Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
เนื้อหาเปรียบเปรยทั้งเพลง เป็นเนื้อหาที่สวยงามมาก❤❤❤
ฉันเป็นคนภาคกลาง ชอบฟังเพลงนี้ทั้งที่แปลไม่ออก แต่ก็ฟังไปทั้งที่ไม่เข้าใจ ชอบเสียงของคุณสุนทรี สำเนียงของเธอทุกคำในเนื้อร้องแต่ละท่อน ขอเน้นเลยว่าทุกคำ มันมีเอกลักษณ์ของเธอเอง ฉันไม่ใช่คนเหนือไม่กล้าที่จะทึกทักว่าสำเนียงของเธอคือสำเนียงล้านนา เพราะนักร้องชาวเหนือคนอื่นที่ร้องไม่ได้แบบธอล่ะเขาไม่ใช่ล้านนาละหรือ ฟังมาตั้งแต่ยังเป็นม้วนเทป จนมีอินเตอร์เน็ทจึงรู้ว่าเพลงน้อยไจยา นี่หมายความว่าอย่างไร และมีที่ไปที่มาอย่างไร มีหลายเวอร์ชั่น มีศิลปินหลายท่านนำมาร้อง และคุณจรัลฯ ก็ได้เอาเพลงเก่ามารีเมคใหม่ ทำดนตรีใหม่ ซึ่งก็แปลก ปกติใจฉันจะแอบแอนตี้กับอะไรก็ช่างที่มันไม่ใช่ออริจินอล แต่ครั้งนี้ฉันกลับชอบฟังเวอร์ชั่นนี้ที่สุด มันลงตัวพอดี
ผมคนเหนือ ก็ แปล ไม่ออกนะหลายๆคำนะครับ เพราะเป็ภาษาเหนือโบราณนานแล้ว
“น้อยไจยา” เพลงเก่าแก่พื้นบ้านล้านนา มาจากทำนอง เพลงล่องน่าน คำร้อง โดยท้าวสุนทรพจนกิจ เพลงนี้เป็นเพลงที่ทำให้จรัลได้พบกับ "มานิด อัชวงศ์" ในงานวันเกิดเพื่อนของเขาเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2520 ซึ่งหลังจากนั้นทั้งคู่ได้ตัดสินใจทำงานร่วมกัน และสร้างตำนานโฟล์คซองคำเมืองขึ้นมาเพลงน้อยไจยา นอกจากจะเป็นเพลงชักนำจรัลเข้าสู่วงการแล้ว ยังเป็นเพลงแจ้งเกิดของ “สุนทรี เวชานนท์” ที่ต่อมากลายเป็นสองนักร้องคู่ขวัญแห่งล้านนา
เพลงน้อยไจยา(ของคณะละครวิทยุแก้วฟ้า) มวลดอกไม้มีเสน่ห์ที่เกษร หมู่ภมรซอนเซาะสู่คู่ภิรมณ์ หอมเอยช่างหอมหวล เย้ายวนให้ชวนชม ภมรสู่สมหมายใจจะชมมิข่มความอาลัย คนจะงามศักดิ์ศรีที่ความซื่อตรง รักมั่นคงถือความรักยงค์เหนือยิ่งสิ่งใดๆ ไม่ผันไม่แปลความรักที่แน่แก่ใจ ไม่มีรักใดดังรักของน้อยไจยา....(เสียง"ซึง"ดนตรีรับ ไพเราะจับหัวใจมิรู้ลืม ตราบจนเท่าทุกวันนี้ยังจดจำได้ดี เพราะเหลือเกิน เพราะจริง วงสล้อ ซอ ซึง เครื่องดนตรีเหนือ ถ้าได้ฟังแล้วจะประทับใจ)
เสียงนี้เป็นเสียงเดียวที่ร้องเพลงนี้ได้สุดยอดจริงๆค่ะ ขอให้คุณจรัญ ไปสู่สุคติยังสัมปรายภพนะคะ คุณสุนทรี เวลานนท์ เสียงไพเราะจริงๆค่ะชอบเสียงดนตรีแบบนี้ค่ะฟังแล้วคิดถึงเชียงใหม่บ้านเกิดที่จากมานานเหลือเกินค่ะ
ภาษาเหนือปริวรรต เป็นภาษาไทย ให้ตายยังไงคนไทยก็อ่านไม่เหมือนภาษาเหนือเด็ดขาด เพราะ 1 ภาษาเหนือเสียงวรรณยุกต์จะสูงกว่าภาษาไทยกลางไปอยู่ 2 ยึดตามสำเนียงราชธานีเชียงใหม่ มี 6 วรรณยุกต์ (บ่จ้าง ถ้าอ่านตามเหนือแล้วเสียงจะเป็นววรณยุกต์ โทพิเศษ) 3 ภาษาเหนือจริง มีการขึ้นเสียงนาสิกเสมอ
นักภาษาศาสตร์ 👍
...น้อยใจยา แว่นแก้วเป็นใครหมอ สารภีรู้จักเพลงน้อยใจยาของจรัล มโนเพ็ชรไหม...น้อยใจยา แว่นแก้วเป็นใครเรื่องราวของ "น้อยใจยา - แว่นแก้ว" เป็นเรื่องราวความรักของหนุ่มชาวบ้านชื่อ “น้อยใจยา” (คนเมืองเวลาบวชเป็นเณร เมื่อสึกออกมาจะนำหน้าว่า “น้อย” นำหน้า ส่วนถ้าสึกจากพระ จะเรียกว่า “หนาน”) ได้รักชอบพอกันกับ “นางแว่นแก้ว” ลูกสาวคหบดี แต่ว่าตางบ้านนางแว่นแก้วได้หมั่นหมายนางแว่นแก้วไว้กับ “ส่างนันตา” พ่อค้าชาวปะหล่องตองสู (พม่า)ข่าวนี้ก็ไปเข้าหูน้อยใจยา น้อยใจยาเลยนัดนางแว่นแก้วมาสอบถามความจริง พอซักถามความจริงแล้วน้อยใจยาก็รู้ว่า แท้จริงแล้วนางแว่นแก้วได้รักน้อยใจยาอย่างแนบแน่น จึงตัดสินใจที่จะพากันหนี แต่หนีได้ไม่นานเท่าไร พ่อของนางแว่นแก้วกับส่านนันตา ก็พาคนออกติดตาม จนพบทั้งสองในที่สุด เรื่องราวก็เลยขึ้นโรงขึ้นศาล เพื่อให้ศาลตัดสินปัญหาความรักในครั้งนี้ ส่างนันตาหาว่าน้อยใจยา ได้ลักคู่หมั้นหนีไป แต่พอซักถามไปมา ตัวน้อยใจยากับนางแว่นแก้วก็ชนะความ ทำให้ทั้งสองคนก็ได้แต่งงานกันในที่สุด("น้อยใจยา - แว่นแก้ว" เป็นบทละครที่ท้าวสุนทรพจนกิจ (ใหม่ บุญมา) กวีประจำราชสำนักของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ประพันธ์ขึ้นถวาย (ตามที่พระราชชายาทรงผู้เรื่อง) และประทานอนุญาตแสดงในโอกาสคล้ายวันประสูติ (ครบ 60 พรรษา แสดงที่วัดสวนดอก) ซึ่งพระราชชายาทรงแกัไขบทบางตอนให้เหมาะสม พร้อมกับทรงประพันธ์คำร้องประกอบทำนองเพลง พื้นเมืองเดิมของล้านนา
ไจยาก็คือไชยาในภาษากลาง ก็คือคนชื่อไชยาเคยบวชเณรมาก่อน
เจ้าดารารัศมี ท่านก็เก่งมากเลยนะค่ะ แก้ไขเนื้อเพลงได้ลงตัวมากๆ
ขอบคุณที่ช่วยปรับปรุงคำแปลนะครับ ยินดีน้อมรับไปแก้ไขในอนาคต ตอนนั้น เวลาและคนช่วยแปลไม่มี แต่ทำเพราะคิดถึงบ้าน TT ..เพลงนี้พ่อเคยแปลให้ฟัง จนเข้าใจเรื่องราวทั้งหมด แต่ผมไม่ได้เข้าใจทุกคำ เพราะเป็นภาษาเหนือสมัย ร. 5 ครับขอบคุณน้องหนึ่ง สรวี บางศรี, น้องคมสันต์ ที่ช่วยทำมิวสิควีดีโอ และซับไทยภาคกลางให้ ถูกใจพี่มากครับส่วนความผิดพลาดเรื่องคำแปล ผมขอรับไว้แก้ไขในอนาคตครับส่วนชื่อ น้อย ไจยา ซึ่งหมายถึง นายไจยา หรือ ชัยยะ ซึ่งเคยบวชเณร (เรียก น้อย) คราวหน้า จะแก้ในเพลงเป็น ไ // แต่ชื่อเพลงบนยูทูป จะใช้ ใ ใจยา เหมือนเดิม เพื่อให้ค้นหาเจอง่ายๆขอบคุณทุกท่านที่ช่วยกันปรับปรุงครับ
Win Worrawit i
ฉบับเดิมครับ จิ่ม แปลว่า ตวย ฉบับเดิมคือ"แต๋มเก๊าเนิ้ง ฮากมันบ่ถอน" เพื่อให้ เข้ากับ คำว่ากิ่งส่วนปลาย หมายถึง ลูกสาว (ตัวแว่นแก้วเอง )ในวรรคหลังครับ เก๊าหมายถึง พ่อแม่ กิ่งหมายถึงลูก (ตัวแว่นแก้วเอง)ไม่เกี่ยวกับ กิ่งของรากอะไรทั้งนั้น ruclips.net/video/sikPXUaflQc/видео.html
ขอบคุณมากๆ ค่ะ สำหรับผลงานที่ทำขึ้นมา ผิดบ้างอะไรบ้าง เข้าใจคะ เราก็พยายากแก้ไขไปสักวันก็จะถูก 100% เก็บไว้ให้ลูกหลานได้ชม ได้ฟัง อย่างเช่น ดิฉันเอง เข้ามาฟัง มาอ่าน ได้รู้อะไรขึ้นเยอะเลยค่ะ ขออนุญาต เอาไปแชร์นะค่ะ
เต่าอี้กะสุดยอดแล้ว ครับกำว่า น้อยไจยา เขียนแบบนี้ กะบ่าผิดครับเพราะ ไจยา กำนี้ มันมาจากตัวหนังสือเมือง
ชอบมาตั้งแต่เด็กๆ แล้ว ไม่เข้าใจความหมายเท่าไหร่แต่ก็พอเดาได้ว่าทั้งสองคนกำลังตัดพ้อต่อว่ากัน แล้วก็เข้าใจกันได้ในที่สุดต้องขอบคุณมากเลยที่แปลให้ขอบคุณคนที่เข้ามาให้ความกระจ่างเรื่อง "น้อย, หนาน" ด้วย นึกว่าชื่อ น้อย ไจยา ซะอีก เพราะมีที่ทั้งสองร้องว่า"ปี้น้อยจะตาย...." หลายหนอยู่
ปี่น้อย เป็นคำเรียกใช้แทนตัวเอง ครับคนเหนือที่บวชเณร สึกออกมาเรียกว่า น้อย
ขอบคุณมากเลยค่ะ ขอบฟังมากเลยค่ะ กำลังฟังรู้มังไม่รู้มัง มาเจอคลิปนี้พอดีเลย
2562 ยังฟังครับ คำแปลก็เข้าใจดีครับ แม้อาจถูกไม่หมดแต่ทำให้รู้เยอะมากครับ รักเลยครับ
ฟังอยู่ตอนนี้ปี 67 ฟังมาตั้งแต่ปีน่าจะ 26 เมื่อก่อนไม่รู้ความหมายฟังแบบผ่านๆไม่ได้สนใจความหมายพอได้รู้ความหมายก็รู้สึกประทับใจมากในคำพูดที่โต้ตอบทั้งฝ่ายขายฝ่ายหญิงเป็นภาษาที่สละสลวยไพเราะสวยงามมากฟังแล้วฟังอีกไม่เบื่อคุณจรัลและคุณสุนทรีร้องได้ไพเราะมากยากที่จะเปรียบได้
ผมฟังเพลงนี้มาเกือบ10ปีละ เสน่ห์ของเพลงนี้อยู่ที่ คอมเม้นครับ แต่ละเม้นเป็นความรู้ใหม่คับ เพราะบางคำผมไม่เคยได้ยิน แต่คนคอมเม้นแสดงให้ผมเห็นว่าเขาได้ยินมา นั่นแปลว่า ผมเป็นคนเหนือที่ ยังต้อวศึกษา ภาษาเหนืออีกเยอะ คนภาคอื่นไม่ต้องตกใจคับถ้าแปลไม่ออกหรือฟังไม่รู้ เพลงนี้เป็นหนึ่งในเพลงที่ผมใช้ร้องกล่อมลูกคับ5555
เพิ่งรู้คำแปลทั้งหมด ก็วันนี้แหละ เป็นบทประพันธ์ที่สุดยอดที่สุด เคยดูหนังที่ไชยาคู่เพชรา ปี2508 ละมั้ง
มีแต่ศัพท์เหนือโบราณ กำโบราณละอ่อนสมัยใหม่บ่ใค่ฮู้เต้าใด ต้องถามป้ออุ้ย แม่อุ้ย เปิ้นถึงจะฮู้ .สมัยนี้กำเมืองบ้านเฮา จะชอบเอาภาษากลางมาผสม ถ้าอู้กำเมืองแต้ๆ รับรองคนไทยบ่มีวันฟังฮู้เรื่อง
แม่นละคับ
ละอ่อนรุ่นใหม่อู้กำเมืองเอากำไทยกลางมาผสมก็ดีแล้วน่ะจ้าว มันดูกลมกลืนเป๋นจ้าดเดียวกันเน้อ
แม่น
ไม่ได้คิดอะไรมากครับกับการเปลี่ยนแปลง ภาษาเป็นพลวัฒน์ มันจะเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย เกิด และมีดับ
แม่นละครับ ขนาดผมเป็นคนเมียงแต้ๆบางกำยังแปลบ่ออกเลยครับ เป็นภาษาเมียงโบราณแต้ๆครับ
แต๋มเก้าเนิ้ง กิ่งมันบ่ถอน = แต่ต้นหนึ่งกิ่งมันไม่เปลี่ยน : ท่อนนี้ น่าจะแปลผิดน่าจะแปลว่า ถึงแม้นต้นมันจะเอนหรือโน้มไป แต่กิ่งก็ยังไม่โน้มหรือเอนตาม (กิ่งก็ยังคงตั้งตรงเหมือนเดิม)เป็นการพูดเปรียบเปรย ว่า แม้พ่ออแม่มีใจให้ลูกเขยคนอื่น แต่ลูกก็ไม่คล้อยตามพ่อแม่ ยังรักชายคนเดิม
Thanaphol Kunnarangsi กิ่งมันบ่ถอน "กิ่ง"ในที่นี้น่าจะหมายถึงกิ่งแก้วหรือก็คือรากแก้วนะค่ะ คือต้นมันเอนแต่รากแก้วยังมั่นคงหยั่งลึกไม่ถอน เหมือนรักของแว่นแก้วที่หนักแน่นไม่เปลี่ยนแปลงจากน้อยไจยา
มันจะรากได้ยังไงอ่ะ ก็พี่น้อยเขาถามว่าต้นมันตายปลายมันเหี่ยวกิ่งก็คงเหมือนกัน แว่นแก้วจะแถไปตอบเรื่องรากเนี่ยนะ
แต๋มเก๊าเนิ้ง ฮากมันบ่ถอนครับไม่ใช่แต๋มเก๊าเนิ้ง กิ่งมันบ่ถอนครับ
@@paulkwong5644 ถูกต้องครับต้นฉบับเป็น ฮากมันบ่ถอน
กำลมทางเหนือ ລມ ในภาษาลาว แปล เป็นไทย คำพูด พูด คุย
เป็นเวอรชั่นที่ดีที่สุดของเพลงนี้ ขอบคุณมากค่ะ😊
ชอบเพลงน้อยใจยามากค่ะ ชอบเสียงร้องและทำนองแต่ก็ฟังเหมือนเพลงเศร้าๆ แต่พออ่านแปลแล้วไม่ได้เศร้า แต่เป็นเพลงemotional ของทั้งสองคน ขอบคุณมากๆค่ะ
Amezing Tradition Culture from Lanna:@Very old Cuture with instrumental fromLanna in Salang from North Thailand.Lanna Very beutiful locations & Old SweetCulture local People Very worm & kind....Unforgettable.....!!
ชอบจังเลยค่ะ เพิ่งรู้จักคำแปลเพลงนี้ ทั้งที่ฟังมานานมากเลย
วันนี้ฝนตกอากาศคืนนี้ค่อยยังชั่ว ฟังเพลงนี้แล้วคิดถึงย่า ไปหาย่าที่พะเยา ท่านบอกไปเอาหม้อขางมา หม้อขาง กะทะ กลางคืนบอกให้ไปเอาสี่แจ่งมา สี่แจ่งคือมุ้ง
14/06/67 เข้ามาฟังมาร้องตามค่ะ
เตียมคิง = คู่กาย , ปี่น้อยจักต๋ายเป็นครืน ไม่ใช่เป็นพืน , ยินดีจิ่ม= ขอบคุณด้วย
ปี้น้อยใจ๋หวานปี้หนานใจ๋เย็น,แปล...ว่าคนที่ผ่านการบวชเรียนมาแล้วมีเหตุผล.😊น่าเคารพนับถือ😄
"เต๋มเค้า(ไม้)เนิ้ง กิ่ง(ของ)มันบ่ถอน" (ภาษาวรรณกรรมลุ่มน้ำปิง) "ถ้าแม้นว่าเค้า(ลำต้น)เอียงโน้ม กิ่ง(อาจแปลว่า รากกิ่งรากแก้ว ได้ด้วย)มันไม่โถมไต่ตาม" (แปลมาเป็นภาษาวรรณกรรมลุ่มน้ำเจ้าพระยา)(ซึ่งเปนไปไดัว่า กิ่งในวรรคนี้แว่นแก้วกำลังกล่าวถึงกิ่งที่หนักแน่นกว่ากิ่งที่ ตัวไชยากล่าวในวรรคก่อน คือ กิ่งไม้ นั้นคือ รากกิ่ง รากแก้ว) เพราะกริยา ถอน เป็นกริยาธรรมชาติที่ใช้กับราก ไม่นิยมใช้กับกิ่งไม้แต่หากว่าจะ ถอนกิ่ง นั้นต้องใช้มือถอนไม่นิยมกล่าวว่าลมพัดถอนกิ่งไม้ แต่จะพูดว่า ลมพัดแรงจนถอนรากไม้ ด้วยเหตที่กวีกำลังพูดถึงลมที่คือปากคน ฉะนั้นอาจกล่าวได้ว่า ลมปากคนนี้ มิอาจมาพัดจนสามารถถอนรากแห่งรักได้ หากเพียงแต่ทำให้ลำต้นมันโน้มได้ก็เท่านั้นเอง. อาจแปลได้อรรถรสอีกชั้นว่า เพราะรากกิ่งรากแก้วที่ยึดลำต้น คือความรักที่ยึดมั่นในใจอยู่นั้น ไม่ล้มลงตามเค้าต้นไม้ ที่มีลมปากคนมาสู่ขอกับพ่อแม่ ดั่งนั้นความรักในใจก็จะไม่แปรไปตามสถานการณ์ใดๆก็ตาม คือความรักที่เที่ยงมั่นหนักแน่น ดั่งที่แว่นแก้วว่าไว้ในบทกวี ฉะนั้นต้นรักนี้ก็ไม่ตายจากสาเหตุที่ตัวลำต้นมันโน้ม ก็เพราะรากมันยังยึดแน่นไม่หลุดไป น้อยไจยา (สำเนียงล้านนา) น้อยไชยะ (สำเนียงภาคกลาง)ใช้ "ใ" ไม่ได้เพราะ ใจ ไม่ได้แปลว่าหัวใจในชื่อของเขา แต่แปลว่า ชัยชนะ กินก่อยังตึงแก เสลียมยำใส่แย้ บะเขือแจ้ยำใส่เตา กรพี่น้อยไจยา ฮักแต้ข้าเจ้า ก๋อยินดีจิ่มแต้เน่อ.(อุปมาดั่ง เครื่องของกินพื้นๆทั้งหลายที่ว่ามานั้น อาทิ มะเชือแจ้มายำใส่สาหร่ายน้ำจืด ตัวแว่นแก้วเองก็ยินดีชิม(รสชาติชีวิตที่ลำบากกว่า เพราะคนที่มาสู่ขอมาจากบ้านวังสิงห์คำ คือ คุ้มเจ้าน้อย)หากว่า (กร(แปลว่า ถ้าแม้นว่า กรว่า ดั่งกะระว่า)พี่น้อย)พี่รักแท้จริงในตัวข้าเจ้าแล้วไซร์ ก็จะยินดีร่วมทุกข์ร่วมสุขกันไปอย่างแน่นอน.
บ้านวังสิงห์คำตอนนั้นเป็นที่ตั้งของอะไรเหรอครับ รู้แต่ว่าตอนนี้เป็น สนง.เทศบาลและสถานกงสุลสหรัฐ สมัยร.6 เป็นโรงเรียนปรินส์เดิมก่อนจะย้ายไป
กิติ บูรพา กิติ บูรพา ขอบคุณครับ เพราะ ภาษากวี ลึกซึ้งมาก ผมไม่ประสีประสา แต่คุณกิติอธิบายจนกระจ่างแจ้งเลย :)
จิ่ม แปลว่าด้วยครับ ไม่ได้แปลว่าชิม มีฉบับเดิมยืนยันครับส่วนที่พูดเรื่องแกงอะไรนั่น ไม่ได้เกี่ยวกับการชิมครับเป็นคำเปรียบเปรย ว่าวัตถุดิบที่นำมาปรุงนั้นบางครั้งก็มีของที่เข้ามาแก้การแสลง หรือ แก้รสชาติให้ดีขึ้นบางถิ่นเรียกว่า ชู้ หมาายถึงของที่เหมาะนำมาแกงคู่กัน พูดในวรรคนั้น จบแล้วจบเลย ไม่เกี่ยวกับวรรคอื่นครับฉบับดั้งเดิม จากแผ่นเสียงครั่งครับมีคำว่า จิ่ม ไม่ใช่จิมครับruclips.net/video/sikPXUaflQc/видео.html
"เต๋มเค้า(ไม้)เนิ้ง กิ่ง(ของ)มันบ่ถอน" (ภาษาวรรณกรรมลุ่มน้ำปิง)คุณ เอามาผิดแล้วครับฉบับเดิมคือ"แต๋มเก๊าเนิ้ง ฮากมันบ่ถอน" เพื่อให้ เข้ากับ คำว่ากิ่งส่วนปลาย หมายถึง ลูกสาว (ตัวแว่นแก้วเอง )ในวรรคหลังครับ เก๊าหมายถึง พ่อแม่ กิ่งหมายถึงลูก (ตัวแว่นแก้วเอง)ไม่เกี่ยวกับ กิ่งของรากอะไรทั้งนั้น ฉบับเดิมตามนี้ครับruclips.net/video/sikPXUaflQc/видео.html
จิ่ม เป็นคำลงของบทซอ ถ้าได้ฟังซอตอนจะจบจะลงด้วย จิ่ม จิ่มแหล่เนอ จิ่มเตอะ จิ่ม กับ จิม มันคนละคำกันเลยนาครับ
โอโห แปลได้เข้าใจง่าย เป็นภาษาที่ลึก ความหมายในความหมายขอบคุณนะครับ ขอบคุณจริงๆ❤❤❤❤❤
ข้าเจ้าฟังฮู้เรื่องอยู่จ้าว
ดีใจจังแปลให้ด้วย น่ารักที่สุด เพราะมากๆ ภาษาเหนือฟังทุกวันไม่เคยเบื่อเลย
ฟังมา10กว่าปี ไม่ได้รู้ความหมายแต่แรกทั้งหมด พอได้รู้ความหมายยิ่งรู้สึกไฟเราะมากๆกับความรักหนุ่มสาวล้านนาสมัยก่อนที่จีบกัน ชอบมากๆครับ❤
เพราะดีนะค่ะชอบฟังค่ะคนเหนือแต้ๆๆเนาะเจ้า
ชอบครับทั้งที่ฟังเข้าใจไม่หมด
น้อยไจยาคือชื่อคนที่บวชเป็นเณรแล้วสึกแล้วจะเรียกน้อย ถ้าบวชพระแล้วสึกจะเรียกหนาน คนเหนือนิยมเรียกพี่น้อย พี่หนานนะครับ
ปวงดอกไม้เบ่งบานสลอน❤
คนใต้นึกถึงเชียงใหม่เลยเรา
ไพเราะค่ะ ชอบฟังมานานเพิ่งรู้คำแปลเป็นภาษาไทยกลาง ต้องขอบคุณผู้แปลด้วยนะคะ
ขอบคุณครับสำหรับคำแปล
เยี่ยมเลยครับ แปลให้ด้วย ความหมายดีมาก ทำต่อไปนะครับ
สุดยอดเลยครับ ขอบคุณมาก สำหรับที่มาของเพลงและคำแปล
ไพเราะค่ะไว้กบ่อมลูก
ไพเราะมากครับ
คำว่า "ปี้น้อยใจยา" หมายถึงคนชื่อ ใจยา หรือ ไชยา ที่ลาสิกขาจากความเป็นพระ คนเหนือเรียกชาย ที่ผ่านการบวช มาแล้วว่า "น้อย" (ลาสิกขาตอนอายุน้อย) กับอีกคำว่า "หนาน" (บวชมาระยะเวลานาน แล้วลาสิกขา) สรุปคือผู้ชายชื่อ ใจยา ผ่านการบวชมา เลยเรียกว่า พี่น้อยใจยา
เรทเป็นคนเหนือตั้งเเต่เกิดเลยนะ แต่ฟังเพลงนี้ถ้าไม่มีคำแปลก็ฟังไม่ออก
ไพเราะมากค่ะ
ขอบคุณครับ ฟังทีไรก้เพราะเหมือนเดิม
ม่วนขนาด
ขอบคุณมากครับที่แปลให้ ทำให้เราได้อรรถรสในการรับฟังมากยิ่งขึ้น
จะร้องฮื้อใด้ ม่วนมีความหมาย
เพลงชื่อน้อยไจยา นะครับ ขอบคุณมากครับ ฟังตั้งแต่เด็กๆ ไม่เข้าใจเลยว่าร้องอะไรกันบ้าง รู้แต่ว่าเพราะ จนมาศึกษาคำเมืองเรือ่ยๆ หัดฟังหัดพูดมากๆ เริ่มเข้าใจ แล้วพอมาดูคลิปนี้ เข้าใจมากขึ้นไปอีกครับ
ยินดีจ๊าดนักจ้าว
เพิ่งรู้ว่าเนื้อหาเพลงนี้มีความหมายซ่อนเร้น นึกว่าพูดถึงต้นไม้ใบหญ้าธรรมดา สมกับเป็นบทกลอนไม่ใช่คนเหนือ แต่จะอธิบายเพิ่มตามความรู้ก่อนอื่นเลยน่าจะแปลคำว่า น้อยใจยา ก่อน น้อยเป็นคำเรียกคนเคยบวชเณรแล้วสึกออกไป ไทใหญ่เรียก ส่าง อีสานเรียก เซียงใจยาเป็นชื่อ คือ ไชยาหรือชัยยา แปลว่า ชัยชนะ เขียนเป็น น้อยไจยา ไม่ใช่ น้อยใจยา ทำให้คนนึกว่าน้อยอกน้อยใจ ในคลิปบอกเป็นบทละครครบรอบอายุ 60 พรรษาเจ้าดารารัศมี แต่คำแปลวงเล็บบอกเหล้ากับขวดเป็นของใหม่สมัยร.5 ในเชียงใหม่ถ้านับตอนแต่งกลอนนี้น่าจะบอกเป็นสมัยร.7 มากกว่า เพราะเจ้าดาราฯเสด็จกลับมาอยู่เชียงใหม่ถาวรสมัยร.6ท่านอายุ 60 พรรษาสมัยร.7 และก่อนหน้านี้ได้รับเสด็จร.7 กับพระราชินีประพาสเชียงใหม่ พ.ศ.2469 ก่อนปฏิวัติโดยคณะราษฏร์
ใจยา เข้าใจว่าเป็นชื่อคนเน้อเจ้า
ไจยา ควรจะใช้ ไม้มลาย มากว่า ไม้ม้วน นะครับ เพราะเขาชื่อ ไชยา ที่เรียกว่า “น้อย” เป็นคำใช้เรียกคนที่เคยผ่านการบวชเณรแต่ไม่เคยบวชพระครับ เพราะฉะนั้น ไชยา เคยบวชเณรมาก่อนแล้วสึกออกมา เขาถึงเรียกว่า น้อยไจยา (ช.ช้าง ออกเสียง จ.จาน ตามสำเนียงกำเมืองครับ)
ชอบมากๆเพลงนี้ฟังทุกวัน ไม่เบื่อเลย
สวัสดีคะฉันไม่สนใจว่ามันจะแปลว่าอะไร. แต่มันเพราะมาก..ขอขอบคุณคนที่ถ่ายทอดบทเพลงที่แสนไพเราะเช่นนี้
เสียงผู้ญิงเพาะดี
ขอบคุณที่ลงคลิปแปลให้ฟังครับผมถามคนเหนือรุ่นใหม่เดี๋ยวนี้ยังแปลไม่ได้เลย เค้าบอกมันเป็นภาษาโบราณ
ฟังม่วนข่ะหนาดเจ้า
21/8/64ยังฟังอยู่ชอบมากมากที่เป็นผลงานของคุณจรัญและคุณสุนทรีคะ
สบายใจแระ อยากรู้ความหมายเพลงนี้มานานแล้วครับ
นะนะคิดถึง..ตัวเองนะอยุ่ทางโน้นตั้งใจทำงานนะ...อย่าลืมรอทางนี้นะตอนนี้ไกล้เก็บเงินส่วนตัวไกล้ครบละขาดอีกไม่เท่าไรเองแต่ก้อเก็บเงินได้หลักล้านละนะตัวเอง...ไม่อยากให้เขาว่าเราไปเกาะเขากินเพราะเรามันคนจน
ได้ฟังเพลงน้อยใจ๋ยากึดเติงหาตอนอยู่ม.ต้นได้ฟ้อนเพลงนี้และได้ฟ้อนรำดาบตวย
หลายปีก่อนไปหาตากับยายที่แม่ฮ่องสอน แล้วช่วยยายทำครัว ยายบอกว่า "ไปเอาป้ากมาฮื้อแม่หลวงกำลูก" เอ่อ.....ป๊าก!? คือ? ยืนเอ๋อพักหนึ่ง ถึงรุ้ว่ามันคือทัพพี T_T
มันเป๋นจะไดกั๋นหมด ตายาย บ่ะไจ่กำเมืองเน้อ มีก่ะ ป้ออุ้ย แม่อุ้ย
แต่เชียงใหม่เปิ่นฮ้องว่าด้ามปาก
ป๊าก ตรงกับคำว่าป่าก์ ที่ใช้ในคำว่าพ่อครัวหัวป่าก์
ป๊าก คือ ทัพพี "ไปเอาป้ากมาฮื้อแม่หลวงกำลูก" ไปเอาทัพพีมาให้ยายทีสิลูก
#กำฮักน้อง จะเอาไว้ไหนกะกั๋วแมวกิ๋นจะเอาใส่ในดิน กะกั๋วปวกแง้นจะเอาใส่ถุงสะปายแล้ง กะกั๋วป้อนแป้นหลุดหลัวะจะเอาไปฝากฝังโก๋นไม้ผวั๊ะ กะกั๋วนกเก๊ากาบหนีอ้ายเลยเอาซุกไว้แง่มฮูขี้ มันตึงบ่าหมี๋ใผมาลู่ได้🤣
กานอ้ายตดจะลอยไปตวยลมกะจ้าว
😆😆จ่างแต่งหนออ้าย🤣🤣
🤣🤣🤣🤣
กู้ข้าง เตียมคิง น่าจะแปลผิดน่าจะหมายถึง คู่แนบข้าง เคียงกาย ไม่น่าจะหมายถึง เตือนสติ
ชอบเพลงไทยสำเนียงลาวเเพราะเสึยงพิณ เครื่องดีด
บะเขือแจ้ยำใส่เตา = "เตา" คือสาหร่ายสีเขียวที่เกิดตามนาหรือห้วยน้ำใสๆสะอาดๆคนเหนือจะเอามายำหรือปรุงกับมะเขือแจ้
รู้ความหมายซะที
"ไจยา" ต้องใช้ไม้มลายครับ เพราะมาจาก ไชยา = ชนะ
อืมม...
ผมว่าก็จริง แต่เอาตามที่เห็นนะครับ ผมเคยเห็นนามสกุลของเพื่อนพี่น้องคนเหนือ ไปใช้ลงท้ายว่า "-ใจยา" ซะหมดเลย คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากที่มาเดียวกันนี้เลย
จะมีแปรเป็นฉบับภาษาไทยนะคะเพลงนี้ พิมพ์ก็ไปว่าแปรฉบับไทยจะมีคำศัพท์แปลให้เรียบร้อยเลยค่ะว่ามีความหมายอย่างไร
กึดเติงหาคนบ๊ะเก่าแต้ๆ
เคยเห็นที่อื่นแปลมา บ้านตู๋ ก็คือบานประตูซึ่งก็น่าจะถูก
2560 ก็ยังฟังอยู่เน้อ
เก๊ามันต๋ายป๋ายมันเซิ่ง…ลำกิ่งเนิ้งต๋ายโก่นตวยแนวดอกพิกุล ก่คือดอกแก้ว….ไปเป๋นหองเปิ้น แล้ว เหนอ
เพาะมาก
ดีๆ ครับ ชอบๆ อยากให้ทำแปล เพลง เสเลเมา ด้วย ไม่ทราบว่าทำไง้แล้วหรือเปล่าครับ ถ้ามีผมขอดูด้วยนะครับขอบคุณครับ
ขอคารวะ อ.จรัล จากคนเมืองน่าน
ค่อยสิศักตนลำปางเด่อ
💚
ภาษากำเมืองโบราณ ล่ะอ่อนสมัยนี้บ่าค่อยฮู้เต้าใด ต้องถามแม่อุ้ยตลอดเลย5555 เปิ้นก่อยังถามอยู่หน๋า มันบ่าคุ้นหู
Nanneey NaN เพลงบรรเลงกอ่งปุ่จาฟังฟังแล้วไค่ปิกบ้านขนาดปื่แก้วคนบ้านต้นขามสถานืรถไฟชฺ
+นันท์นภัส เหลืองไทย น้อง คนลำพูนเน้อ เจ้า วันพุกดั้ยปิ๊กบ้านแล้ว ดีใจ๋ขนาดเลยเจ้า 😆😆😆😆
ฟังแล้วคิดถึงคนลำปางค่อยสิศักคนลำปางเด่อถึงค่อยเขียนไปต่างตนอีสารเด่อ
ศิลปะขั้นสุด
ปี้แล้ว !...บ่เอาเป๋นเมีย...? 555
7:58 ทำไมเนื้อเพลงอีกที่หนึ่งจะบอกว่า " อู้บ่ะถูก วันพูกก่อยมาขืน อู้เมื่อคืน ก่อยมาขืนก่อเมื้อเจ๊า "10:31 ของลิงค์นี้ ruclips.net/video/ZG2MQIAGXJc/видео.html
DE CNX i
ใช้คำว่าฟู่อู้ หรือว่าฟู่ครับ
แปลผิดหลายที่ คนแปลต้องรู้ภาษาเหนือให้ลึกซึ้งถึงภาษาเหนือสมัยเก่า
ผมว่าน่าจะเป็นการตีความผิดขอหื้อฟ้าผ่า หัวแม่เมียต๋ายเพราะว่า แม่ยายโดยทั่วไปแล้วจะรักลูกเขย และก็เป็นประเพณีทางเหนือที่ลูกผู้หญิงคนสุดท้องจะได้รับมรดกเป็นบ้านที่กำลังอาศัยอยู่และส่วนมากผู้ชายก็ไปอยู่บ้านฝ่ายหญิงเพื่อช่วยทำนาและเลี้ยงควายและอีกประโยคหนึ่งที่ผู้หญิงร้องขอหื้อฟ้าผ่า หัวป้อผัวตายปรกติแล้วพ่อผัวจะรักและเอ็นดูลูกสะใภ้จึงขอให้พิจารณาด้วยมันผิดทางจิตวิทยาด้วยหญิงย่อมคู่กับชาย
กึ๊ดเติงหาบ้าน...
ภาษาเหนือแท้ๆ ในเชียงใหม่หาได้น้อย เป็นเมืองเนิบๆ ต้องไปแถวๆ แพร่ น่าน ลำพูน ลำปาง จะเจอเหนือขี้เมี้ยง แบบเมียง แท้ๆ คำเหนือโบราณหลายคำยังใช้พูดอยู่ ถึงจะค่อยๆหายไป
ถ้ามาทางลำพูนจะเจอแบบยองไปเยอะครับ
อย่าใช้คำว่าเหนือขี้เมี่ยงเลยครับ...สำเนียงแต่ละจังหวัดต่างกันครับ. ผมคนลำปาง ก็ภูมิใจกับสำเนียงลำปางครับ
เมืองฝางก็อู้กําเมืองเน่อเจ้า.เจิญมาแอ่วเจ้า
แม่เมีย ก็น่าจะแปลว่านังเมียคือเมียนั่นแหละไม่น่าจะใช่แม่ของเมีย
แม่ยาย
คำว่าฝ่ายตางปู้นเปินมาใส่ผะจำ บ้านวังสิงคำเปิ้นมาหมั่นก่ไว้แล้ว ควรแปลว่า ฝั่งทางโน้นเค้ามาพูดให้ฟังทุกวัน ว่าบ้านสิงห์คำมาหมั้นน้องไว้แล้ว
คำว่าเปิ้นจะกิ๋นแขกแต่งก๋ารก่วิวาห์ เมื่อใดจาปี้น้อยใคร่ฮู้เก๊า"พี่น้อย"คนภาคอื่นๆอาจจะงงได้ว่าสรุปไจยาชื่อน้อยหรือชื่อไจยากันแน่ผมขอขยายความคำว่าน้อยคือคนที่ผ่านการบวชเณรมาแล้วแต่ยังไม่ได้บวชพระ คนที่ผ่านการบวชพระมาแล้วจะเรียกว่าหนานหรือในภาคกลางคือทิศนั่นเอง
ส่วนคำว่ากำฟู่ กำจา คนภาคอื่นแม้แต่คนภาคเหนือสมัยนี้คงงงกันว่าทำไมไม่ใช้คำว่ากำอู้ กำจา "คำว่าฟู่"เป็นคำล้านนาโบราณคือคล้ายๆกับคำว่าอู้ แต่สุภาพกว่าคำว่าอู้ มักใช้ในการพูดคุยในการสู่ขอสาว หรือใช้ในรั้วในวัง ปัจจุบันแทบไม่ได้ใช้คำนี้ในคำพูดทั่วไปแล้วแต่ชาวไทยวนสระบุรี ที่อพยพมาจากเมืองเชียงแสน(ในจ.เชียงรายเมื่อสองร้อยกว่าปี)ยังใช้คำว่าฟู่ แทนคำว่าอู้อยู่จนถึงทุกวันนี้
หรือเอาเป๋นเมียนางจ้างแก้วอยู่เป๋นกู้ข้างเตียมคิง ค้องแปลว่า หรือจะเอาเป็นเมียรักเชิดหน้าชูตา อยู่เคียงคู่กัน
คำว่า ลูกแม่ญิงอู้เล่นก่บ่ดาย ลูกป้อจายอู้แต้ก็บ่ปัง ไม่ใช่บ่ฟัง บทนี้ควรแปลว่า ลูกผู้หญิงชอบพูดล้อเล่น แต่ลูกผู้ชายพูดจริงทำจริงไม่เปลี่ยนแปลง
ใส่ผะจ๋ำ= ใส่มัดจำ ?ในเพลงนี้ คงหมายถึง การมาพูดคุยเรื่องสินสอด หมั้นหมายเคยได้ยินพ่ออุ๊ยพูดว่า มีคนมาใส่ผะจ๋ำลำใย คือมาวางเงินมัดจำค่าลำใย
คะ
musica brasiliana di affitto .
😅
ลองเข้าไปฟังที่แล้วพิจารณากันดูครับ (1)ruclips.net/video/ZG2MQIAGXJc/видео.html
ruclips.net/video/ZG2MQIAGXJc/видео.html ฉบับนี้ไพเราะกว่าเยอะค่ะ จัดทำโดยลูกศิษฐ์เจ้ายายค่ะ ลองฟังดูนะคะ
โอ้โหเพิ่งรู้ว่าแปลว่าอะไร แปลกนะ ถ้าฝ่ายหญิงผิดคำพูดก็ให้ฟ้าผ่าหัวพ่อผัวตายฝ่ายชายผิดคำสาบานก็ให้ฟ้าผ่าหัวแม่ยายตาย งงงงงงง
เป็นการประชดประชันกันน่ะค่ะ เป็นมุกตลกของผู้ประพันธ์น่ะค่ะ
ลองฟังฉบับเต็มๆ 8 บทดูนะคะ ruclips.net/video/ZG2MQIAGXJc/видео.html
@@sininatpjaiwanglok3784 ขอบคุณค่ะ ใจดีจัง ช่วยกรุณาอธิบายสิ่งคาใจ แล้วดอกพิกุลก็คือดอกแก้วเป็นไปได้ไงคะ ? งงงงฟัง ตอนป้าเป็นเด็กชอบเพลงนี้มากๆๆ แต่แปลไม่ออกค่ะ
@@chureeradsakuldeert2660 ดอกพิกุลภาษาภาคกลาง คนเชียงใหม่เรียกดอกพิกุลว่าดอกแก้วค่ะ คือดอกไม้ชนิดเดียวกันแค่นั้นเองค่ะ ซึ่งอีกนัยนึงก็คือชื่อของตัวละครผู้หญิงตามบทประพันธ์น่ะค่ะ คือ อีนายแว่นแก้ว
@@sininatpjaiwanglok3784 ขอบคุณมากๆค่ะเวลาไปจตุจักร จะได้ไม่ปล่อยไก่ค่ะ
พ่อหนุ่เปนลำปางคนภาคเหนื่อ
ลองเข้าไปฟังที่แล้วพิจารณากันดูครับ (2)ruclips.net/video/sikPXUaflQc/видео.html
ไม่ต้องเเปลเสียอรรถรส ภาษาเหนือพื้นฐานง่ายๆ
คำพูดแบบโบราณมากๆก็มีแต่คนที่อายุ50ขึ้นไปยังพูดได้แต่เด็กรุ่นใหม่เขาไม่พูดแล้ววันเวลาเปลี่ยนไปใจหายนะภาษาเหนือจะอยู่ไปนานเท่าแค่ไหนเพราะทุกวันนี้พูดเหนือปนกลางเหนือแท้มีแต่คนสูงวัยเท่านั้นเรายังชื่นชมคนใต้คนอีสานเขายังพูดภาษาถิ่นเขาอย่างเดิมๆไม่เหมือนคนเหนือที่นับวันคนรุ่นใหม่จะลืมรากเง้าของเราเห็นหลายคนเราพูดเหนือกับเขาแต่ตอบกับเป็นภาษากลาง
กันยารัตน์ บุญสวัสดิ์ บางจังหวัดยังคงภาษาเหนือแบบแท้ๆค่ะ อย่างเช่นน่าน เด็ก ผู้ใหญ่ วัยรุ่นยังคงพูดภาษาเหนือแท้ๆอยู่เลย ไว้มีโอกาสมาเที่ยวนะค่ะ ยังคงกลิ่นอายล้านนาไว้แท้ๆเลย^^
กันยารัตน์ บุญสวัสดิ์ ผมอายุ28ยังอุ้อยุ่เน้อคับ ลูกหลานผมก่อุ้คับ รับรองว่าเมืองบ่หายแน่นอนคับ
ผมอยุ่แม่ริมเจียงใหม่ อู้เมืองกุ้คนคับ
แพตตี้ บาร์บี้ คนกะว่านางฟ้าครับ.งามใบ้งามง่าว
ป้อเมือง แม่เมือง สอนลูกอู้ไทย ฮาตึงเจ๊บหัว
เนื้อหาเปรียบเปรยทั้งเพลง เป็นเนื้อหาที่สวยงามมาก❤❤❤
ฉันเป็นคนภาคกลาง ชอบฟังเพลงนี้ทั้งที่แปลไม่ออก แต่ก็ฟังไปทั้งที่ไม่เข้าใจ ชอบเสียงของคุณสุนทรี สำเนียงของเธอทุกคำในเนื้อร้องแต่ละท่อน ขอเน้นเลยว่าทุกคำ มันมีเอกลักษณ์ของเธอเอง ฉันไม่ใช่คนเหนือไม่กล้าที่จะทึกทักว่าสำเนียงของเธอคือสำเนียงล้านนา เพราะนักร้องชาวเหนือคนอื่นที่ร้องไม่ได้แบบธอล่ะเขาไม่ใช่ล้านนาละหรือ ฟังมาตั้งแต่ยังเป็นม้วนเทป จนมีอินเตอร์เน็ทจึงรู้ว่าเพลงน้อยไจยา นี่หมายความว่าอย่างไร และมีที่ไปที่มาอย่างไร มีหลายเวอร์ชั่น มีศิลปินหลายท่านนำมาร้อง และคุณจรัลฯ ก็ได้เอาเพลงเก่ามารีเมคใหม่ ทำดนตรีใหม่ ซึ่งก็แปลก ปกติใจฉันจะแอบแอนตี้กับอะไรก็ช่างที่มันไม่ใช่ออริจินอล แต่ครั้งนี้ฉันกลับชอบฟังเวอร์ชั่นนี้ที่สุด มันลงตัวพอดี
ผมคนเหนือ ก็ แปล ไม่ออกนะหลายๆคำนะครับ เพราะเป็ภาษาเหนือโบราณนานแล้ว
“น้อยไจยา” เพลงเก่าแก่พื้นบ้านล้านนา มาจากทำนอง เพลงล่องน่าน คำร้อง โดยท้าวสุนทรพจนกิจ เพลงนี้เป็นเพลงที่ทำให้จรัลได้พบกับ "มานิด อัชวงศ์" ในงานวันเกิดเพื่อนของเขาเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2520 ซึ่งหลังจากนั้นทั้งคู่ได้ตัดสินใจทำงานร่วมกัน และสร้างตำนานโฟล์คซองคำเมืองขึ้นมา
เพลงน้อยไจยา นอกจากจะเป็นเพลงชักนำจรัลเข้าสู่วงการแล้ว ยังเป็นเพลงแจ้งเกิดของ “สุนทรี เวชานนท์” ที่ต่อมากลายเป็นสองนักร้องคู่ขวัญแห่งล้านนา
เพลงน้อยไจยา(ของคณะละครวิทยุแก้วฟ้า)
มวลดอกไม้มีเสน่ห์ที่เกษร หมู่ภมรซอนเซาะสู่คู่ภิรมณ์ หอมเอยช่างหอมหวล เย้ายวนให้ชวนชม ภมรสู่สมหมายใจจะชมมิข่มความอาลัย คนจะงามศักดิ์ศรีที่ความซื่อตรง รักมั่นคงถือความรักยงค์เหนือยิ่งสิ่งใดๆ ไม่ผันไม่แปลความรักที่แน่แก่ใจ ไม่มีรักใดดังรักของน้อยไจยา....(เสียง"ซึง"ดนตรีรับ ไพเราะจับหัวใจมิรู้ลืม ตราบจนเท่าทุกวันนี้ยังจดจำได้ดี เพราะเหลือเกิน เพราะจริง วงสล้อ ซอ ซึง เครื่องดนตรีเหนือ ถ้าได้ฟังแล้วจะประทับใจ)
เสียงนี้เป็นเสียงเดียวที่ร้องเพลงนี้ได้สุดยอดจริงๆค่ะ ขอให้คุณจรัญ ไปสู่สุคติยังสัมปรายภพนะคะ คุณสุนทรี เวลานนท์ เสียงไพเราะจริงๆค่ะชอบเสียงดนตรีแบบนี้ค่ะฟังแล้วคิดถึงเชียงใหม่บ้านเกิดที่จากมานานเหลือเกินค่ะ
ภาษาเหนือปริวรรต เป็นภาษาไทย ให้ตายยังไงคนไทยก็อ่านไม่เหมือนภาษาเหนือเด็ดขาด เพราะ 1 ภาษาเหนือเสียงวรรณยุกต์จะสูงกว่าภาษาไทยกลางไปอยู่ 2 ยึดตามสำเนียงราชธานีเชียงใหม่ มี 6 วรรณยุกต์ (บ่จ้าง ถ้าอ่านตามเหนือแล้วเสียงจะเป็นววรณยุกต์ โทพิเศษ) 3 ภาษาเหนือจริง มีการขึ้นเสียงนาสิกเสมอ
นักภาษาศาสตร์ 👍
...น้อยใจยา แว่นแก้วเป็นใคร
หมอ สารภี
รู้จักเพลงน้อยใจยาของจรัล มโนเพ็ชรไหม...น้อยใจยา แว่นแก้วเป็นใคร
เรื่องราวของ "น้อยใจยา - แว่นแก้ว" เป็นเรื่องราวความรักของหนุ่มชาวบ้านชื่อ “น้อยใจยา” (คนเมืองเวลาบวชเป็นเณร เมื่อสึกออกมาจะนำหน้าว่า “น้อย” นำหน้า ส่วนถ้าสึกจากพระ จะเรียกว่า “หนาน”) ได้รักชอบพอกันกับ “นางแว่นแก้ว” ลูกสาวคหบดี แต่ว่าตางบ้านนางแว่นแก้วได้หมั่นหมายนางแว่นแก้วไว้กับ “ส่างนันตา” พ่อค้าชาวปะหล่องตองสู (พม่า)
ข่าวนี้ก็ไปเข้าหูน้อยใจยา น้อยใจยาเลยนัดนางแว่นแก้วมาสอบถามความจริง พอซักถามความจริงแล้วน้อยใจยาก็รู้ว่า แท้จริงแล้วนางแว่นแก้วได้รักน้อยใจยาอย่างแนบแน่น จึงตัดสินใจที่จะพากันหนี แต่หนีได้ไม่นานเท่าไร พ่อของนางแว่นแก้วกับส่านนันตา ก็พาคนออกติดตาม จนพบทั้งสองในที่สุด เรื่องราวก็เลยขึ้นโรงขึ้นศาล เพื่อให้ศาลตัดสินปัญหาความรักในครั้งนี้ ส่างนันตาหาว่าน้อยใจยา ได้ลักคู่หมั้นหนีไป แต่พอซักถามไปมา ตัวน้อยใจยากับนางแว่นแก้วก็ชนะความ ทำให้ทั้งสองคนก็ได้แต่งงานกันในที่สุด
("น้อยใจยา - แว่นแก้ว" เป็นบทละครที่ท้าวสุนทรพจนกิจ (ใหม่ บุญมา) กวีประจำราชสำนักของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ประพันธ์ขึ้นถวาย (ตามที่พระราชชายาทรงผู้เรื่อง) และประทานอนุญาตแสดงในโอกาสคล้ายวันประสูติ (ครบ 60 พรรษา แสดงที่วัดสวนดอก) ซึ่งพระราชชายาทรงแกัไขบทบางตอนให้เหมาะสม พร้อมกับทรงประพันธ์คำร้องประกอบทำนองเพลง พื้นเมืองเดิมของล้านนา
ไจยาก็คือไชยาในภาษากลาง ก็คือคนชื่อไชยาเคยบวชเณรมาก่อน
เจ้าดารารัศมี ท่านก็เก่งมากเลยนะค่ะ แก้ไขเนื้อเพลงได้ลงตัวมากๆ
ขอบคุณที่ช่วยปรับปรุงคำแปลนะครับ ยินดีน้อมรับไปแก้ไขในอนาคต ตอนนั้น เวลาและคนช่วยแปลไม่มี แต่ทำเพราะคิดถึงบ้าน TT ..เพลงนี้พ่อเคยแปลให้ฟัง จนเข้าใจเรื่องราวทั้งหมด แต่ผมไม่ได้เข้าใจทุกคำ เพราะเป็นภาษาเหนือสมัย ร. 5 ครับ
ขอบคุณน้องหนึ่ง สรวี บางศรี, น้องคมสันต์ ที่ช่วยทำมิวสิควีดีโอ และซับไทยภาคกลางให้ ถูกใจพี่มากครับ
ส่วนความผิดพลาดเรื่องคำแปล ผมขอรับไว้แก้ไขในอนาคตครับ
ส่วนชื่อ น้อย ไจยา ซึ่งหมายถึง นายไจยา หรือ ชัยยะ ซึ่งเคยบวชเณร (เรียก น้อย) คราวหน้า จะแก้ในเพลงเป็น ไ // แต่ชื่อเพลงบนยูทูป จะใช้ ใ ใจยา เหมือนเดิม เพื่อให้ค้นหาเจอง่ายๆ
ขอบคุณทุกท่านที่ช่วยกันปรับปรุงครับ
Win Worrawit i
ฉบับเดิมครับ
จิ่ม แปลว่า ตวย
ฉบับเดิมคือ
"แต๋มเก๊าเนิ้ง ฮากมันบ่ถอน"
เพื่อให้ เข้ากับ คำว่ากิ่งส่วนปลาย หมายถึง ลูกสาว (ตัวแว่นแก้วเอง )
ในวรรคหลังครับ
เก๊าหมายถึง พ่อแม่ กิ่งหมายถึงลูก (ตัวแว่นแก้วเอง)
ไม่เกี่ยวกับ กิ่งของรากอะไรทั้งนั้น
ruclips.net/video/sikPXUaflQc/видео.html
ขอบคุณมากๆ ค่ะ สำหรับผลงานที่ทำขึ้นมา ผิดบ้างอะไรบ้าง เข้าใจคะ เราก็พยายากแก้ไขไปสักวันก็จะถูก 100% เก็บไว้ให้ลูกหลานได้ชม ได้ฟัง อย่างเช่น ดิฉันเอง เข้ามาฟัง มาอ่าน ได้รู้อะไรขึ้นเยอะเลยค่ะ ขออนุญาต เอาไปแชร์นะค่ะ
เต่าอี้กะสุดยอดแล้ว ครับ
กำว่า น้อยไจยา เขียนแบบนี้ กะบ่าผิดครับ
เพราะ ไจยา กำนี้ มันมาจากตัวหนังสือเมือง
ชอบมาตั้งแต่เด็กๆ แล้ว
ไม่เข้าใจความหมายเท่าไหร่
แต่ก็พอเดาได้ว่าทั้งสองคนกำลังตัดพ้อต่อว่ากัน แล้วก็เข้าใจกันได้ในที่สุด
ต้องขอบคุณมากเลยที่แปลให้
ขอบคุณคนที่เข้ามาให้ความกระจ่างเรื่อง "น้อย, หนาน" ด้วย นึกว่าชื่อ น้อย ไจยา ซะอีก เพราะมีที่ทั้งสองร้องว่า
"ปี้น้อยจะตาย...." หลายหนอยู่
ปี่น้อย เป็นคำเรียกใช้แทนตัวเอง ครับ
คนเหนือที่บวชเณร สึกออกมาเรียกว่า น้อย
ขอบคุณมากเลยค่ะ ขอบฟังมากเลยค่ะ กำลังฟังรู้มังไม่รู้มัง มาเจอคลิปนี้พอดีเลย
2562 ยังฟังครับ คำแปลก็เข้าใจดีครับ แม้อาจถูกไม่หมดแต่ทำให้รู้เยอะมากครับ รักเลยครับ
ฟังอยู่ตอนนี้ปี 67 ฟังมาตั้งแต่ปีน่าจะ 26 เมื่อก่อนไม่รู้ความหมายฟังแบบผ่านๆไม่ได้สนใจความหมายพอได้รู้ความหมายก็รู้สึกประทับใจมากในคำพูดที่โต้ตอบทั้งฝ่ายขายฝ่ายหญิงเป็นภาษาที่สละสลวยไพเราะสวยงามมาก
ฟังแล้วฟังอีกไม่เบื่อคุณจรัลและคุณสุนทรีร้องได้
ไพเราะมากยากที่จะเปรียบได้
ผมฟังเพลงนี้มาเกือบ10ปีละ เสน่ห์ของเพลงนี้อยู่ที่ คอมเม้นครับ แต่ละเม้นเป็นความรู้ใหม่คับ เพราะบางคำผมไม่เคยได้ยิน แต่คนคอมเม้นแสดงให้ผมเห็นว่าเขาได้ยินมา นั่นแปลว่า ผมเป็นคนเหนือที่ ยังต้อวศึกษา ภาษาเหนืออีกเยอะ คนภาคอื่นไม่ต้องตกใจคับถ้าแปลไม่ออกหรือฟังไม่รู้ เพลงนี้เป็นหนึ่งในเพลงที่ผมใช้ร้องกล่อมลูกคับ5555
เพิ่งรู้คำแปลทั้งหมด ก็วันนี้
แหละ เป็นบทประพันธ์ที่สุด
ยอดที่สุด เคยดูหนังที่ไชยา
คู่เพชรา ปี2508 ละมั้ง
มีแต่ศัพท์เหนือโบราณ กำโบราณละอ่อนสมัยใหม่บ่ใค่ฮู้เต้าใด ต้องถามป้ออุ้ย แม่อุ้ย เปิ้นถึงจะฮู้ .สมัยนี้กำเมืองบ้านเฮา จะชอบเอาภาษากลางมาผสม ถ้าอู้กำเมืองแต้ๆ รับรองคนไทยบ่มีวันฟังฮู้เรื่อง
แม่นละคับ
ละอ่อนรุ่นใหม่อู้กำเมืองเอากำไทยกลางมาผสมก็ดีแล้วน่ะจ้าว มันดูกลมกลืนเป๋นจ้าดเดียวกันเน้อ
แม่น
ไม่ได้คิดอะไรมากครับกับการเปลี่ยนแปลง ภาษาเป็นพลวัฒน์ มันจะเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย เกิด และมีดับ
แม่นละครับ ขนาดผมเป็นคนเมียงแต้ๆบางกำยังแปลบ่ออกเลยครับ เป็นภาษาเมียงโบราณแต้ๆครับ
แต๋มเก้าเนิ้ง กิ่งมันบ่ถอน = แต่ต้นหนึ่งกิ่งมันไม่เปลี่ยน : ท่อนนี้ น่าจะแปลผิด
น่าจะแปลว่า ถึงแม้นต้นมันจะเอนหรือโน้มไป แต่กิ่งก็ยังไม่โน้มหรือเอนตาม (กิ่งก็ยังคงตั้งตรงเหมือนเดิม)
เป็นการพูดเปรียบเปรย ว่า แม้พ่ออแม่มีใจให้ลูกเขยคนอื่น แต่ลูกก็ไม่คล้อยตามพ่อแม่ ยังรักชายคนเดิม
Thanaphol Kunnarangsi กิ่งมันบ่ถอน "กิ่ง"ในที่นี้น่าจะหมายถึงกิ่งแก้วหรือก็คือรากแก้วนะค่ะ คือต้นมันเอนแต่รากแก้วยังมั่นคงหยั่งลึกไม่ถอน เหมือนรักของแว่นแก้วที่หนักแน่นไม่เปลี่ยนแปลงจากน้อยไจยา
มันจะรากได้ยังไงอ่ะ ก็พี่น้อยเขาถามว่าต้นมันตายปลายมันเหี่ยวกิ่งก็คงเหมือนกัน แว่นแก้วจะแถไปตอบเรื่องรากเนี่ยนะ
แต๋มเก๊าเนิ้ง ฮากมันบ่ถอนครับ
ไม่ใช่แต๋มเก๊าเนิ้ง กิ่งมันบ่ถอนครับ
@@paulkwong5644 ถูกต้องครับต้นฉบับเป็น ฮากมันบ่ถอน
กำลมทางเหนือ ລມ ในภาษาลาว แปล เป็นไทย คำพูด พูด คุย
เป็นเวอรชั่นที่ดีที่สุดของเพลงนี้ ขอบคุณมากค่ะ😊
ชอบเพลงน้อยใจยามากค่ะ ชอบเสียงร้องและทำนองแต่ก็ฟังเหมือนเพลงเศร้าๆ แต่พออ่านแปลแล้วไม่ได้เศร้า แต่เป็นเพลงemotional ของทั้งสองคน ขอบคุณมากๆค่ะ
Amezing Tradition Culture from Lanna:
@Very old Cuture with instrumental from
Lanna in Salang from North Thailand.
Lanna Very beutiful locations & Old Sweet
Culture local People Very worm & kind....
Unforgettable.....!!
ชอบจังเลยค่ะ เพิ่งรู้จักคำแปลเพลงนี้ ทั้งที่ฟังมานานมากเลย
วันนี้ฝนตกอากาศคืนนี้ค่อยยังชั่ว ฟังเพลงนี้แล้วคิดถึงย่า ไปหาย่าที่พะเยา ท่านบอกไปเอาหม้อขางมา หม้อขาง กะทะ กลางคืนบอกให้ไปเอาสี่แจ่งมา สี่แจ่งคือมุ้ง
14/06/67 เข้ามาฟังมาร้องตามค่ะ
เตียมคิง = คู่กาย , ปี่น้อยจักต๋ายเป็นครืน ไม่ใช่เป็นพืน , ยินดีจิ่ม= ขอบคุณด้วย
ปี้น้อยใจ๋หวานปี้หนานใจ๋เย็น,แปล...ว่าคนที่ผ่านการบวชเรียนมาแล้วมีเหตุผล.😊น่าเคารพนับถือ😄
"เต๋มเค้า(ไม้)เนิ้ง กิ่ง(ของ)มันบ่ถอน" (ภาษาวรรณกรรมลุ่มน้ำปิง)
"ถ้าแม้นว่าเค้า(ลำต้น)เอียงโน้ม กิ่ง(อาจแปลว่า รากกิ่งรากแก้ว ได้ด้วย)มันไม่โถมไต่ตาม" (แปลมาเป็นภาษาวรรณกรรมลุ่มน้ำเจ้าพระยา)
(ซึ่งเปนไปไดัว่า กิ่งในวรรคนี้แว่นแก้วกำลังกล่าวถึงกิ่งที่หนักแน่นกว่ากิ่งที่ ตัวไชยากล่าวในวรรคก่อน คือ กิ่งไม้ นั้นคือ รากกิ่ง รากแก้ว)
เพราะกริยา ถอน เป็นกริยาธรรมชาติที่ใช้กับราก ไม่นิยมใช้กับกิ่งไม้
แต่หากว่าจะ ถอนกิ่ง นั้นต้องใช้มือถอนไม่นิยมกล่าวว่าลมพัดถอนกิ่งไม้ แต่จะพูดว่า ลมพัดแรงจนถอนรากไม้ ด้วยเหตที่กวีกำลังพูดถึงลมที่คือปากคน ฉะนั้นอาจกล่าวได้ว่า ลมปากคนนี้ มิอาจมาพัดจนสามารถถอนรากแห่งรักได้ หากเพียงแต่ทำให้ลำต้นมันโน้มได้ก็เท่านั้นเอง.
อาจแปลได้อรรถรสอีกชั้นว่า เพราะรากกิ่งรากแก้วที่ยึดลำต้น คือความรักที่ยึดมั่นในใจอยู่นั้น ไม่ล้มลงตามเค้าต้นไม้ ที่มีลมปากคนมาสู่ขอกับพ่อแม่ ดั่งนั้นความรักในใจก็จะไม่แปรไปตามสถานการณ์ใดๆก็ตาม คือความรักที่เที่ยงมั่นหนักแน่น ดั่งที่แว่นแก้วว่าไว้ในบทกวี ฉะนั้นต้นรักนี้ก็ไม่ตายจากสาเหตุที่ตัวลำต้นมันโน้ม ก็เพราะรากมันยังยึดแน่นไม่หลุดไป
น้อยไจยา (สำเนียงล้านนา) น้อยไชยะ (สำเนียงภาคกลาง)ใช้ "ใ" ไม่ได้เพราะ ใจ ไม่ได้แปลว่าหัวใจในชื่อของเขา แต่แปลว่า ชัยชนะ
กินก่อยังตึงแก เสลียมยำใส่แย้
บะเขือแจ้ยำใส่เตา กรพี่น้อยไจยา
ฮักแต้ข้าเจ้า ก๋อยินดีจิ่มแต้เน่อ.
(อุปมาดั่ง เครื่องของกินพื้นๆทั้งหลายที่ว่ามานั้น อาทิ มะเชือแจ้มายำใส่สาหร่ายน้ำจืด ตัวแว่นแก้วเองก็ยินดีชิม(รสชาติชีวิตที่ลำบากกว่า เพราะคนที่มาสู่ขอมาจากบ้านวังสิงห์คำ คือ คุ้มเจ้าน้อย)หากว่า (กร(แปลว่า ถ้าแม้นว่า กรว่า ดั่งกะระว่า)พี่น้อย)พี่รักแท้จริงในตัวข้าเจ้าแล้วไซร์ ก็จะยินดีร่วมทุกข์ร่วมสุขกันไปอย่างแน่นอน.
บ้านวังสิงห์คำตอนนั้นเป็นที่ตั้งของอะไรเหรอครับ รู้แต่ว่าตอนนี้เป็น สนง.เทศบาลและสถานกงสุลสหรัฐ สมัยร.6 เป็นโรงเรียนปรินส์เดิมก่อนจะย้ายไป
กิติ บูรพา กิติ บูรพา ขอบคุณครับ เพราะ ภาษากวี ลึกซึ้งมาก ผมไม่ประสีประสา แต่คุณกิติอธิบายจนกระจ่างแจ้งเลย :)
จิ่ม แปลว่าด้วยครับ
ไม่ได้แปลว่าชิม
มีฉบับเดิมยืนยันครับ
ส่วนที่พูดเรื่องแกงอะไรนั่น ไม่ได้เกี่ยวกับการชิมครับ
เป็นคำเปรียบเปรย ว่าวัตถุดิบที่นำมาปรุงนั้น
บางครั้งก็มีของที่เข้ามาแก้การแสลง หรือ แก้รสชาติให้ดีขึ้น
บางถิ่นเรียกว่า ชู้ หมาายถึงของที่เหมาะนำมาแกงคู่กัน
พูดในวรรคนั้น จบแล้วจบเลย
ไม่เกี่ยวกับวรรคอื่นครับ
ฉบับดั้งเดิม จากแผ่นเสียงครั่งครับ
มีคำว่า จิ่ม ไม่ใช่จิมครับ
ruclips.net/video/sikPXUaflQc/видео.html
"เต๋มเค้า(ไม้)เนิ้ง กิ่ง(ของ)มันบ่ถอน" (ภาษาวรรณกรรมลุ่มน้ำปิง)
คุณ เอามาผิดแล้วครับ
ฉบับเดิมคือ
"แต๋มเก๊าเนิ้ง ฮากมันบ่ถอน"
เพื่อให้ เข้ากับ คำว่ากิ่งส่วนปลาย หมายถึง ลูกสาว (ตัวแว่นแก้วเอง )
ในวรรคหลังครับ
เก๊าหมายถึง พ่อแม่ กิ่งหมายถึงลูก (ตัวแว่นแก้วเอง)
ไม่เกี่ยวกับ กิ่งของรากอะไรทั้งนั้น
ฉบับเดิมตามนี้ครับ
ruclips.net/video/sikPXUaflQc/видео.html
จิ่ม เป็นคำลงของบทซอ ถ้าได้ฟังซอตอนจะจบจะลงด้วย จิ่ม จิ่มแหล่เนอ จิ่มเตอะ จิ่ม กับ จิม มันคนละคำกันเลยนาครับ
โอโห แปลได้เข้าใจง่าย
เป็นภาษาที่ลึก ความหมายในความหมาย
ขอบคุณนะครับ ขอบคุณจริงๆ❤❤❤❤❤
ข้าเจ้าฟังฮู้เรื่องอยู่จ้าว
ดีใจจังแปลให้ด้วย น่ารักที่สุด เพราะมากๆ ภาษาเหนือฟังทุกวันไม่เคยเบื่อเลย
ฟังมา10กว่าปี ไม่ได้รู้ความหมายแต่แรกทั้งหมด พอได้รู้ความหมายยิ่งรู้สึกไฟเราะมากๆกับความรักหนุ่มสาวล้านนาสมัยก่อนที่จีบกัน ชอบมากๆครับ❤
เพราะดีนะค่ะ
ชอบฟังค่ะ
คนเหนือแต้ๆๆเนาะเจ้า
ชอบครับทั้งที่ฟังเข้าใจไม่หมด
น้อยไจยาคือชื่อคนที่บวชเป็นเณรแล้วสึกแล้วจะเรียกน้อย ถ้าบวชพระแล้วสึกจะเรียกหนาน คนเหนือนิยมเรียกพี่น้อย พี่หนานนะครับ
ปวงดอกไม้เบ่งบานสลอน❤
คนใต้นึกถึงเชียงใหม่เลยเรา
ไพเราะค่ะ ชอบฟังมานานเพิ่งรู้คำแปลเป็นภาษาไทยกลาง ต้องขอบคุณผู้แปลด้วยนะคะ
ขอบคุณครับสำหรับคำแปล
เยี่ยมเลยครับ แปลให้ด้วย ความหมายดีมาก ทำต่อไปนะครับ
สุดยอดเลยครับ
ขอบคุณมาก สำหรับที่มาของเพลงและคำแปล
ไพเราะค่ะไว้กบ่อมลูก
ไพเราะมากครับ
คำว่า "ปี้น้อยใจยา" หมายถึงคนชื่อ ใจยา หรือ ไชยา ที่ลาสิกขาจากความเป็นพระ คนเหนือเรียกชาย ที่ผ่านการบวช มาแล้วว่า "น้อย" (ลาสิกขาตอนอายุน้อย) กับอีกคำว่า "หนาน" (บวชมาระยะเวลานาน แล้วลาสิกขา) สรุปคือผู้ชายชื่อ ใจยา ผ่านการบวชมา เลยเรียกว่า พี่น้อยใจยา
เรทเป็นคนเหนือตั้งเเต่เกิดเลยนะ แต่ฟังเพลงนี้ถ้าไม่มีคำแปลก็ฟังไม่ออก
ไพเราะมากค่ะ
ขอบคุณครับ ฟังทีไรก้เพราะเหมือนเดิม
ม่วนขนาด
ขอบคุณมากครับที่แปลให้ ทำให้เราได้อรรถรสในการรับฟังมากยิ่งขึ้น
จะร้องฮื้อใด้ ม่วนมีความหมาย
เพลงชื่อน้อยไจยา นะครับ ขอบคุณมากครับ ฟังตั้งแต่เด็กๆ ไม่เข้าใจเลยว่าร้องอะไรกันบ้าง รู้แต่ว่าเพราะ จนมาศึกษาคำเมืองเรือ่ยๆ หัดฟังหัดพูดมากๆ เริ่มเข้าใจ แล้วพอมาดูคลิปนี้ เข้าใจมากขึ้นไปอีกครับ
ยินดีจ๊าดนักจ้าว
เพิ่งรู้ว่าเนื้อหาเพลงนี้มีความหมายซ่อนเร้น นึกว่าพูดถึงต้นไม้ใบหญ้าธรรมดา สมกับเป็นบทกลอน
ไม่ใช่คนเหนือ แต่จะอธิบายเพิ่มตามความรู้
ก่อนอื่นเลยน่าจะแปลคำว่า น้อยใจยา ก่อน น้อยเป็นคำเรียกคนเคยบวชเณรแล้วสึกออกไป ไทใหญ่เรียก ส่าง อีสานเรียก เซียง
ใจยาเป็นชื่อ คือ ไชยาหรือชัยยา แปลว่า ชัยชนะ เขียนเป็น น้อยไจยา ไม่ใช่ น้อยใจยา ทำให้คนนึกว่าน้อยอกน้อยใจ
ในคลิปบอกเป็นบทละครครบรอบอายุ 60 พรรษาเจ้าดารารัศมี แต่คำแปลวงเล็บบอกเหล้ากับขวดเป็นของใหม่สมัยร.5 ในเชียงใหม่
ถ้านับตอนแต่งกลอนนี้น่าจะบอกเป็นสมัยร.7 มากกว่า เพราะเจ้าดาราฯเสด็จกลับมาอยู่เชียงใหม่ถาวรสมัยร.6
ท่านอายุ 60 พรรษาสมัยร.7 และก่อนหน้านี้ได้รับเสด็จร.7 กับพระราชินีประพาสเชียงใหม่ พ.ศ.2469 ก่อนปฏิวัติโดยคณะราษฏร์
ใจยา เข้าใจว่าเป็นชื่อคนเน้อเจ้า
ไจยา ควรจะใช้ ไม้มลาย มากว่า ไม้ม้วน นะครับ เพราะเขาชื่อ ไชยา ที่เรียกว่า “น้อย” เป็นคำใช้เรียกคนที่เคยผ่านการบวชเณรแต่ไม่เคยบวชพระครับ เพราะฉะนั้น ไชยา เคยบวชเณรมาก่อนแล้วสึกออกมา เขาถึงเรียกว่า น้อยไจยา (ช.ช้าง ออกเสียง จ.จาน ตามสำเนียงกำเมืองครับ)
ชอบมากๆเพลงนี้ฟังทุกวัน ไม่เบื่อเลย
สวัสดีคะ
ฉันไม่สนใจว่ามันจะแปลว่าอะไร. แต่มันเพราะมาก..ขอขอบคุณคนที่ถ่ายทอดบทเพลงที่แสนไพเราะเช่นนี้
เสียงผู้ญิงเพาะดี
ขอบคุณที่ลงคลิปแปลให้ฟังครับผมถามคนเหนือรุ่นใหม่เดี๋ยวนี้ยังแปลไม่ได้เลย เค้าบอกมันเป็นภาษาโบราณ
ฟังม่วนข่ะหนาดเจ้า
21/8/64ยังฟังอยู่ชอบมากมากที่เป็นผลงานของคุณจรัญและคุณสุนทรีคะ
สบายใจแระ อยากรู้ความหมายเพลงนี้มานานแล้วครับ
นะนะคิดถึง..ตัวเองนะอยุ่ทางโน้นตั้งใจทำงานนะ...อย่าลืมรอทางนี้นะตอนนี้ไกล้เก็บเงินส่วนตัวไกล้ครบละขาดอีกไม่เท่าไรเองแต่ก้อเก็บเงินได้หลักล้านละนะตัวเอง...ไม่อยากให้เขาว่าเราไปเกาะเขากินเพราะเรามันคนจน
ได้ฟังเพลงน้อยใจ๋ยากึดเติงหาตอนอยู่ม.ต้นได้ฟ้อนเพลงนี้และได้ฟ้อนรำดาบตวย
หลายปีก่อนไปหาตากับยายที่แม่ฮ่องสอน แล้วช่วยยายทำครัว ยายบอกว่า "ไปเอาป้ากมาฮื้อแม่หลวงกำลูก" เอ่อ.....ป๊าก!? คือ? ยืนเอ๋อพักหนึ่ง ถึงรุ้ว่ามันคือทัพพี T_T
มันเป๋นจะไดกั๋นหมด ตายาย บ่ะไจ่กำเมืองเน้อ มีก่ะ ป้ออุ้ย แม่อุ้ย
แต่เชียงใหม่เปิ่นฮ้องว่าด้ามปาก
ป๊าก ตรงกับคำว่าป่าก์ ที่ใช้ในคำว่าพ่อครัวหัวป่าก์
ป๊าก คือ ทัพพี
"ไปเอาป้ากมาฮื้อแม่หลวงกำลูก"
ไปเอาทัพพีมาให้ยายทีสิลูก
#กำฮักน้อง จะเอาไว้ไหนกะกั๋วแมวกิ๋น
จะเอาใส่ในดิน กะกั๋วปวกแง้น
จะเอาใส่ถุงสะปายแล้ง กะกั๋วป้อนแป้นหลุดหลัวะ
จะเอาไปฝากฝังโก๋นไม้ผวั๊ะ กะกั๋วนกเก๊ากาบหนี
อ้ายเลยเอาซุกไว้แง่มฮูขี้ มันตึงบ่าหมี๋ใผมาลู่ได้🤣
กานอ้ายตดจะลอยไปตวยลมกะจ้าว
😆😆จ่างแต่งหนออ้าย🤣🤣
🤣🤣🤣🤣
กู้ข้าง เตียมคิง น่าจะแปลผิด
น่าจะหมายถึง คู่แนบข้าง เคียงกาย ไม่น่าจะหมายถึง เตือนสติ
ชอบเพลงไทยสำเนียงลาวเเพราะเสึยงพิณ เครื่องดีด
บะเขือแจ้ยำใส่เตา = "เตา" คือสาหร่ายสีเขียวที่เกิดตามนาหรือห้วยน้ำใสๆสะอาดๆคนเหนือจะเอามายำหรือปรุงกับมะเขือแจ้
รู้ความหมายซะที
"ไจยา" ต้องใช้ไม้มลายครับ เพราะมาจาก ไชยา = ชนะ
อืมม...
ผมว่าก็จริง แต่เอาตามที่เห็นนะครับ ผมเคยเห็นนามสกุลของเพื่อนพี่น้องคนเหนือ ไปใช้ลงท้ายว่า "-ใจยา" ซะหมดเลย คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากที่มาเดียวกันนี้เลย
จะมีแปรเป็นฉบับภาษาไทยนะคะเพลงนี้ พิมพ์ก็ไปว่าแปรฉบับไทยจะมีคำศัพท์แปลให้เรียบร้อยเลยค่ะว่ามีความหมายอย่างไร
กึดเติงหาคนบ๊ะเก่าแต้ๆ
เคยเห็นที่อื่นแปลมา บ้านตู๋ ก็คือบานประตูซึ่งก็น่าจะถูก
2560 ก็ยังฟังอยู่เน้อ
เก๊ามันต๋ายป๋ายมันเซิ่ง…
ลำกิ่งเนิ้งต๋ายโก่นตวยแนว
ดอกพิกุล ก่คือดอกแก้ว….
ไปเป๋นหองเปิ้น แล้ว เหนอ
เพาะมาก
ดีๆ ครับ ชอบๆ อยากให้ทำแปล เพลง เสเลเมา ด้วย ไม่ทราบว่าทำไง้แล้วหรือเปล่าครับ ถ้ามีผมขอดูด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
ขอคารวะ อ.จรัล จากคนเมืองน่าน
ค่อยสิศักตนลำปางเด่อ
💚
ภาษากำเมืองโบราณ ล่ะอ่อนสมัยนี้บ่าค่อยฮู้เต้าใด ต้องถามแม่อุ้ยตลอดเลย5555 เปิ้นก่อยังถามอยู่หน๋า มันบ่าคุ้นหู
Nanneey NaN เพลงบรรเลงกอ่งปุ่จาฟังฟังแล้วไค่ปิกบ้านขนาดปื่แก้วคนบ้านต้นขามสถานืรถไฟชฺ
+นันท์นภัส เหลืองไทย น้อง คนลำพูนเน้อ เจ้า วันพุกดั้ยปิ๊กบ้านแล้ว ดีใจ๋ขนาดเลยเจ้า 😆😆😆😆
ฟังแล้วคิดถึงคนลำปางค่อยสิศักคนลำปางเด่อถึงค่อยเขียนไปต่างตนอีสารเด่อ
ศิลปะขั้นสุด
ปี้แล้ว !...บ่เอาเป๋นเมีย...? 555
7:58 ทำไมเนื้อเพลงอีกที่หนึ่งจะบอกว่า
" อู้บ่ะถูก วันพูกก่อยมาขืน อู้เมื่อคืน ก่อยมาขืนก่อเมื้อเจ๊า "
10:31 ของลิงค์นี้ ruclips.net/video/ZG2MQIAGXJc/видео.html
DE CNX i
ใช้คำว่าฟู่อู้ หรือว่าฟู่ครับ
แปลผิดหลายที่ คนแปลต้องรู้ภาษาเหนือให้ลึกซึ้งถึงภาษาเหนือสมัยเก่า
ผมว่าน่าจะเป็นการตีความผิด
ขอหื้อฟ้าผ่า หัวแม่เมียต๋าย
เพราะว่า แม่ยายโดยทั่วไปแล้ว
จะรักลูกเขย และก็เป็นประเพณี
ทางเหนือที่ลูกผู้หญิงคนสุดท้อง
จะได้รับมรดกเป็นบ้านที่กำลัง
อาศัยอยู่และส่วนมากผู้ชายก็
ไปอยู่บ้านฝ่ายหญิงเพื่อช่วยทำนา
และเลี้ยงควาย
และอีกประโยคหนึ่งที่ผู้หญิงร้อง
ขอหื้อฟ้าผ่า หัวป้อผัวตาย
ปรกติแล้วพ่อผัวจะรักและ
เอ็นดูลูกสะใภ้
จึงขอให้พิจารณาด้วย
มันผิดทางจิตวิทยาด้วย
หญิงย่อมคู่กับชาย
กึ๊ดเติงหาบ้าน...
ภาษาเหนือแท้ๆ ในเชียงใหม่หาได้น้อย เป็นเมืองเนิบๆ ต้องไปแถวๆ แพร่ น่าน ลำพูน ลำปาง จะเจอเหนือขี้เมี้ยง แบบเมียง แท้ๆ คำเหนือโบราณหลายคำยังใช้พูดอยู่ ถึงจะค่อยๆหายไป
ถ้ามาทางลำพูนจะเจอแบบยองไปเยอะครับ
อย่าใช้คำว่าเหนือขี้เมี่ยงเลยครับ...สำเนียงแต่ละจังหวัดต่างกันครับ. ผมคนลำปาง ก็ภูมิใจกับสำเนียงลำปางครับ
เมืองฝางก็อู้กําเมืองเน่อเจ้า.เจิญมาแอ่วเจ้า
แม่เมีย ก็น่าจะแปลว่านังเมียคือเมียนั่นแหละไม่น่าจะใช่แม่ของเมีย
แม่ยาย
คำว่าฝ่ายตางปู้นเปินมาใส่ผะจำ บ้านวังสิงคำเปิ้นมาหมั่นก่ไว้แล้ว ควรแปลว่า ฝั่งทางโน้นเค้ามาพูดให้ฟังทุกวัน ว่าบ้านสิงห์คำมาหมั้นน้องไว้แล้ว
คำว่าเปิ้นจะกิ๋นแขกแต่งก๋ารก่วิวาห์ เมื่อใดจาปี้น้อยใคร่ฮู้เก๊า"พี่น้อย"คนภาคอื่นๆอาจจะงงได้ว่าสรุปไจยาชื่อน้อยหรือชื่อไจยากันแน่ผมขอขยายความคำว่าน้อยคือคนที่ผ่านการบวชเณรมาแล้วแต่ยังไม่ได้บวชพระ คนที่ผ่านการบวชพระมาแล้วจะเรียกว่าหนานหรือในภาคกลางคือทิศนั่นเอง
ส่วนคำว่ากำฟู่ กำจา คนภาคอื่นแม้แต่คนภาคเหนือสมัยนี้คงงงกันว่าทำไมไม่ใช้คำว่ากำอู้ กำจา "คำว่าฟู่"เป็นคำล้านนาโบราณคือคล้ายๆกับคำว่าอู้ แต่สุภาพกว่าคำว่าอู้ มักใช้ในการพูดคุยในการสู่ขอสาว หรือใช้ในรั้วในวัง ปัจจุบันแทบไม่ได้ใช้คำนี้ในคำพูดทั่วไปแล้วแต่ชาวไทยวนสระบุรี ที่อพยพมาจากเมืองเชียงแสน(ในจ.เชียงรายเมื่อสองร้อยกว่าปี)ยังใช้คำว่าฟู่ แทนคำว่าอู้อยู่จนถึงทุกวันนี้
หรือเอาเป๋นเมียนางจ้างแก้วอยู่เป๋นกู้ข้างเตียมคิง ค้องแปลว่า หรือจะเอาเป็นเมียรักเชิดหน้าชูตา อยู่เคียงคู่กัน
คำว่า ลูกแม่ญิงอู้เล่นก่บ่ดาย ลูกป้อจายอู้แต้ก็บ่ปัง ไม่ใช่บ่ฟัง บทนี้ควรแปลว่า ลูกผู้หญิงชอบพูดล้อเล่น แต่ลูกผู้ชายพูดจริงทำจริงไม่เปลี่ยนแปลง
ใส่ผะจ๋ำ= ใส่มัดจำ ?
ในเพลงนี้ คงหมายถึง การมาพูดคุยเรื่องสินสอด หมั้นหมาย
เคยได้ยินพ่ออุ๊ยพูดว่า
มีคนมาใส่ผะจ๋ำลำใย คือมาวางเงินมัดจำค่าลำใย
คะ
musica brasiliana di affitto .
😅
ลองเข้าไปฟังที่แล้วพิจารณากันดูครับ (1)
ruclips.net/video/ZG2MQIAGXJc/видео.html
ruclips.net/video/ZG2MQIAGXJc/видео.html ฉบับนี้ไพเราะกว่าเยอะค่ะ จัดทำโดยลูกศิษฐ์เจ้ายายค่ะ ลองฟังดูนะคะ
โอ้โหเพิ่งรู้ว่าแปลว่าอะไร แปลกนะ ถ้าฝ่ายหญิงผิดคำพูดก็ให้ฟ้าผ่าหัวพ่อผัวตายฝ่ายชายผิดคำสาบานก็ให้ฟ้าผ่าหัวแม่ยายตาย งงงงงงง
เป็นการประชดประชันกันน่ะค่ะ เป็นมุกตลกของผู้ประพันธ์น่ะค่ะ
ลองฟังฉบับเต็มๆ 8 บทดูนะคะ ruclips.net/video/ZG2MQIAGXJc/видео.html
@@sininatpjaiwanglok3784 ขอบคุณค่ะ ใจดีจัง ช่วยกรุณาอธิบายสิ่งคาใจ แล้วดอกพิกุลก็คือดอกแก้วเป็นไปได้ไงคะ ? งงงงฟัง ตอนป้าเป็นเด็กชอบเพลงนี้มากๆๆ แต่แปลไม่ออกค่ะ
@@chureeradsakuldeert2660 ดอกพิกุลภาษาภาคกลาง คนเชียงใหม่เรียกดอกพิกุลว่าดอกแก้วค่ะ คือดอกไม้ชนิดเดียวกันแค่นั้นเองค่ะ ซึ่งอีกนัยนึงก็คือชื่อของตัวละครผู้หญิงตามบทประพันธ์น่ะค่ะ คือ อีนายแว่นแก้ว
@@sininatpjaiwanglok3784 ขอบคุณมากๆค่ะเวลาไปจตุจักร จะได้ไม่ปล่อยไก่ค่ะ
พ่อหนุ่เปนลำปางคนภาคเหนื่อ
ลองเข้าไปฟังที่แล้วพิจารณากันดูครับ (2)
ruclips.net/video/sikPXUaflQc/видео.html
ไม่ต้องเเปลเสียอรรถรส ภาษาเหนือพื้นฐานง่ายๆ
คำพูดแบบโบราณมากๆก็มีแต่คนที่อายุ50ขึ้นไปยังพูดได้แต่เด็กรุ่นใหม่เขาไม่พูดแล้ววันเวลาเปลี่ยนไปใจหายนะภาษาเหนือจะอยู่ไปนานเท่าแค่ไหนเพราะทุกวันนี้พูดเหนือปนกลางเหนือแท้มีแต่คนสูงวัยเท่านั้นเรายังชื่นชมคนใต้คนอีสานเขายังพูดภาษาถิ่นเขาอย่างเดิมๆไม่เหมือนคนเหนือที่นับวันคนรุ่นใหม่จะลืมรากเง้าของเราเห็นหลายคนเราพูดเหนือกับเขาแต่ตอบกับเป็นภาษากลาง
กันยารัตน์ บุญสวัสดิ์ บางจังหวัดยังคงภาษาเหนือแบบแท้ๆค่ะ อย่างเช่นน่าน เด็ก ผู้ใหญ่ วัยรุ่นยังคงพูดภาษาเหนือแท้ๆอยู่เลย ไว้มีโอกาสมาเที่ยวนะค่ะ ยังคงกลิ่นอายล้านนาไว้แท้ๆเลย^^
กันยารัตน์ บุญสวัสดิ์ ผมอายุ28ยังอุ้อยุ่เน้อคับ ลูกหลานผมก่อุ้คับ รับรองว่าเมืองบ่หายแน่นอนคับ
ผมอยุ่แม่ริมเจียงใหม่ อู้เมืองกุ้คนคับ
แพตตี้ บาร์บี้ คนกะว่านางฟ้าครับ.งามใบ้งามง่าว
ป้อเมือง แม่เมือง สอนลูกอู้ไทย ฮาตึงเจ๊บหัว
...น้อยใจยา แว่นแก้วเป็นใคร
หมอ สารภี
รู้จักเพลงน้อยใจยาของจรัล มโนเพ็ชรไหม...น้อยใจยา แว่นแก้วเป็นใคร
เรื่องราวของ "น้อยใจยา - แว่นแก้ว" เป็นเรื่องราวความรักของหนุ่มชาวบ้านชื่อ “น้อยใจยา” (คนเมืองเวลาบวชเป็นเณร เมื่อสึกออกมาจะนำหน้าว่า “น้อย” นำหน้า ส่วนถ้าสึกจากพระ จะเรียกว่า “หนาน”) ได้รักชอบพอกันกับ “นางแว่นแก้ว” ลูกสาวคหบดี แต่ว่าตางบ้านนางแว่นแก้วได้หมั่นหมายนางแว่นแก้วไว้กับ “ส่างนันตา” พ่อค้าชาวปะหล่องตองสู (พม่า)
ข่าวนี้ก็ไปเข้าหูน้อยใจยา น้อยใจยาเลยนัดนางแว่นแก้วมาสอบถามความจริง พอซักถามความจริงแล้วน้อยใจยาก็รู้ว่า แท้จริงแล้วนางแว่นแก้วได้รักน้อยใจยาอย่างแนบแน่น จึงตัดสินใจที่จะพากันหนี แต่หนีได้ไม่นานเท่าไร พ่อของนางแว่นแก้วกับส่านนันตา ก็พาคนออกติดตาม จนพบทั้งสองในที่สุด เรื่องราวก็เลยขึ้นโรงขึ้นศาล เพื่อให้ศาลตัดสินปัญหาความรักในครั้งนี้ ส่างนันตาหาว่าน้อยใจยา ได้ลักคู่หมั้นหนีไป แต่พอซักถามไปมา ตัวน้อยใจยากับนางแว่นแก้วก็ชนะความ ทำให้ทั้งสองคนก็ได้แต่งงานกันในที่สุด
("น้อยใจยา - แว่นแก้ว" เป็นบทละครที่ท้าวสุนทรพจนกิจ (ใหม่ บุญมา) กวีประจำราชสำนักของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ประพันธ์ขึ้นถวาย (ตามที่พระราชชายาทรงผู้เรื่อง) และประทานอนุญาตแสดงในโอกาสคล้ายวันประสูติ (ครบ 60 พรรษา แสดงที่วัดสวนดอก) ซึ่งพระราชชายาทรงแกัไขบทบางตอนให้เหมาะสม พร้อมกับทรงประพันธ์คำร้องประกอบทำนองเพลง พื้นเมืองเดิมของล้านนา
ม่วนขนาด
คะ