สรุปเนื้อหา เนติบัณฑิต ข้อ 10 วิ แพ่ง พระธรรมนูญศาลยุติธรรม

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 14 дек 2024

Комментарии • 5

  • @nhong_jr
    @nhong_jr Год назад +1

    ขอบคุณครับ❤

  • @wwai9
    @wwai9 Год назад

    ขอบคุณมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆครับ

  • @naaayyuio3305
    @naaayyuio3305 Год назад +1

    ขอบคุณนะครับแอด

  • @RoadToProsecutor
    @RoadToProsecutor  Год назад +3

    ในประเด็นที่ 1 มีการแก้กฎหมายใหม่
    ศาลที่มีอำนาจพิจารณาคดีอาญามีทั้งศาลอาญา ศาลแขวง ศาลจังหวัด โดยพระธรรมนูญศาลยุติธรรมจะกำหนดประเภทคดีที่อยู่ใน
    อำนาจของแต่ละศาลไว้ เช่น กรณีโจทก์ฟ้องว่าจำเลยกระทำความผิดที่มีโทษจำคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำ
    ทั้งปรับ โจทก์ต้องฟ้องยังศาลแขวง แต่ถ้าเป็นความผิดที่มีโทษจำคุกเกินอัตราดังกล่าวก็ต้องฟ้องจำเลยยังศาลจังหวัด/ศาลอาญา
    กรณีขณะโจทก์ยื่นฟ้องจำเลย คดีอยู่ในอำนาจศาลจังหวัด/ศาลอาญา ต่อมาปรากฏว่ากลายเป็นคดีอยู่ในอำนาจศาลแขวง เช่นนี้
    ศาลจังหวัด/ศาลอาญาจะมีอำนาจพิจรณาพิพากษาต่อไปได้หรือไม่
    ต้องอาศัยพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา ๑๙/๑ วรรคสอง อันหมายความว่า ศาลจังหวัด/ศาลอาญามีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีนั้นต่อไปได้
    (ฎีกาที่ ๔๓๔๐/๒๕๔๓, ๒๘๑๗/๒๕๕๖ และที่ ๗๔๕๗-๗๕๐๒/๒๕๖๑)

  • @อภิสิทธิ์สิรินิเวช

    แต่มาตรา19/1 วรรคหนึ่ง มีคำสั่งไม่ให้โอนแล้วนะครับ