เรียนรู้อย่างไรในโลกพลิกผัน : คิดยกกำลัง 2 (15 ก.ค. 62)

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 29 окт 2024

Комментарии • 4

  • @ถิรธัมโมนามะ

    เราต้องพึ่งพาทุกสิ่ง ทุกด้านมีความสำคัญหมด ในเมืองก็สะดวกสบาย ในชนบทก็ก้าวหน้าขึ้น เคยได้ยินว่าเด็กบางประเทศอายุ5-6ขวบก็สามารถทำงานได้แล้วเช่นการช่วยงานพ่อแม่ ทำให้มีความแข็งแรงตั้งแต่ยังเด็ก และไม่กลัวความลำบาก ต้องพัฒนาทั้งหมดควบคู่กัน เด็กไทยที่เก่งคิดสมองดีมากมายที่สามารถสร้างนวรรตกรรมทันสมัยได้ ถ้าเขาได้ลองดู คนที่ไม่ชอบคิดแต่ชอบงานด้านเกษตร ก่อสร้าง งานอาชีพ งานฝีมือ หรือใช้ความสามารถสาส่วนตัวบางอย่างที่เขามีก็ควรให้เขาได้ลองดู ต้องปรับทัศนคติผู้ปกครองใหม่คำบางคำเช่นคำว่าเรียนสูงๆเป็นเจ้าคนนายคน แล้วพ่อแม่ก็ทำทั้งชีวิตแต่ลูกไม่ได้งานทำ ต้องแก้ปัญหาอย่างมาก เหนื่อยแทน

  • @ถิรธัมโมนามะ

    อยากให้หลักสูตรที่เน้นเรื่อง ดิน น้ำ อากาศ อาหารที่ทาน สิ่งของที่ใช้ทั้งหมด ว่าเกิดมายังไง และจะไปที่ไหนต่อ จะเกิดอะไรอีกต่อไป เพราะปัจจุบันคือปัญหายิ่งใหญ่ของโลกที่จะดิสรับทุกสิ่ง เช่นสิ่งที่ต้องใช้ทุกวันรู้ว่าน้ำที่ดื่มขุดมาจากไหน ผ่านวิธีอะไรมาบ้าง มีสิ่งใดเจือปนบ้างหากไม่ผ่านวิธี และมีวิธีการใดที่จะรักษาให้ปัญหาค่อยๆลดน้อยลงไปได้เรื่อยๆ อาหารที่เราทานจะไปที่ไหนต่อ จะก่อให้เกิดอะไรด้านไหนบ้าง ถ้ามีรายละเอียดเยอะๆลงไปในหลักสูตร คนรุ่นใหม่ก็จะมีวิธีคิดใหม่ๆที่จะบริโภคโดยคำนึงถึงปัญหา ถ้าทุกคนคิดเหมือนๆกัน ปัญหาส่วนมากก็จะลดน้อยลงพร้อมกัน แต่หลักสูตรปัจจุบันไม่ได้เน้นๆ แต่รายวิชาที่จะเรียนเพียงอย่างเดียว ไม่ค่อยได้เรียนรู้เรื่องชีวิตจิตใจมากนัก เมื่อมีความรู้ในวิชาอย่างเดียว เรียนรู้เพื่อ ทำงาน ประกอบอาชีพ เพียงแค่นั้น เขาจะเป็นเหมือนทรัพยากรนึงที่ เหมือนกับการใช้ชีวิตแบบดั้งเดิมที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเราก็รู้กันแล้วว่าแนวทางที่เราเป็นอยู่ขณะนี้ ทั้งจิตใจคนทั้งทรัพยากรต่างๆ มีคุณภาพที่ เสื่อมถอยลงไป

  • @ถิรธัมโมนามะ

    เด็กในชนบทห่างไกลก็เรียนแบบแนวทางโจน จันได เด็กในเมืองก็เรียนรู้นวรรตกรรมใหม่ๆ นวรรตกรรมที่ดีต่อโลก คุ้มต่อค่าใช้จ่าย ประโยชน์ที่ได้รับ ต้องควรแยกการศึกษาเป็นหลายๆแบบ เพราะแต่ละคนสามารถเรียนรู้ไปตามที่ตัวเองชอบ ได้ทุกๆที่ตามที่เขาชอบ ไม่ควรเป็นหลักสูตรแบบเดียวกันหมดทั้งประเทศ จะแบ่งเป็นภาคๆก็ได้ เขตเมืองคนหนาแน่น ต้องการความสะดวกรวดเร็ว สะอาด ไร้มลภาวะอะไรแบบนี้ เด็กๆที่อยู่ห่างไกล ถ้าเขาชอบเกี่ยวกับการทำเกษตร เกี่ยวกับด้านท่องเที่ยวชุมชน พัฒนาสิ่งแวดล้อม อาหาร งานด้านอาชีวะก็เรียนไปเพื่อประกอบอาชีพส่วนตัวในพื้นที่ๆเขาอยากทำงาน เพราะถ้าเป็นนวรรตกรรมที่ต้องลงทุนเยอะทั้งหมดก็อาจจะเข้าถึงได้น้อย เป็นเกษตรทั้งหมดก็ไม่พอ ยังคิดได้อีกเยอะ แต่ผู้คอมเม้นเรียนไม่จบเกรียนคีบอร์ดได้แค่นี้ 😁

  • @ถิรธัมโมนามะ

    แนวทางแบบคำเตือนข้างซองบุหรี่เวิรคมาก ถ้าอยู่ในสินค้าทุกชิ้นได้จะดีมาก เช่นอายุในการย่อยสลาย คำเตือนต่างๆเช่น คำว่า "ขวดนี้มีสารประกอบ...ถ้าไม่ทิ้งลงถัง... อยู่บนดินแล้ว... อยู่ในทะเลแล้ว... ถ้าสะสมไว้กี่ใบมีค่าเป็นเงิน... เป็นคะแนน... ตรง... ให้ใส่รายละเอียดคำเตือนลงไปแบบซองบุหรี่ นอกเหนือจากรายการส่วนประกอบของอาหารหรือผลิตภัทณอื่นๆ คนรุ่นใหม่รุ่นหน้าก็จะเรียนรู้ทุกครั้งที่ได้ซื้อ ได้บริโภค เป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียนได้ทุกที่ ^ ^