ช่างรู้ l ปรับปรุงค่า POWER FACTOR ของระบบไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม โดย คุณวิทยา ธีระสาสน์
HTML-код
- Опубликовано: 7 фев 2025
- ปรับปรุงค่า POWER FACTOR ของระบบไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม โดย คุณวิทยา ธีระสาสน์ ผู้จัดการฝ่ายควบคุมคุณภาพ บริษัท อาซีฟา จำกัด (มหาชน)
ในบิลค่าไฟของโรงงานอุตสาหกรรม หากมีปัญหาถูกชาร์จค่า PF CHARGE ควรตรวจสอบ วัดค่าคุณภาพไฟฟ้าและแก้ไข ด้วยการติดตั้ง Capacitor เพื่อปรับปรุงไม่ให้เกิดค่าปรับและยังคงปรับปรุงให้คุณภาพไฟฟ้าดีขึ้นด้วย
ขอขอบคุณบริษัท อาซีฟา จำกัด มหาชน ที่ให้ความรู้ ด้านการแก้ปัญหา และได้ให้เข้าไปถ่ายทำที่โรงงานด้วยนะคะ
ปิยพร หุตานนท์ : ดำเนินรายการ
Id line : phuta
FCครับพี่กอล์ฟความรู้ทั้งนั้น
0.19 มองเพลินเลยนะครับ 😀
ได้ความรู้ดีมากๆครับ ทำโรงงานคอนกรีต ได้ติดตั้ง Capacitor Bank ลดค่า PF Charge = 0 ได้
ผู้ดำเนินรายการน่ารักครับ 😀
รอดูคลิปต่อไปอย่างใจจดใจจ่อ
ได้ความรู้มากครับ ที่บริษัทมีจัดอมรมเกี่ยวกับความรู้ด้านนี้บ้างมั้ยครับ
SiaM หากมีจะแจ้งข่าวนะคะ
ดีจังค่ะ 👍
อยากให้มีการจัดอบรม เกี่ยวกับระบบแบบนี้ เกิดขึ้นครับ
ได้ความรู้เพิ่มดีมากครับ ที่โรงงานcapbankชุดเก่าพึ่งระเบิดไปพึ่งเปลี่ยนชุดใหม่ไปกับมือ ขอบคุณสำหรับความรู้ใหม่ครับ👍👍👍
ครับ
พ่อ😊😊😊
ดีครับ
ขอสอบถามครับ หม้อแปลงไฟฟ้า ขนาดเท่าใดขึ้นไป ต้องติดตั้งแคปแบงค์...
เราจะติดตั้ง Capacitor Bank ในกรณีที่โหลดในระบบไฟฟ้ามีค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าที่ตำ่ๆครับ ซึ่งจะเป็น โหลดประเภทตัวเหนี่ยวนำ (Inductive Load) เช่น มอเตอร์ไฟฟ้า ขดลวดความร้อน เป็นต้น by คุณวิทยาค่ะ
VA คืออะไรครับ ทำให้เป็น W ยังไงครับมีสูตรไหมครับ
Sมีหน่วยเป็นVA(volt-ampere)
Pมีหน่วยเป็นW(watt)
PF(power factor)
P=S*PF
โหลด ฮาโมนิค ของโรงงานเป็นโหลดจำพวกไหนบ้างคับ
โหลดประเภทไม่เป็นเชิงเส้น (Non Linear Load) เช่น โหลดประเภทที่ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronic) วงจรแปลงสัญญาณทางไฟฟ้า (Switching Power Supply), หลอด LED, อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์ (Variable Speed Drive), เตาหลอม (Induction Heat), เตาอาร์ก (Arc Furnec), เครื่องเชื่อมไฟฟ้า (Welding machine), UPS, Converter, Inverter เป็นต้น by คุณวิทยาค่ะ
สาระดีครับ แต่กล้องไม่ต้องขยับคตลอดก็ได้ตอนสัมภาษณ์
Moe Man ขอบคุณสำหรับคอมเม้นท์นะคะ จะพยายามนำไปปรับปรุงค่ะ^^
สอบถามครับ ถ้าค่า PF ต่ำลงมา 0.84 ก็เสียค่าปรับเลยไหมครับ ง่ายๆ คืออย่าให้ต่ำกว่า 0.85 ใช่ไหมครับ ต่ำลงมาแค่ 0.1 ก็ต้องเสียค่าปรับแล้วใช่ไหมครับ
Suriya Thongman สวัสดีค่ะ ขออภัยที่ตอบช้านะคะ ไม่ได้เปิดคอมเม้นท์มาอ่าน ขออภัยจริงๆค่ะ คุณวิทยา แนะนำว่า ถ้าค่า Power Factor มีค่าต่ำกว่า 0.85 ภายในระยะเวลา 15 นาทีขึ้นไปถึงจะนำมาพิจารณาเรื่องของค่าปรับ ถ้าเป็นไปได้ขอบิลค่าไฟฟ้าของคุณมา ทางคุณวิทยา จะคำนวณให้ค่ะ
ปัจจุบันการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเลิกใช้สูตรค่าปรับตัวประกอบกำลังไฟฟ้าและเลิกให้โบนัสจากสมการ โดยปรับค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าใหม่คือ ถ้าผู้ใช้ไฟฟ้ามีตัวประกอบกำลังไฟฟ้าล้าหลังต่ำกว่า 0.85 โดยที่ในรอบเดือนถ้าผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้ารีแอกทีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์เกินกว่า 61.97 เปอร์เซ็นต์ของความต้องการพลังไฟฟ้ารีแอกทีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้วเฉพาะส่วนที่เกินต้องเสียค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าในอัตรากิโลวาร์ละ 56.02 จากเดิม 14.02 บาท ซึ่งมีอัตราค่าปรับเพิ่มขึ้นจากเดิมสูงถึง 4 เท่า (การไฟฟ้าประกาศใช้เมื่อ เดือนกรกฎาคม 2554 เป็นต้นมา) สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้นเศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์
ผมก็เป็นช่างไฟฟ้าของโรงงานปาล์มน้ำมันและโรงไฟฟ้าด้วยครับ
หากทางสปอนเซอร์รายการมีจัดสัมมนาหัวข้อนี้จะเรียนเชิญไปนะคะ ^^
เจ๊เล็ก ^^"
fongbeer waanjeab ย่ะ
อยากนั่งเรียนเป็นคอร์สเรียนจังครับ