ทั้ง a และ b มีคาบเวลาเท่ากันครับ เนื่องจากค่าของ m,k ของทั้งสองเท่ากัน จากในวิดิโอที่บอกว่าสมการ T หรือ คาบเวลา นั้นขึ้นอยู่กับตัวแปร m กับ k เท่านั้น และ ในวิดิโอที่บอกว่า ถ้า m กับ k หรือ มวล กับ สปริง ใช้ตัวเดิมจะมีค่าคงที่เสมอ เพราะเหตุนี้ a และ b จึงมีคาบเวลาเท่ากัน ครับ (นาย วัชรวิทย์ สขน้อย ม.5/2 เลขที่ 15)
ทั้ง A และ B มีคาบเวลาเท่ากันค่ะ เนื่องจากว่า m , k ของทั้งสองอันมีค่าเท่ากัน จึงทำให้โอเมก้า , f , T คงที่เสมอค่ะ (นางสาวชลธิชา สมร่าง ม.5/1 เลขที่ 14)
คาบเวลาของโลกกับดวงจันทร์ มีคาบเวลาเท่ากัน เนื่องจาก มวลและค่านิจสปริงมีค่าเท่ากัน
น.ส.ยุพาพรรณ จันทร์อ่ำ เลขที่28 ม.5/1
คาบเวลาของดวงจันทร์ กับโลกเท่ากันเพราะค่าของmกับkมีค่าเท่ากัน
นายเดชาวัต อาจเพล เลขที่2 5/2
คาบเวลาของโลกเเละดวงจันทร์เท่ากัน เพราะค่า mกับk มีค่าเท่ากัน
นางสาวสุชาดา สามฉิมโฉม ม.5/1 เลขที่ 32
คาบเวลาของโลกกับดวงจันทร์เท่ากันเพราะมีมวลกับค่าคงตัวของสปริงที่เท่ากัน
นางสาวปัทมา บุตรดี ม.5/2 เลขที่25
มีคาบเวลาเท่ากันเพราะมวลและค่าสปิงคงที่ทั้ง2สปิงทำให้Tมีค่าคงที่หรือเท่ากัน
นางสาวกัญญาพัตร ขำสุวรรณ์ ม.5/2. เลขที่13
คาบเวลาของดวงจันทร์กับโลกเท่ากัน เพราะค่า mและk เท่ากัน
นายอดิพัฒน์ ขวัญเสาร์ ม.5/1 เลขที่ 14
เนื่องจากmกับkมีค่าที่คงที่ทำให้แรงโน้มถ่วงของโลกและดวงจันทร์ไม่มีผลลัพธ์กับคาบเวลา
เลยสรุปได้ว่า คาบเวลาของสปริงทั้ง2มีค่าเท่ากัน
น.ธีรภัทร อรุณพันธ์ 5/2 เลขที่8
ทั้งบนโลกและดวงจันทร์ มีคาบเวลาเท่ากันเนื่องจากมีมวลและค่านิจสปริงเท่ากัน
นางสาว จุตฑามาส ไทรแก้ว เลขที่ 18
คาบเวลาของทั้งสองมีค่าเท่ากัน
เพราะค่าของมวลและค่านิจสปริงมีค่าเท่ากัน
น.ส.ขวัญฤทัย ชัยโย ม.5/1 เลขที่ 17
คาบเวลาของโลกและดวงจันทร์มีค่าเท่ากันเพราะค่า m และ k มีค่าเท่ากัน
นางสาวญาณภัทร อาจน้อย ม.5/1 เลขที่ 20
คาบเวลาของโลกกับดวงจันทร์ ทั้งสองค่ามีค่าที่เท่ากัน เพราะว่า ค่า m และ k มีค่าที่เท่ากันอีกด้วย
นายเจษฎาภรณ์ แซ่จึง ม.5/2 เลขที่ 1
คาบเวลาของโลกและดวงจันทร์เท่ากันเนื่องจากมีค่านิจสปริงเท่ากัน
นาย ธีรภัทร ล่าบ้านหลวง ม.5/2 เลขที่7
สปริง a และ b มีคาบเวลาเท่ากันเนื่องจากมีมวลและค่านิจของสปริงเท่ากัน จึงทำให้มี ความถี่ โอเมก้า และคาบเวลา คงที่
นายบุญยกร เลิศจารุพงศ์ ม.5/1 เลขที่ 4
คาบเวลาของทั้งสองมีค่าเท่ากันเพราะค่าของ m เเละ k มีค่าเท่ากัน
น.ส ปัญญภรณ์ มีจั่นเพชร เลขที่ 25 ม.5/1
คาบเวาลาเท่ากันเนื่องจากมวลเท่ากันค่านิจสปริงก็เท่ากัน
นางสาวพรชนก ห้วยหงษ์ทอง เลขที่25 ม.5/1
คาบเวลาของ A และ B เท่ากันเพราะทั้งสองมีมวลและค่านิจสปริงเท่ากันค่ะ
นางสาววรฤทัย เนียมหมวด ม.5/2 เลขที่ 39 ค่ะ
คาบเวลาของดวงจันทร์และโลกมีค่าเท่ากัน เพราะ มวลและค่าคงที่ของสปริงมีค่าเท่ากัน
นางสาวสุธีรา บุญรอด ม.5/1 เลขที่33
คาบเวลาทั้งสอบของโลกและดวงจันทร์มีค่าเท่ากัน เพราะ ทั้งสองมีมวลและค่าคงที่ที่เท่ากัน
นางสาวนงนุช ชื่นชมยิ่ง ม.5/1 เลขที่ 22
เมื่อแกว่งบนโลกและบนดวงจันทร์จะมีค่าT(คาบเวลา)ที่เท่ากัน เพราะค่า m(มวล)และ k(ค่านิจสปริง)ทั้งสองเท่ากัน
น.ส. เพ็ญนภา ดีขำ เลขที่ 27 ชั้นม.5/1
มีคาบเวลาของสปริงทั้งaและbเท่ากันเพราะmกับkมีค่าคงที่ทำให้แรงโน้มถ่วงของโลกและดวงจันทร์ไม่มีผลลัพธ์กับคาบเวลา
น.ส.รสิตา วงโคคุ้ม เลขที่20ม.5/2
คาบเวลาทั้งสองที่เเกว่งบนโลกกับบนดวงจันทร์จะมีค่าเท่ากัน เนื่องจากมีค่ามวลเเละค่านิจสปริงที่เท่ากัน
นางสาววันวิสา ศรีสงวน ม.5/1 เลขที่ 31
ทั้งบนโลกและบนดวงจันทร์มีคาบเวลาที่เท่ากัน เพราะ ว่ามีมวล , ค่าคงที่ของสปิง เท่ากันทั้งสอง
นางสาวภิญญดา ส่องประทีป เลขที่28 ม.5/2
มีคาบเวลาเท่ากัน เพราะมวลของวัตถุเท่ากัน และค่าคงตัวของสปริงเท่ากัน
นาย จิรายุทธ สร้อยยอดทอง ม.5/2 เลขที่ 5
คทบเวลาทั้งสองมีค่าเท่ากัน เพราะ ค่าของมวลและนิจสปิงมีค่าเท่ากัน
นางสาวนันทิชา ศิริพิน ม.5/2 เลขที่ 16
คาบเวลาของโลกกับดวงจันทร์เท่ากัน เพราะค่า m , k เท่ากัน
นางสาวสิริโสภา อยู่อินทร์ ม.5/2 เลขที่34
คาบเวลาของทั้งสองเท่ากัน
เพราเนื่องจากมีค่ามวลและค่าคงตัวของสปริงเท่ากันทำให้คาบเวลาเท่ากัน
นายจักรภัทร์ เพชรแอว ม.5/1 เลขที่2
AกับB คาบเท่ากันเพราะในคริปบอกว่าถ้าทุกสมการของ w f Tขึ้นอยู่กับสแควรูทmส่วนkแล้วในคริปบอกว่า mกับkใช้ตัวเดิมทำให้Tคงที่
🥰🥰🥰
คาบเวลาของสปริงทั้งสองมีคาบเวลาเท่ากันครับ เพราะใช้แรงแกว่งเท่ากันและความถี่ขึ้นอยู่ค่านิจสปริงและความหนาแน่นของมวล วัตถุมีค่านิจเท่ากัน คาบเวลาเลยเท่ากันครับ
นายทิวากรณ์ เพชรคอน ม.5/2 เลขที่ 2
คาบเวลาเท่ากันเพราะวัตถุทั้งสองก้อนมีมวลเท่ากัน
นางสาวอภิชดา สีหนู เลขที่35 ม.5/1
คาบเวลาของทั้งสองมีขนาดเท่ากัน เพราะมีค่า m และ k เท่ากัน
นาย ธนกฤต กั้วะห้วยขวาง ม.5/1 เลขที่5
คาบเวลาโลกและดวงจันทร์มีค่าเท่ากัน เพราะ มีค่า m และ k ที่มีค่าเท่ากัน
นายธนิษฐ์ ผลธนวรรธน์ ม.5/1 เลขที่ 6
คาบเวลาของทั้งสองเท่นกัน
เพราะมีมวลและค่านิจสปริงเท่ากัน
น.ส.พัฒนน์รี เลพล ม.5/2เลขที่17
คาบเวลาของทั้งสองมีค่าเท่ากัน เพราะค่าของ
มวลเเละค่านิจสปริงมีค่าเท่ากัน
นางสาว จีราภรณ์ วิริยะการุณย์
ม.5/2 เลขที่ 15
มีคาบเวลาเท่ากัน เพราะมวลและคาบสปริงคงที่ทั้ง2สปริงทำให้ Tมีค่าคงที่หรือเท่ากันนั้นเอง
น.ส.สุทธิดา ล่าบ้านหลวง ม.5/2 เลขที่35
คาบเวลาของสปิงทั้ง2จะเท่ากัน เพราะว่ามวลของสปริงและค่าคงที่เท่ากัน จึงทำให้ความถี่,คาบเวลา,โอเมก้าคงที่
นายสุธัช วงศ์อารีย์ ม.5/2 เลขที่12
โอ้ววววววววว
คาบเวลาของดวงจันทร์กับโลกเท่ากัน เพราะ ค่าของ m กับ k มีค่าเท่ากัน
นายนรเศรษฐ์ บุญเรืองยศศิริ ม.5/1 เลขที่ 9
คาบเวลามีค่าเท่ากัน เนื่องจากค่านิจสปริงและมวลมีค่าเท่ากัน
นางสาว อรปรียา มูลสาร เลขที่ 37 ม.5/1
ทั้้งสองมีคาบเวลาเท่ากัน เพราะค่า m และ k เท่ากัน
นางสาวอมิตตา สามงามเขียว ม.5/1 เลขที่36
โลกกับดวงจันทร์มีคาบเวลาที่เท่ากัน เพราะ ค่า m และค่า k ของทั้งสองมีค่าเท่ากัน
นายธีรภัทร ทนุการ ม.5/1 เลขที่7
คาบเวลาของโลกและดวงจันทร์มีค่าเท่ากัน เพราะ ค่าของ m และ k มีค่าเท่ากัน
นาย ศิวกร สามศรียา ม.5/1 เลขที่13
คาบเวลาของโลกกับดวงจันทร์มีคาบเวลาที่มีค่าเท่ากัน เพราะโลกกับดวงจันทร์มีมวลและค่านิจสปริงเท่ากัน
น.ส พัชรพร สูงสันเขต ม.5/2 เลขที่ 26
สปริงทั้งสองสปริงมีคาบเวลาเท่ากัน เพราะมวลและค่าสปริงทั้งสองสปริงคงที่ทำให้มีคาบ w,f,T เท่ากัน
นาย พิพัฒน์พงศ์ เณรน้อย ม.5/2 เลขที่ 11
คาบเวลาของทั้งสองเท่ากัน เพราะค่าm และ k เท่ากัน
นางสาว ขวัญจิรา อุ้ยคำตา ม.5/2 เลขที่19
คาบเวลาของทั้งสองมีค่าเท่ากัน เพราะ ค่าของ m และ k มีค่าเท่ากัน
นางสาว ร่มเกล้า แช่มชู ม.5/2 เลขที่30
คาบเวลาทั้ง2สปริงเท่ากันเพราะมวลของสปริงและมีค่าคงที่
นางสาว ธันยพร หมื่นจง เลขที่21 ม.5/2
คาบเวลาของทั้งสองเท่ากัน เพราะค่าmและkเท่ากัน
ปณิศา เพชรประดับ เลขที่24 ม.5/2
คาบเวลาสปริงทั้งบนโลกและดวางจันทร์มีค่าเท่ากัน เพราะมีมวลเเละค่าคงที่เท่ากัน จึงทำให้ตัวแปลอื่นๆมีค่าคงที่ไปด้วย(m,k,w,f,T)
น.ส.รัตนา ช่างศรี 5/1 29
❤
🥰🥰🥰
คาบเวลาของสปริงทั้ง2เท่ากัน เพราะ ค่าของ m และ k มีค่าที่เท่ากัน
นาย อภิรักษ์ เหล่าสิม ม.5/1 เลขที่ 15
มีคาบเวลาเท่ากัน เพราะ มวลของวัตถุเท่ากันและค่าคงตัวของสปริงเท่ากัน
นางสาว มัญชุพร สรงพรมทิพย์ ชั้น5/2 เลขที่29
Tของทั้งสองเท่ากัน เพราะมีค่าmและkเท่ากัน
นาย เอกราช เชื้อจีน ม.5/1 เลขที่16
บนโลกมีคาบมากกว่าเพราะบนโลกมีแรงโน้มถ่วงมากกว่าบนดวงจันท์
นายธีรศักดิ์ นิชารัมย์ 5/1 เลขที่8
ทั้้งสองมีคาบเวลาเท่ากัน เพราะ ค่าของ m และ k มีค่าเท่ากัน
นางสาวดวงหทัย แซ่ลิ้ม ม.5/1 เลขที่ 21
แกว่งบนโลกและดวงจันทร์ มีคาบเวลาเท่ากัน เพราะว่า มวลและค่านิจสปริงของวัตถุทั้งสองมีค่าเท่ากัน
น.ส.อัฐภิญญา กิ่งแก้ว ม.5/1 เลขที่22
บนโลกมีคาบมากกว่าบนดวงจันทร์ค่ะ เพราะบนดวงจันทร์มีแรงโน้มถ่วงน้อยกว่าโลก
น.ส.พรสุดา แซ่ลี้ ม.5/1 เลขที่40
มีคาบเวลาที่เท่ากัน เนื่องด้วยทั้ง m และ k นั้นมีค่าที่เท่ากันและมีค่าสปริงที่คงที่ทั้งสอง
นางสาวญาณสิรี รอยพยอม ม.5/1 เลขที่15 ค่ะ
คาบเวลาของสปริงAและB เท่ากันเพราะมวลของสปริงและค่าคงที่เท่ากัน ทำให้ความถี่ คาบ โอเมก้าคงที่
นายศิวกร รัตนะ ม.5/1 เลขที่6
แกว่งบนโลกและบนดวงจันทร์
ทั้ง2ใช้เวลาเเกว่งเท่ากันแรงโน้มถ่วงของทั้ง2ไม่มีผลต่อคาบเวลา
น.ส.พัชรภา พลายนุกูล ม.5/1 เลขที่32
โลกและดวงจันทร์มีสปริงทั้งสองอัน
มีมวลและค่าคงที่สปริง ที่เท่ากัน
จึงทำให้ โอเมก้า ความถี่ และคาบคงที่ จึงทำให้มีคาบเท่ากัน 🌏🌕
น.ส.อาทิตยา รอดจินดา ม.4/1 เลขที่38
เนื่องจาก m , k มีค่าเท่ากันทั้ง2สปริง ทำให้ ตัวโอเมก้า, ความถี่, คาบเวลา มีค่าคงที่ ดังนั้นสรุปได้ว่าคาบเวลาเท่ากัน
นายธนกร อินทร ม.5/2 เลขที่ 6
น.ส.ชนม์นิภา ขยันงาน ม.5/1 เลขที่13
🌍🌕คาบเวลาของวัตถุทั้งสองมีค่าเท่ากันเพราะมีแรงที่ใช้ในการแกว่งเท่ากันเนื่องจากคาบและความถี่ขึ้นอยู่กับค่านิจสปริงและความหนาแน่นของมวล วัตถุทั้งสองมีค่านิจสปริงเท่ากัน คาบของเวลาจึงเท่ากัน🌕🌍💬
คาบเวลาของสปริงทั้งสองอันมีค่าเท่ากันคับ เพราะบนดวงจันทร์ใช้สปริงอันเดิมซึ่งสปริงมี mและk มีค่าคงที่
นาย เกียรติกุล ทันสมัย ม.5/1 เลขที่1
คาบเวลาทั้งสองมีค่าเท่ากัน เพราะมีมวลเเละค่าคงที่เท่ากัน
ชลธิชา ชีวะธรรมรัตน์ ชั้นม.5/1 เลขที่39
ทั้ง a และ b มีคาบเวลาเท่ากันครับ เนื่องจากค่าของ m,k ของทั้งสองเท่ากัน จากในวิดิโอที่บอกว่าสมการ T หรือ คาบเวลา นั้นขึ้นอยู่กับตัวแปร m กับ k เท่านั้น และ ในวิดิโอที่บอกว่า ถ้า m กับ k หรือ มวล กับ สปริง ใช้ตัวเดิมจะมีค่าคงที่เสมอ เพราะเหตุนี้ a และ b จึงมีคาบเวลาเท่ากัน ครับ
(นาย วัชรวิทย์ สขน้อย ม.5/2 เลขที่ 15)
บนโลกมีคาบมากกว่าบนดวงจันทร์เพราะบนโลกมีแรงโน้มถ่วงมากกว่าบนดวงจันท์
นางสาวอรยา เมฆสง่า ม.5/1 เลขที่34
เมื่อแกว่งบนโลกและดวงจันทร์ จะมีคาบเวลาเท่ากัน เพราะว่า มวล (m) และ ค่านิจสปริง (k) มีค่าเท่ากัน ด้วย
นางสาว สุภัสสร จิตชัย ชั้นม.5/1 เลขที่ 34
คาบเวลาของสปริงทั้ง a และ b เท่ากัน เพราะ m กับ k มีค่าคงที่ ทำให้แรงโน้มถ่วงของโลกและดวงจันทร์ไม่มีผลกับคาบเวลา
น.ส. ศรุตา โพธิ์มา ม.5/1 เลขที่ 20
คาบเวลาของสปริงทั้งสองอันมีคาบเวลาเท่ากันเนื่องจาก มวลมีค่าเท่ากันเเละสปริงมีค่าคงที่ ที่เท่ากัน
น.ส.มนัญชยา เเจ่มนิยม ม.5/1 เลขที่19
คาบเวลาของทั้งสองมีค่าเท่ากัน เพราะ ค่าของ m และ k มีค่าเท่ากัน
นางสาวอลิสา ปิ่นทอง ม.5/1 เลขที่ 38.
คาบเวลาสปริงทั้งสองอันมีค่าเท่ากัน เพราะมีมวลเเละค่าคงที่ ที่เท่ากัน ทำให้คาบ โอเมก้า ความถี่ คงที่
นาย กันตินันท์ พรมบุตร ม.5/1 เลขที่ 8
มวลวัตถุและค่าคงตัวของสปริงเท่ากัน คาบเวลาเลยเท่ากัน
นางสาวจุฬาลักษณ์ ทองแท่งใหญ่ 5/1 เลขที่19
เท่ากัน เพราะวัตถุทั้ง2มีมวลเท่ากัน ดังนั้นในการดึงสปริงของวัตถุทั้ง2 เเต่ต่างสถานที่ ทำให้มีคาบเวลาที่ เท่ากัน
น.ส.ศุทธหทัย เพชรลอม ม.5/1 เลขที่ 39
คาบของเวลาทั้งสองมีมวลเท่ากัน เพราะค่า m(มวล) และ k(ค่านิจสปริง) มีค่าเท่ากัน
น.ส.พัทธ์ธีรา ฉ่ำเกตุ ม.5/1 เลขที่ 26
มีคาบและเวลาเท่ากันค่ะ เพราะมีมวลและสปิงเท่ากัน
ทั้งAเเละBจะมีจะมีคาบเวลาเท่ากัน เพราะมวล เเละ ค่านิจสปริงเท่ากัน
นาย กิตติพันท์ คำดี ม.5/1 เลขที่ 1
🌻เนื่องจากค่า m และ k มีค่าเท่ากัน จึงทำให้เวลาของคาบทั้งสองมีค่าเท่ากัน
นายเจษฎากรณ์ เสมาวัตร ม.5/1 เลขที่ 3
ค่าของ m และ k เท่ากันดังนั้นคาบเวลาของทั้ง2จึงเท่ากัน
น.ส. นิติกานต์ สาระ ม.5/1 No.23
สปริงAกับBมีมวลค่าคงที่เหมือนกันจึงมีค่าเท่ากัน โอเมก้า,ความถี่,ค่าคงที่
นาย ฐิติพงศ์ ขำเกิด ม.5/1เลขที่9
ทั้งบนโลกและดวงจันทร์มีค่าT(คาบเวลา)เท่ากันเพราะมี m(มวล) และ k(ค่านิจสปิง) เท่ากันในทั้งสอง
นายมกร วงษ์เกิดศรี ม.5/2 เลขที่10
มีมวลเเละค่าคงที่ของสปริงเท่ากัน จึงทำให้มีคาบเวลาเท่ากัน
นาย ศุกภกิตต์ ไกบพันธ์ 5/1 เลขที่ 5
บนโลกมีคาบเวลามากกว่าบนดวงจันทร์เพราะว่าบนดวงจันทร์นั้นมีค่าแรงโน้มถ่วงน้อยกว่าโลกค่ะ
น.ส.ปุณยนุช เกษมสุขไพศาล ม.5/2 เลขที่22
สปริงทั้ง2มีคาบเวลาเท่ากัน เพราะมวลค่าคงที่ของสปริงมีค่าเท่ากันจึงทำให้ w,f,Tมีความคงที่เสมอ นส ภัคจิรา เหมือนหนู ม.5/2เลขที่36
เท่ากัน เพราะวัตถุมีมวลเท่ากันทั้ง2วัตถุ ทำให้เวลาในการดึงสปริงทั้ง2เท่ากัน
นางสาวปณิฏฐา ศรีคงคา ม.5/1 เลขที่16
มีคาบเวลาเท่ากัน เพราะมวลและค่านิจสปริงมีค่าเท่ากัน
น.ส.สิริรัตน์ จ้อยร่อย ม.5/2 เลขที่35
สปริงทั้งสองอันมีคาบเวลาเท่ากันเพราะว่ามีมวลและค่าคงที่ของสปริงเท่ากัน
นางสาวภัทรดา รอดเริงรื่น ม.5/1 เลขที่35
มีคาบเวลาที่เท่ากัน เนื่องด้วย m และ k นั้นมีค่าแรงที่เท่ากันและค่าคงที่ของสปิงที่เท่ากัน
นาย อลงกรณ์ แซ่ตั้ง ชั้น 5/1 เลขที่ 10
คาบเวลาเท่ากัน เพราะ วัตถุทั้งสองมีมวลเท่ากัน
นางสาวเปรมสินี บัวเล็ก เลขที่35 ชั้นม.5/2
มีคาบเวลาเท่ากัน เพราะมีมวลและค่าคงที่ที่เท่ากัน
น.ส.ปภาวรินท์ หินทอง ม.5/2 เลขที่30
มีคาบเวลาเท่ากัน เพราะ มวลและค่าสปริงคงที่ทั้ง2สปริง ทำให้ T มีค่าคงที่หรือเท่ากันนั้นเอง น.ส.ธนัชชา ทรัพย์เมฆ ม.5/2 เลขที่31
สปริงทั้งสองมีคาบเวลาเท่ากันเพราะวัตถุมีมวลเท่ากันค่ะ
นางสาวพิจิตรา โตรอด ม.5/1 เลขที่18
สปริงทั้งAและBมีคาบเวลาเท่ากันค่ะ เพราะว่ามวลของวัตถุมีค่าเท่ากันและสปริงก็มีค่าเท่ากันค่ะ
น.ส.ณัฐธิมา ถมยาพันธ์ ม.5/2 เลขที่30
มีคาบเท่ากันค่ะ เพราะว่ามวลและค่าคงที่สปริงของวัตถุทั้งสองอันมีค่าเท่ากัน
น.ส.ชวัลนุช ป้อมสุวรรณ์ ม.5/1 เลขที่ 25
ทั้ง A และ B มีคาบเวลาเท่ากันค่ะ เนื่องจากว่า m , k ของทั้งสองอันมีค่าเท่ากัน จึงทำให้โอเมก้า , f , T คงที่เสมอค่ะ
(นางสาวชลธิชา สมร่าง ม.5/1 เลขที่ 14)
สปริงAและBมีคาบเวลาเท่ากันเพราะวัตถุมีมวลและค่าคงที่เท่ากัน
นายภวินท์ ศรีชัยสุวรรณ ม.5/2 เลขที่12
สปริงAและสปริงB มีคาบเท่ากัน เพราะมวลและค่าคงที่สปริงเท่ากัน จึงทำให้ คาบ โอเมก้า ความถี่คงที่
น.ส.สุจิตรา พุทธคุณ ม.5/1 เลขที่ 30
#Ans ถ้านำสปริงไปแกว่งบนดวงจันทร์คาบเวลาจะมากกว่าบนโลกค่ะ เพราะบนดวงจันทร์ค่าแรงโน้มถ่วงคือ 1/6 เท่าแตกต่างจากบนโลก
แต่ถ้าไม่นับแรงโน้มถ่วงสปริงทั้งสองอันจะมีคาบเวลาเท่ากันเพราะเป็นสปริงอันเดียวกันที่เอาไปแกว่งจากโลกไปดวงจันทร์ค่าตัวแปรทุกอย่างเท่ากันคาบเวลาจะเท่ากันด้วยค่ะ
* นส. สมลดา เนียมละมูล ม.5/2 เลขที่ 37
มีคาบเท่ากันครับ เพราะว่ามวลและค่าคงที่สปริงทั้งสองอันเท่ากันครับ
นายบุญษธรณ์ พวงเงินสกุล ม.5/1 เลขที่ 3
คาบเวลาบนดวงจันทร์มีมากกว่าบนโลกจึงทำให้สปริงเคลื่อนที่ได้ช้ากว่าโลกดังนั้นคาบเวลาจึงน้อยกว่า
นาย.ณัฐวุฒื ธิตะโพธิ์ เลขที่7 ม.5/2
คาบเวลาเท่ากัน เพราะ มวลของวัตถุเท่ากันและค่าคงตัวของสปริงเท่ากัน
นางสาวสิรินยา บุ้งกุ่ย ม.5/1 เลขที่ 21
AกับBมีคาบเวลาเท่ากัน เนื่องจากทั้งAและBมีมวลที่เท่ากันมีค่าคงที่เหมือนกันซึ่งทั้งAและBมีทุกอย่างที่เหมือนกัน ดังนั้นทั้งAและBจึงมีคาบเวลาที่เท่ากันค่ะ
นางสาวปิยะวรรณ หมุดสีด้วง ชั้นม5/1 เลขที่17