให้ด้วยละครับท่านผู้รู้ คือจะได้รู้ว่าที่ถูกต้องคืออย่างไร ขอบคุณ
วิปะติปัตตัง ปะติคันหานัง อาปุจฉามะ
ครับ.บางพื้นที่ในชัยภูมิครับ
ทราบครับผม
ผมก็ใชบทนี้ครับ
เรียนถามอาจารย์ คำว่า อุกาสะสาธุโนภันเต.ปัตโต.สุขันจะ.วรัญจะ.สัพธรรมเทศนัง.ยาจามิคำแปลครับ
ที่บ้านอ.ศรีเมืองใหม่.จ.อุบลฯใช้คำนี้ค่ะ
สัญโนภันเต ทุกคัญจะ นิวารัญจะ พาหุงสะหัสสะ ธรรมเทศนัง ธรรมเทศนา โอกาสะ อาราธนัง กะโลมะ
มีธรรมเนียมอย่างไรปฏิบัติตามนั้นครับ ยกเว้น...ความถูกผิดไว้ครับผม
แปลว่าอะไรครับ
@@ทองอินทร์ระคนจันทร์ แปลไม่ได้ครับ เพราะผิดหลักภาษาบาลี ทุกคำ เลยครับ ถ้าจะให้ผมเดาเอาจากศัพท์ ก็น่าจะได้ประมาณว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอโอกาส ขอนิมนต์(ท่าน,) ได้แสดงพระธรรมเทศนาธรรม คือบทพาหุง (ถวายพรพระ) เพื่อเป็นเครื่องปลดเปลื้องทุกข์ให้สิ้นไป ด้วยเทอญ ประมาณนี้ครับ
ผมอยุ่จ.อุบลไม่เคยมีอาราธนาพาหุ่งครับ
ครับผม
ใช้บท วิปติ กับบทชุมนุมเทวดาจ้า🙏
รับทราบครับผม
อยากเรียนถามท่านผู้รู้ แล้วอย่างไหนที่ถูกต้องคะ
แล้วแต่วัฒนธรรพื้นที่ครับ .. เช่น ถ้าเป็นภาคเหนือ ไม่มีคำอาราธนา ส่วนอีสาน นิยมมีคำอาราธนาชุดนี้...ถ้าเป็นพี่น้องทางใต้ จะใช้ พรัหมา จะ โลกา ฯ ลฯ ครับ
อาจารย์ครับ ทางบ้านผมอุบล ใช้บทว่า
อัมหากัง ชัยยะมังคลัตถายะ พุทธชินะคาถัง
สัชฌาเยถ โน โอกาสะ อาราธะนัง กโรมะ มิ
ไม่รู้พอไปได้หรือเปล่าครับ
ส่วนตัว ผมคิดว่า อาราธนาท่านก่อนสวดก็ดีครับ
FC เขื่องในครับ
เห็นด้วยครับ เป็นการแสดงความนอบน้อมแด่พระสงฆ์
ขออนุญาตอาจารย์ช่วยแปลให้ผมหน่อยครับ ผมเห็นผู้เฒ่าผู้แก่อาราธนาว่า (อุกาสะ ปัจถะโนภันเต ทุกคันจะ วะรันจะ ธรรมะเทศนา ยาจามะ) ผมฟังมาเกือบสามสิบปีแล้ว แต่ยังหาผู้แปลไม่ได้ครับ อยากรู้ความหมายครับผม ขอบพระคุณล่วงหน้าครับ"หากมีผู้รู้ก็ช่วยแปลให้ด้วยครับจะเป็นพระคุณมากครับ" หากผมเขียนผิดตก อักษรตัวไดต้องกราบขออภัย ด้วยครับ #จากคนความรู้น้อยครับ
แปลไม่ได้ครับ เป็นเพียงวลีคำพูดที่คล้องจองเท่าน้ันครับผิดหลักไวยากรณ์บาลีครับ แต่สังเกตุได้ 2 คำสุดท้าย ธรรมเทศนา ยาจามะ ..ที่ถูกควรเป็น ธัมมะเทสะนัง ยาจามะ 2 คำนี้ แปลได้ว่า มะยัง อันว่าข้าพเจ้าทั้งหลาย ยาจามะ ขอ ธัมมะเทสะนัง ซึ่งการแสดงธรรม น่าจะอนุมานได้ว่า ขอให้พระท่านแสดงธรรม เรื่องเพื่อเป็นแห่งความดับทุกข์ ประมาณนี้ครับ ตามความเข้าใจของผมนะครับ
@@รุ่งสาระดี 🙏🙏🙏
@@รุ่งสาระดี 🙏🙏🙏
@@รุ่งสาระดี ขอบพระคุณมากครับ
ที่บ้านไม่มีค่ะ
ครับผม
แปลให้ผมหน่อยครับ บ้านผมว่าแบบนี้
อุกาสะ อุกาสะ ปัตติ ปัตตัง อะหังบูชา อาราธะนัง กะโรมะ ถูกต้องตามหลักมั้ยครับ
อุกาสะ อุกาสะ ขอโอกาส ขอโอกาส
อะหัง(ต้องเป็น มะยัง) ข้าพเจ้าทั้งหลาย
กะโรมะ ขอกระทำ
อาราธะนัง การอาราธนา (เชื้อเชิญ, เชิญ)
สัชธายิตุง (คำที่หายไป,ควรมี) เพื่อสาธยาย,สวด
ปัตติ ปัตตัง บุชา เป็นคำซ้อน พูดเพื่อให้คล้องจอง,, เล่นสำนวน
ปัตตะ ศัพท์นี้ แปลว่า ใบไม้,ปีกนก.บาตร,ทหารราบ,ลูกศร เป็นต้น
ดังนี้ ผมจึงไม่ทราบจริงๆ ครับว่า ปัตติ ปัตตัง คำนี้ ผู้ผูกคำ มีเจตนาจะสื่อความหมายในในทิศทางไหนครับ
ถ้าว่าแบบนี้ถูกต้องมั้ยครับ
อุกาสะ สาธุโน ภันเต ชัยยะมังคะลังอัฏฐะคาถานัง สัชธายิตุง อาราธะนัง กะโรมะ
ชัยยะมังคะละอัฏฐคาถา, หรือ ชัยยะมังคะละอัฏฐคาถาโย สัชฌายิตุง...
ที่บ้านใช้ คำ าราธนา พาหุง ใช้ อุกาสะ พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังคัญจะ สัมธัมมะ เทศนายัง ยาจามะ วิปะติ ปะติง ปฏิตานัง อะริสสามะ
รับทราบขอบคุณครับ
อาจารย์ครับอาราธนาสวดมาติกา ว่า,สะรังสะเรเสสังมรนังภะเวติ มีความหมายอย่างไรครับ แถวบ้านผมว่าอย่างนี้ครับ แต่ก็มีหลายแบบอยู่ครับ
เป็นคำอาราธนาท้องถิ่น ครับ ถ้าพูดเรื่องความหมาย ..ไม่เจอครับ
๑. สะรัง สะเร เสสัง ..เป็นคำพูดเพื่อให้คล้องจอง เท่านั้น
๒. มะระณัง น่าจะเป็น ภาเวติ ... คงจะแปลเอาใจความว่า มีความตายเกิดขึ้น หรือแปลว่า มีการตายเกิดขึ้น ประมาณนี้ครับ
@@รุ่งสาระดี ขอบคุณครับ
สงชลาแถวที่บ้านก็ไม่มีคำกล่าวครับ
ครับผม
อีสานมีนะ
ครับ
ของผมใช้
วิปติปัตตัง ปติคัณกานัง อะปุตฉามิ ทุติยัมปิ/ตัติยัมปิ
อีกบทนึ่ง
ปาจะโนภันเต สุขันจะ จีวะรัณจะ.สัตธัมมะเทสานังยาจามิ
ทราบ ขอบคุณครับ
ที่อาจารย์พูดกับตัวหนังสือที่ขึ้นในคลิปไม่ตรงกัน ใช้คำว่าอาราธะนานัง หรืออาราธะนังครับ
ผมพูดผิดครับ อาราธะนัง
ผมเป็นอีกคนนึงที่ได้เรียนถามท่านอาจารย์ไว้เนื่องจากมีความสงสัยเนื่องจากมัคนายก2 วัดที่บ้านอาราธนาสั้นๆแต่แตกต่างกันเล็กน้อย จึงมีข้อสงสัย ได้ลองถามท่านท่านก็บอกว่าฟังจากรุ่นก่อนก่อนสืบต่อกันมา เลยลองค้นคว้าหาข้อมูลทาง googleและ RUclipsแต่ไม่พบข้อมูลถึงได้เรียนถาม โดยที่วัดแถวบ้าน ท่านอาราธนาว่าปาสาโนภันเต ทุกคันจะ วิวะรัสสะ ธรรมเทศนัง อาราธนังกะโรมะ เอาคำเหล่านี้มา search หาก็ไม่พบข้อมูล ไม่แน่ใจว่าจะผิดเพี้ยนมาเรื่อยเรื่อยหรือเปล่า จึงถามหาจากแหล่งที่มีข้อมูลยืนยัน ที่อาจารย์ค้นคว้านำมาเสนอ ก็ฟังดูมีความน่าเชื่อถือ มีความหมายดีครับ
ครับผม
เป็นบาลีที่เพี้ยนไวยากรณ์ครับ ตามหลักก่อนนะครับ ถ้าแปลเอาความก็จะได้ประมารณว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย มีความเลื่อมใสศรัทะา ขอทำการอาราธนา( เทสะนัง กะโรมะ) ธัมมะเทสะนัง (ผิดไวยากรณ์) ซึ่งการแสดงธรรม ทุกขักขันธัสสะ วิวะรัสสะ ..เพื่อความสิ้นไป หมดไป แห่งขันธ์คือความทุกข์ ประมาณนี้นะครับ ผมคาดเดาเอาจากคำศัพท์ครับ
ผมคนเชียงรายผมย้ายจากสารคาม
จังหวัดตรังก้อไม่มีครับ
ครับผม
ปัจจุบันอยู่จ.มุกดาหารก็ไม่เคยเห็นครับ
ผมก็ไม่เคยใช้ครับ
มีใครสนใจแบบผมบ้างครับ อ.เขมราฐ จ. อุบลฯ
"อัมหากัง ชะยะมังคะลัตถายะ
พุทธะชินะคาถัง สัชฌาเยถะโน
โอกาสะ อาราธะนัง กะโรมะ"
อาราธนาพาหุง ในศาสนาพิธี เล่ม 1 นักธรรมชั้นตรี ไม่มี ที่มีกล่าวอาราธนาทั่วไป (ทางอิสาน) เป็นของนักปราชญ์โบราณ หลายท้องที่ ไม่เหมือนกันแต่คล้านกัน
รับทราบ ขอบคุณครับ
กะโรมิ กับ กะโรมะ ความหมายต่างกันไหมครับ
๑. กะโรมิ แปลว่า ข้าพเจ้า กระทำ... , คนเดียว, เอกพจน์
๒. กะโรมะ แปลว่า ข้าพเจ้าทั้งหลาย กระทำ , ตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป , พหูพจน์
@@รุ่งสาระดี ขอบคุณครับอาจารย์
อาจารย์ปองไชยใช้คำอาราธนามาติกา ว่าอย่างไรครับอยากเรียนถาม เท่าที่ทราบไม่นิยมใช้ แต่เมื่อไม่นานมานี้มีพระรูปหนึ่งมาจำวัดอยู่แถวบ้าน ท่านบอกให้อาราธนาก่อน ผมจึงลองหาข้อมูลใน google ก็ทราบว่าไม่นิยมใช้ แต่มีบางท่านแต่งขึ้นมา ผมจึงใช้ตามว่า โอกาสะ
โอกาสะ โอกาสะ มะยังภันเต ธรรมะมาติกัง
อาราธะนัง กะโรมะ ความหมายได้ไหมครับ ความคิดเห็นนี้ 2 คำถาม
๑. ของ อ.ปองไชย ไม่มีครับ
๒. ชุดคำอาราธนานี้ ไม่สมบูรณ์ครับ..
ผมว่าไม่น่าจะนำมาอาราธนา ให้มันยืดยาวเสียเวลา ปล่อยให้พระท่านสวดไปเลย ภาคอิสานมักจะชอบใช้คำอาราธนานั่นนี่ต่างจากที่มีในเอกสารศาสนพิธี กรมศาสนา
เป็นวัฒธรรมพื้่นที่ครับ
อุกาสะ สาธุโน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ อัฎฐะคาถาโย พรูถะ ชัยยะมังคะลานิ ทุติยัมปิ......ตะติยัมปิ....ถูกไวยากรณ์บาลีรึเปล่าครับอาจารย์...ชี้แนะด้วยครับ
ข้อสังเกต บทพาหุง ชัยมงคลคาถา (มงคล 38 ประการ)
อัฎฐะ แปลว่า 8 คาถาบท, คาถา 8 บท
ชัยยะมังคะลานิ คาถาชัยมงคล หมายถึงบทพาหุง ..
อัฏฐะคาถาโย เป็นทุติยาวิภัต แปลว่า ซึ่งคาถา 8 บท
ชัยยะมังคะลานิ เป็นทุติยาวิภัติ แปลว่า ซึ่งบทชัยมงคล
ดูจากความหมายของคำ .. สรุปได้ว่า
บทพาหุง คือบทชัยมงคล 38 ประการ บาลีว่า อัฎฐะติงสะ ... 38 ประการ
แต่ที่ให้มา ว่าด้วยวิภัตติ ..ถูกทั้งคู่ แต่ซ้ำซ้อน อัฎฐะคาถาโย... และ ชัยยะมังคะลานิ
ประมาณนี้ครับ
วิปะติปัตตัง พุทธะชัยยะมังคะลัง อัฐถะคาถายังยาจามะ
ทุติยัมปิ วิปะติปัตตัง ธรรมะชัยยะมังคะลัง
อัฐถะคาถายังยาจามะ
ตะติยัมปิ วิปะติปัตตัง
สังฆะชัยยะมังคะลัง
อัฐถะคาถายังยาจามะ
ถูกหรือผิดขอคำแนะนำจากผู้รู้ด้วยครับ.
ล้อคำอาราธนาพระปริตร..ผิดไวยากรณ์ หลายจุดครับ อัฐกะคาถายัง
ผมก็ไม่เคยใช้ครับ
ครับผม
สุพรรณก็ไม่มี
รับทราบครับ
ไม่มีครับ
กล่าวนำยืด
กดข้ามไปครับ
, สำหรับผมเป็นมัคนายกอยู่ที่ปางสัก.จ.นครสวรรค์ผมจะใช้บทนีัครับ.อุกาสะสาธุโณภันเต.สุคัณจะ.นิวะรัญจะ.ภะสัทธัมมะเทสะนะนัังยาจามิ.วิปัตฏิปะติง.ปะฏิฐานัง.อุตะริสามะ.อาราธนานังกะโรมิ.
รับทราบครับ ขอบคุณครับ
คำอาราธนาพาหุง.ว่าแบบนี้.โอกาส.โอกาสะ.โอกาสะ.สังโฆภันเต.ทักขัญจะ วะรัญจะ.ธัมมะเทสนา.ยาจามะ.อะธิปฏิ.ปะติโนทานัง.อะนุตตะริสสามะ......
ขอบคุณครับ
ผมถามนิด ยอดระกัณฑ์ไตรปิฏกกับพาหุงต้องสวดบทไหนก่อนครับ
พาหุงก่อนครับ...
@@รุ่งสาระดี ขอบคุณครับ
แถวบ้านไม่อาราธนา
ครับ
มันไม่มีคำที่ถูกต้องที่สุดหรอกสมัยก่อนจารึกใส่ใบลานกระดาษยังมีไม่มากคนเฒ่าคนแก่หรือปราชญ์ชาวบ้านบอกต่อกันมาขอยกตัวอย่างเช่นคำอาราธนาธรรมเห็นพิมพ์ผิดๆกันมาแม้แต่ เลี่ยงเซียงยังพิมพ์ผิดไปในหนังสือสวดมนต์ทั่วไปวัดไหนพิมพ์ออกมาผิดทั้งนั้นไม่เห็นมีใครแก้ไข ทั่วประเทศไทยใช้บทเดียวกันผิดมากี่ร้อยปีแล้วไม่มีใครแก้ไขเลย
ครับ
อาจารย์ครับผมขอถามว่าลาข้าวพระสงฆ์ใช้คำนี้ได้ไหมครับอะนะวะเสอัมหากังปาปุณันตใช้ได้ไหมครับ
ล้อคำมาจาก ..คำอปโลกน์ภัตตาหารของพระ
อะยัง ปะฐะมะ ภาโค มะหาเถรัสสะ ปาปุณาติ ส่วนที่ ๑ ย่อมถึงแก่พระเถระผู้ใหญ่ผู้อยู่เหนือข้าพเจ้า
อะวะเสสา ภาคา อัมหากัง ปาปุณาติ ส่วนที่เหลือ ย่อมถึงแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย
คำที่ถูกต้องครับ
หรือจะใช้คำนี้ก็ได้ครับ เสสัง มังคะลัง ยาจามิ ข้าพเจ้า ขอมงคล (อาหาร) ที่เหลือ
ในเมื่อเราอาราธนาพระปริตแล้วทำไมจะต้องไปอาราธนาพาหุงฯอีกเพราะพระท่านสวดรวมยกชุดอยู่แล้ว ผมคิดว่าคำอาราธนาย่อยๆเหล่านี้น่าจะแต่งเติมเข้ามาภายหลัง
ผมก็คิดอย่างนั้นครับ
ขอบคุณอาจารย์มากครับที่ให้ความรู้ครับ
ครับผม
แต่ไม่ทราบว่าจากมิเปลี่ยนเป็นมะหรือเปล่า
น่าคิดครับ
คำลาเข้าพระพุธบ้านผมว่าเสสังมังฆะลาจามิ
คำถวายเข้าพระพุธบ้านผมว่าอีมังสูปะพยัญชะนะสำปันนังสาลีนังโพชะนังอุทฑกังวะรังพุทธัสสะปูเชมครับ
ใช้ได้ครับ
ผมจะใช้คำว่าอุกาสะอุกาสะสาธุโนภันเตทุกคันจะวรัญจะธรรมเทศนายาจามะอัฐิปฏิปติโนทานังอนุจะลิดจามะ
ครับ
อยากให้เรียบเรียงอันถูกต้องที่สุดครับ
ถ้ามีโอกาส ศักยภาพและเศรษฐกิจพอครับผม ..
อิมังปิโนตุกังธรรมเทศนังอาราธนังกะโรมะ
ครับผม
ถ้าเราทำบุญถวายภัตตาหารเพลหมายถึงทำบุญตักบาตรทั่วไปและเจริญพระพุทธมนต์ตอนเช้าและอาราธนาพระปริตรแล้วก็จะถวายสังฆทานตอนฉันจะว่าเช้าก็ไม่เชิงเพราะพระฉันเสร็จก็เกือบจะเพลแล้วเราจะกล่าวคำอาราธนาพาหุงช่วงไหนครับก่อนหรือหลังอาราธนาพระปริตรเพราะงานจะมีเจริญพระพุทธมนในช่วงเวลาเช้าเกมือนกันครับขอบคุณอาจารย์ครับ
หลังตักบาตรเช้า พระจะสวดถวายพรพระ (พาหุง) ครับ
ผมงงครับผมมือใหม่ครับคือเราทำบุญกันทั่วไปเป็นเจ้าภาพร่วกันทั้งซอยพระมาตอนเช้าแลไหว้พระถวายดอกไม้ธูปเทียนเสร็จรับศีลอาราธนาพระปริตรพระเจริญพระพุทธมนต์ท่านก็สวดบทพาหุงไปในตัวในกรณีนี้เราจะอาราธนาพาหุงช่วงไหนครับขอบคุณครับหรือว่าสวดพาหุงสองรอบครับ
@@malikhembut4146 อาราธนาพาหุง อย่างเดียวก็ได้ครับ ไม่ต้องอาราธนาพระปริตร
ถ้าอารธนาพระปริตไปแล้วไม่ต้องอาราธนาสวดพาหุงอีกครับ พระท่านมาลงบทพาหุงต่อไปเลยตามด้วยบทชัยมงคลคาถาไปเลยครับ 7:33
มีนะไปชื้อหาหนั่งสือถวายทานเล่มสีเขียวนะ
ขอบคุณครับ
ผมว่ารู้สึกมั่ววุ่นไปหมดอะไรที่ไม่มีไม่ได้กำหนดใว้ตั้งแต่ต้นก็ไปดีงมาเสริมแต่งเติมให้วุ่นสับสนปวดหัวครับสรุปอะไรที่ไม่ใช่ไม่มีก็อย่านำมาออกรายการครับ
ขอบพระคุณท่านอาจารย์มากค่ะท่านอาจารย์เป็นครูบาอาจารย์ที่ประเสริฐที่ต้องเคารพเป็นที่สุดค่ะ
นับถือกันและกันก็เพียงพอครับ มีอะไรบอกกัน มีอะไรแบ่งกัน เท่านี้ก็สุขใจแล้วครับ
ผมใช้อาราธนาพาหุงโอกาสะสัญญาธรรมเทศนาสังฆัสสะนิญาจามะ
รับทราบครับผม