Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
อาจารย์สุเนตร ลึกซึ้งมาก
อ.สุเนตร สุขุมลุ่มลึก ยอดเยี่ยมจริงค่ะ
เรื่องอยุธยาในเอกสารเปอร์เซีย คุณมนัส เกียรติธารัย ก็เคยเขียนมานานแล้ว ท่านตีความว่า ซะห์รินาว หมายความว่า เมืองเรือ หรือ นาวานคร แต่ก็ให้คำแปลว่า เมืองใหม่เช่นกัน
อจ.สุเนตรยอดเยี่ยมจริงๆ ทั้งความรู้และมุมมองในแง่มุมวิชาการ
หนังสือหมดแล้วเสียดายครับ
เล่มใหม่พึ่งพิมพ์ครับ ยังไม่หมด
Wow แอดทีเอ็นก็มาครับ ผมชอบเสียงแอดหัวเราะครับ😊😊😊 อย่าลืมเล่าให้ฟังหน่อยนะครับ ศรีเทพก็สนุก😊😊😊
ว้าวเเอดก็มาด้วย แต่ผมขอเเอดอย่างเดียว คืออย่างเอาประวัติศาสตร์ชาติไทย มาจาก สุจิต(ไอ้พวกอุปโลกตัวเอง เเต่งเสริมปรุงเเต่งจนมั่ว) เเต่ถ้าดร.สุเนตร ดร.มิ้กกี้ ฮาท เชื่อถือได้คับ
คุยกันสนุกทั้ง 4 ท่าน อยากได้หนังสือเก็บไว้เลย
เมื่อไหร่จะมีหนังสือล๊อตใหม่ครับ
ศิโรจน์ อคติศึกษา
ได้รู้อะไรมากเลยครับ
ขอบคุณครับ!
ตามต่างจังหวัดมีขายทีไหนบ้าง?
ดูตามเว็บหมดล่ะครับ เดี๋ยวรอเช็คอีกรอบ
การเดื่นเรีอค้าขายมีหลายเส้นทางเพราะมีส่วยค้าขาย
พืธีกรพูดเร็วเกินไปจนจับใจความไม่ได้ ขาดจังหวะการพูด ขอโทษ
นัก ปวศเคลียเรื่องการยกทัพคนเปนหมื่นเปนแสนมากันยังไง รบกันแล้วฆ่าฟันกันเปนพันเปนหมื่นแล้วเอาคนตายไปไว้ที่ไหน ฟังมาเปนสิบสิบปีแล้วไม่เหนมีใครให้ความกระจ่างครับ
ไม่ใช่นัก ปวศ แต่เล่าได้บางส่วนสมัยก่อนไม่มีกองทหารอาชีพ เวลาจะรบเกณฑ์ชาวบ้านผู้ชายพวกไพร่ให้ฝึกอาวุธ การเกณฑ์คือใช้ผู้นำชุมชน ส่วนใหญ่ก็ผู้ใหญ่ในสายตระกูลหลักๆของหมู่บ้านที่เป็นขุนนางระดับล่างนั่นหละ ฝึกแยกกันตามแต่จะทำได้ แล้วก็รวมกลุ่มกันแบกขนเสบียงเดินทางไปเป็นพวกๆเพื่อได้ดูแลปกป้องญาติพี่น้องเพื่อนฝูงของตน จึงแยกตามท้องถิ่นต่างๆคนไม่ได้ปนกันนะ ไม่ได้จัดแถวเรียกพลไปรวมกันแบบทหารอาชีพ ผู้นำท้องถิ่นก็ไปประชุมนัดแนะการเดินทัพกับนายทัพนายกองหัวหน้าของตนตามชั้นบังคับบัญชา คนรุ่นก่อนต้องทำนาเก็บข้าวเก่าใว้พอกินอย่างน้อยหนึงปี คือมีข้าวเก่าปีก่อนในยุ้งข้าว และข้าวใหม่ที่เพิ่งเกี่ยวนวดปีนี้ตากสามแดดเก็บในหนึ่งปี ทยอยเอาข้าวเก่าออกมาตำเป็นข้าวสารกินก่อน ไม่ตำล่วงหน้าเกินครึ่งเดือนเพราะจะเป็นมอด เผื่อทำนาไม่ได้ผล น้ำท่วมฝนแล้งโรคพืช จะได้มีข้าวเก่ากินต่อไปอีกปีถ้ามีการเตรียมจะไปรบข้าวบนยุ้งอาจถูกสะสมใว้สองปีรวมกับข้าวใหม่ที่จะเกี่ยวเป็น สามปี เอาดีๆเกี่ยวข้าวนวดตากเก็บแล้วค่อยออกทัพ ซึ่งยุ้งหลวงจะเต็มทั้งข้าวนาหลวงและข้าวที่เก็บเป็นภาษี ส่วนเรื่องสเบียงเสริมก็ส่งข่าวไปบอกหัวเมืองตามรายทางให้เร่งทำนาสะสมข้าวเอาใว้ตามเส้นทางที่กองทัพจะผ่าน เนื่องจากคนยุคก่อนเป็นระบบไพร่ต้องสังกัดขุนนางท้องถิ่น เจ้านายเรียกใช้แรงงานได้จึงสามารถกำหนดการงานให้ทำได้.. ปกติไพร่ผู้ชายจะมีเวลาอยู่กับครอบครัวไม่เต็มทั้งปี ต้องถูกเกณฑ์ไปทำงานให้มูลนายปีละหลายเดือน ก็เข้ากลุ่มกันไปทำนา เก็บเกี่ยว ทำเหมือง ขุดคูคลองร่องน้ำ บุกเบิกขุดโค่นถางเผาป่าเป็นนาสวน ทำเรือนทำศาลาอะไรต่างๆ เพราะต้องออกเดินทางเป็นกลุ่มๆทั้งเกณฑ์แรงงานหรือ หาล่าวัวควายช้างหลุดคอก หรือแม้แต่จับโจรกันอยู่แล้ว เมื่อถูกเกณฑ์ เมื่อต้องเดินทางเป็นกลุ่มจึงเป็นเรื่องปกติของคนยุคนั้น ทั้งนี้การเดินทางมักไม่สามารถไปทางเดียวกันได้ เพราะสมัยก่อนไม่มีถนน อาศัยทางวัวควายทางช้างทางเกวียน ซึ่งเป็นทางดิน หน้าฝนคนสัตว์เดินมากทางเดินพังเกวียนจะติดหล่ม หน้าหนาวหน้าร้อนดินแห้งจะเดินทางได้สะดวกกว่า จึงต้องมีหน่วยสำรวจล่วงหน้าไปดูหาท่าข้ามน้ำ หาจุดพัก ไปคุยกับคนท้องถิ่นตลอดทาง แยกกลุ่มแยกหัวหน้ากันหมดก็ต้องหาจุดตั้งค่ายแยกที่พักกัน หรือตามแต่เจ้านายจะแบ่งสรรพื้นที่ตามกลยุทธ์การศึก แต่เน้นต้องหาน้ำกินน้ำใช้และมีข้าวเปลือกข้าวสารพอกิน ความเป็นกองทัพจึงต้องแยกหน่วยเล็กๆ ดูแลตนเองมากหน่อยได้ตามแต่อำนาจของขุนนางท้องถิ่นในตำบลหรือสองสามตำบลที่รวมคนกันมานั่นหละ แต่เจ้านายระดับสูงกว่าจะให้งานเฉพาะทางเป็นหน่วยหาเสบียงสด ทำทางทำสะพาน ควบคุมเชลยอะไรก็ว่าไป
ปกติการรบคือไปปล้นครับ ปล้นช้างม้าวัวควายเรือเกวียน ผ้า ข้าวเปลือก เงินทอง อาวุธ และจับคนกลับมาเป็นทาส หรือแบ่งเป็นกลุ่มชุมชนเล็กๆให้ตั้งบ้านเรือนในท้องที่ของผู้ชนะเพื่อจะได้เรียกใช้แรงงาน ไม่ได้ปล้นเพื่อจะยึดเอาพื้นที่แบบการทำสงครามยึดเมืองในยุคนี้ จึงไม่สนใจเรื่องที่ดินหรอก สนใจแต่ความปลอดภัยในภายหน้า เป็นเรื่องคนและทรัพย์สมบัติที่เคลื่อนย้ายได้เท่านั้น ถ้าเมืองไหนยอมแพ้ก็มักไม่ทำร้าย แค่ให้ส่งส่วยหรือแบ่งคนมาสักครึ่ง เพื่อลดกำลังของฝ่ายตรงข้าม หรือเอาคนสำคัญของเมืองกลับไปเป็นตัวประกันว่าจะไม่แข็งเมือง เมืองไหนขัดขืนก็ปล้น เทครัวเอาคนกลับเมืองตัวเองให้มากที่สุด ซึ่งสามารถรับประกันความปลอดภัยได้ยาวนาน เพราะรุ่นลูกหลานที่หนีรอดสงครามย่อมกลัวว่าญาติพี่น้องที่ถูกกวาดต้อนไปจะถูกทำร้ายจึงไม่กล้ารวมคนต่อต้านกลับ จึงมีบางเมืองเล็กต้องส่งส่วยเมืองใหญ่หลายเมือง หรือบางหมู่บ้านก็เป็นคนของเมืองสองเมืองเป็นต้น รบกันแล้วตายทำไง ถ้าเป็นคนสำคัญหน่อยก็ฝังหรือเผาอย่าให้อุจาด แต่ยุคนั้นคนตายโหงจากธรรมชาติ น้ำป่า เสือขบ ตกเหว ไม้ล้มทัพ ควายขวิด ช้างแทง งูกัด จมน้ำตายพราย แบบที่กู้ศพไม่ได้ ต้องปล่อยทิ้งก็เป็นเรื่องปกตินะครับ ถ้ารบในป่าเขาเอาไม่ไหวก็ทิ้งศพแล้วไปให้ไกล ถ้าจัดการไหวก็เผาหรือฝังให้หน่อยเพราะมันกระทบต่อความปลอดภัยล่อเสือล่อหมีหมาไนขุดคุ้ยได้นะ คือรบกันแล้วก็ทำให้กันทั้งสองฝ่ายนั่นหละ ไม่งั้นถ้ารบกันในเขตชุมชนปล้นเมืองจบแล้วเน่าเหม็นไปหลายเดือนใครจะกล้าอยู่ในพื้นที่ต่อหละครับ แต่แน่นอนว่าทำให้ฝ่ายตัวเองดีกว่าเยอะ
ผมว่านักวิชาการไม่ต่างอะไรกับนักสืบ!น่าจะมาสืบเรื่องนอ้งแตงไทยบ้างนะท่าจะระเอียดครับ
ไม่จำเป็นมีเลยครับ ผมเป็น Futurist ไม่มานั่งเสียเวลาอยู่หรอกว่าฝรั่งจะมาเขียนประเทศไทยยังไง ผมสนแค่ว่าในอนาคตประเทศไทยเราจะพัฒนาไปแค่ไหน มีแต่คนแก่ไม่ก็หัวโบราณแค่นั้นแหละที่อ่านหนังสือแบบนี้ 🤦♂️
อะไร
ก้าวไปไกลจริงๆ
เก่งไม่ไหว้
อาจารย์สุเนตร ลึกซึ้งมาก
อ.สุเนตร สุขุมลุ่มลึก ยอดเยี่ยมจริงค่ะ
เรื่องอยุธยาในเอกสารเปอร์เซีย คุณมนัส เกียรติธารัย ก็เคยเขียนมานานแล้ว ท่านตีความว่า ซะห์รินาว หมายความว่า เมืองเรือ หรือ นาวานคร แต่ก็ให้คำแปลว่า เมืองใหม่เช่นกัน
อจ.สุเนตรยอดเยี่ยมจริงๆ ทั้งความรู้และมุมมองในแง่มุมวิชาการ
หนังสือหมดแล้วเสียดายครับ
เล่มใหม่พึ่งพิมพ์ครับ ยังไม่หมด
Wow แอดทีเอ็นก็มาครับ ผมชอบเสียงแอดหัวเราะครับ😊😊😊 อย่าลืมเล่าให้ฟังหน่อยนะครับ ศรีเทพก็สนุก😊😊😊
ว้าวเเอดก็มาด้วย แต่ผมขอเเอดอย่างเดียว คืออย่างเอาประวัติศาสตร์ชาติไทย มาจาก สุจิต(ไอ้พวกอุปโลกตัวเอง เเต่งเสริมปรุงเเต่งจนมั่ว) เเต่ถ้าดร.สุเนตร ดร.มิ้กกี้ ฮาท เชื่อถือได้คับ
คุยกันสนุกทั้ง 4 ท่าน อยากได้หนังสือเก็บไว้เลย
เมื่อไหร่จะมีหนังสือล๊อตใหม่ครับ
ศิโรจน์ อคติศึกษา
ได้รู้อะไรมากเลยครับ
ขอบคุณครับ!
ตามต่างจังหวัดมีขายทีไหนบ้าง?
ดูตามเว็บหมดล่ะครับ เดี๋ยวรอเช็คอีกรอบ
การเดื่นเรีอค้าขายมีหลายเส้นทางเพราะมีส่วยค้าขาย
พืธีกรพูดเร็วเกินไปจนจับใจความไม่ได้
ขาดจังหวะการพูด ขอโทษ
นัก ปวศ
เคลียเรื่องการยกทัพคนเปนหมื่นเปนแสนมากันยังไง รบกันแล้วฆ่าฟันกันเปนพันเปนหมื่นแล้วเอาคนตายไปไว้ที่ไหน ฟังมาเปนสิบสิบปีแล้วไม่เหนมีใครให้ความกระจ่างครับ
ไม่ใช่นัก ปวศ แต่เล่าได้บางส่วน
สมัยก่อนไม่มีกองทหารอาชีพ เวลาจะรบเกณฑ์ชาวบ้านผู้ชายพวกไพร่ให้ฝึกอาวุธ
การเกณฑ์คือใช้ผู้นำชุมชน ส่วนใหญ่ก็ผู้ใหญ่ในสายตระกูลหลักๆของหมู่บ้านที่เป็นขุนนางระดับล่างนั่นหละ ฝึกแยกกันตามแต่จะทำได้ แล้วก็รวมกลุ่มกันแบกขนเสบียงเดินทางไปเป็นพวกๆเพื่อได้ดูแลปกป้องญาติพี่น้องเพื่อนฝูงของตน จึงแยกตามท้องถิ่นต่างๆคนไม่ได้ปนกันนะ ไม่ได้จัดแถวเรียกพลไปรวมกันแบบทหารอาชีพ ผู้นำท้องถิ่นก็ไปประชุมนัดแนะการเดินทัพกับนายทัพนายกองหัวหน้าของตนตามชั้นบังคับบัญชา
คนรุ่นก่อนต้องทำนาเก็บข้าวเก่าใว้พอกินอย่างน้อยหนึงปี คือมีข้าวเก่าปีก่อนในยุ้งข้าว และข้าวใหม่ที่เพิ่งเกี่ยวนวดปีนี้ตากสามแดดเก็บในหนึ่งปี ทยอยเอาข้าวเก่าออกมาตำเป็นข้าวสารกินก่อน ไม่ตำล่วงหน้าเกินครึ่งเดือนเพราะจะเป็นมอด เผื่อทำนาไม่ได้ผล น้ำท่วมฝนแล้งโรคพืช จะได้มีข้าวเก่ากินต่อไปอีกปี
ถ้ามีการเตรียมจะไปรบข้าวบนยุ้งอาจถูกสะสมใว้สองปีรวมกับข้าวใหม่ที่จะเกี่ยวเป็น สามปี เอาดีๆเกี่ยวข้าวนวดตากเก็บแล้วค่อยออกทัพ ซึ่งยุ้งหลวงจะเต็มทั้งข้าวนาหลวงและข้าวที่เก็บเป็นภาษี ส่วนเรื่องสเบียงเสริมก็ส่งข่าวไปบอกหัวเมืองตามรายทางให้เร่งทำนาสะสมข้าวเอาใว้ตามเส้นทางที่กองทัพจะผ่าน
เนื่องจากคนยุคก่อนเป็นระบบไพร่ต้องสังกัดขุนนางท้องถิ่น เจ้านายเรียกใช้แรงงานได้จึงสามารถกำหนดการงานให้ทำได้.. ปกติไพร่ผู้ชายจะมีเวลาอยู่กับครอบครัวไม่เต็มทั้งปี ต้องถูกเกณฑ์ไปทำงานให้มูลนายปีละหลายเดือน ก็เข้ากลุ่มกันไปทำนา เก็บเกี่ยว ทำเหมือง ขุดคูคลองร่องน้ำ บุกเบิกขุดโค่นถางเผาป่าเป็นนาสวน ทำเรือนทำศาลาอะไรต่างๆ เพราะต้องออกเดินทางเป็นกลุ่มๆทั้งเกณฑ์แรงงานหรือ หาล่าวัวควายช้างหลุดคอก หรือแม้แต่จับโจรกันอยู่แล้ว เมื่อถูกเกณฑ์ เมื่อต้องเดินทางเป็นกลุ่มจึงเป็นเรื่องปกติของคนยุคนั้น
ทั้งนี้การเดินทางมักไม่สามารถไปทางเดียวกันได้ เพราะสมัยก่อนไม่มีถนน อาศัยทางวัวควายทางช้างทางเกวียน ซึ่งเป็นทางดิน หน้าฝนคนสัตว์เดินมากทางเดินพังเกวียนจะติดหล่ม หน้าหนาวหน้าร้อนดินแห้งจะเดินทางได้สะดวกกว่า จึงต้องมีหน่วยสำรวจล่วงหน้าไปดูหาท่าข้ามน้ำ หาจุดพัก ไปคุยกับคนท้องถิ่นตลอดทาง แยกกลุ่มแยกหัวหน้ากันหมดก็ต้องหาจุดตั้งค่ายแยกที่พักกัน หรือตามแต่เจ้านายจะแบ่งสรรพื้นที่ตามกลยุทธ์การศึก แต่เน้นต้องหาน้ำกินน้ำใช้และมีข้าวเปลือกข้าวสารพอกิน ความเป็นกองทัพจึงต้องแยกหน่วยเล็กๆ ดูแลตนเองมากหน่อยได้ตามแต่อำนาจของขุนนางท้องถิ่นในตำบลหรือสองสามตำบลที่รวมคนกันมานั่นหละ แต่เจ้านายระดับสูงกว่าจะให้งานเฉพาะทางเป็นหน่วยหาเสบียงสด ทำทางทำสะพาน ควบคุมเชลยอะไรก็ว่าไป
ปกติการรบคือไปปล้นครับ ปล้นช้างม้าวัวควายเรือเกวียน ผ้า ข้าวเปลือก เงินทอง อาวุธ และจับคนกลับมาเป็นทาส หรือแบ่งเป็นกลุ่มชุมชนเล็กๆให้ตั้งบ้านเรือนในท้องที่ของผู้ชนะเพื่อจะได้เรียกใช้แรงงาน ไม่ได้ปล้นเพื่อจะยึดเอาพื้นที่แบบการทำสงครามยึดเมืองในยุคนี้ จึงไม่สนใจเรื่องที่ดินหรอก สนใจแต่ความปลอดภัยในภายหน้า เป็นเรื่องคนและทรัพย์สมบัติที่เคลื่อนย้ายได้เท่านั้น ถ้าเมืองไหนยอมแพ้ก็มักไม่ทำร้าย แค่ให้ส่งส่วยหรือแบ่งคนมาสักครึ่ง เพื่อลดกำลังของฝ่ายตรงข้าม หรือเอาคนสำคัญของเมืองกลับไปเป็นตัวประกันว่าจะไม่แข็งเมือง เมืองไหนขัดขืนก็ปล้น เทครัวเอาคนกลับเมืองตัวเองให้มากที่สุด ซึ่งสามารถรับประกันความปลอดภัยได้ยาวนาน เพราะรุ่นลูกหลานที่หนีรอดสงครามย่อมกลัวว่าญาติพี่น้องที่ถูกกวาดต้อนไปจะถูกทำร้ายจึงไม่กล้ารวมคนต่อต้านกลับ จึงมีบางเมืองเล็กต้องส่งส่วยเมืองใหญ่หลายเมือง หรือบางหมู่บ้านก็เป็นคนของเมืองสองเมืองเป็นต้น
รบกันแล้วตายทำไง ถ้าเป็นคนสำคัญหน่อยก็ฝังหรือเผาอย่าให้อุจาด แต่ยุคนั้นคนตายโหงจากธรรมชาติ น้ำป่า เสือขบ ตกเหว ไม้ล้มทัพ ควายขวิด ช้างแทง งูกัด จมน้ำตายพราย แบบที่กู้ศพไม่ได้ ต้องปล่อยทิ้งก็เป็นเรื่องปกตินะครับ ถ้ารบในป่าเขาเอาไม่ไหวก็ทิ้งศพแล้วไปให้ไกล ถ้าจัดการไหวก็เผาหรือฝังให้หน่อยเพราะมันกระทบต่อความปลอดภัยล่อเสือล่อหมีหมาไนขุดคุ้ยได้นะ คือรบกันแล้วก็ทำให้กันทั้งสองฝ่ายนั่นหละ ไม่งั้นถ้ารบกันในเขตชุมชนปล้นเมืองจบแล้วเน่าเหม็นไปหลายเดือนใครจะกล้าอยู่ในพื้นที่ต่อหละครับ แต่แน่นอนว่าทำให้ฝ่ายตัวเองดีกว่าเยอะ
ผมว่านักวิชาการไม่ต่างอะไรกับนักสืบ!น่าจะมาสืบเรื่องนอ้งแตงไทยบ้างนะท่าจะระเอียดครับ
ไม่จำเป็นมีเลยครับ ผมเป็น Futurist ไม่มานั่งเสียเวลาอยู่หรอกว่าฝรั่งจะมาเขียนประเทศไทยยังไง ผมสนแค่ว่าในอนาคตประเทศไทยเราจะพัฒนาไปแค่ไหน มีแต่คนแก่ไม่ก็หัวโบราณแค่นั้นแหละที่อ่านหนังสือแบบนี้ 🤦♂️
อะไร
ก้าวไปไกลจริงๆ
เก่งไม่ไหว้